การเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกาย ด้ วยกิจกรรมพลศึกษา โดย อาจารย์ ต่อศักดิ์ แก้ วจรัสวิไล ภาควิชาพลศึกษาและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน กรอบความคิดทีค่ วรรู้ และควรเข้ าใจ สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) ความสามารถของร่ างกายในการทางานได้ อย่างเต็มที่และมีประสิ ทธิภาพ กิจกรรมพลศึกษา (Physical Activity) กิจกรรมการเคลื่อนไหวของร่ างกายที่ พัฒนาในด้านต่างๆ.

Download Report

Transcript การเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกาย ด้ วยกิจกรรมพลศึกษา โดย อาจารย์ ต่อศักดิ์ แก้ วจรัสวิไล ภาควิชาพลศึกษาและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน กรอบความคิดทีค่ วรรู้ และควรเข้ าใจ สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) ความสามารถของร่ างกายในการทางานได้ อย่างเต็มที่และมีประสิ ทธิภาพ กิจกรรมพลศึกษา (Physical Activity) กิจกรรมการเคลื่อนไหวของร่ างกายที่ พัฒนาในด้านต่างๆ.

การเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกาย
ด้ วยกิจกรรมพลศึกษา
โดย
อาจารย์ ต่อศักดิ์ แก้ วจรัสวิไล
ภาควิชาพลศึกษาและกีฬา
คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน
กรอบความคิดทีค่ วรรู้ และควรเข้ าใจ
สมรรถภาพทางกาย
(Physical Fitness)
ความสามารถของร่ างกายในการทางานได้
อย่างเต็มที่และมีประสิ ทธิภาพ
กิจกรรมพลศึกษา
(Physical Activity)
กิจกรรมการเคลื่อนไหวของร่ างกายที่
พัฒนาในด้านต่างๆ
กิจกรรมพลศึกษา
สมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย
สภาวะของร่ างกายทีจ่ ะส่ งผลให้ บุคคล :
1. ปฏิบัตภิ ารกิจประจาวันได้ เป็ นอย่ างดี
2. ลดอัตราความเสี่ ยงของปัญหาสุ ขภาพ โดยการขาด
การออกกาลังกาย
3. สร้ างความสมบูรณ์ แข็งแรงของร่ างกาย เพือ่ ร่ วม
กิจกรรมการออกกาลังกายได้ อย่ างหลากหลาย
สมรรถภาพทางกาย
(Physical Fitness)
สมรรถภาพทางกายที่
สั มพันธ์ กบั สุ ขภาพ
Health-Related
Physical Fitness
สมรรถภาพทางกายที่
สั มพันธ์ กบั ทักษะ
Skill-Related Physical
Fitness
สมรรถภาพทางกายทีส่ ั มพันธ์ กบั สุ ขภาพ
(Health-Related Physical Fitness)
..... “สมรรถภาพทางกายที่ช่วยทาให้
บุคคลมีชีวติ อยู่ได้ อย่ างปกติสุข”
(Carbin & Hill; 2008)
สมรรถภาพทางกายทีส่ ั มพันธ์ กบั สุ ขภาพ
ความแข็งแรง
ของกล้ามเนือ้
ความอดทนของ
ระบบหัวใจและ
ไหลเวียนเลือด
ความอดทนของ
กล้ามเนือ้
องค์ ประกอบ
ของร่ างกาย
ความอ่อนตัว
สมรรถภาพทางกายทีส่ ั มพันธ์ กบั ทักษะ
(Skill-Related Physical Fitness)
..... “สมรรถภาพทางกายทีช่ ่ วยทาให้ บุคคล
แสดงความสามารถทางกีฬาได้ เป็ นอย่างดี”
(Getchell and Others ; 2002)
สมรรถภาพทางกายที่
สั มพันธ์ กบั ทักษะ
สมรรถภาพทางกายทีส่ ั มพันธ์ กบั สุขภาพ
ร่ วมกับ
พลังกล้ามเนือ้
ความเร็ว
ความแคล่วคล่อง
ว่ องไว
การทรงตัว
เวลาปฏิกริ ิยา
การทางานที่
ประสานงานกัน
ความแข็งแรงและ
ความอดทนของกล้ ามเนือ้
กล้ามเนือ้
แขน - มือ
กล้ามเนือ้ ขา
กล้ามเนือ้ ท้ อง
กล้ามเนือ้ หลัง
ความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ (Muscle strength)
เป็ นความ สามารถของกล้ ามเนื้อหรื อกลุ่ม กล้ ามเนื้อ ที่ออกแรงด้ วย
ความพยายาม ในครั้งหนึ่งๆเพือ่ ต่ อต้ านกับแรงต้ านทาน
ความอดทนของกล้ามเนือ้ (Muscle endurance)
เป็ นความสามารถของกล้ามเนือ้ ที่จะรักษาระดับการใช้ แรงปานกลาง
ได้ เป็ นเวลานาน
หลังและลาตัว
ความอ่อนตัว
ข้ อไหล่
ข้ อมือ
ข้ อสะโพก
ข้ อเข่ า
ข้ อเท้ า
เป็ นความสามารถของข้ อต่ อต่ างๆของร่ างกายที่
เคลือ่ นไหวได้ เต็มช่ วงของการเคลือ่ นไหว
ความอดทนของระบบ
หัวใจและระบบหายใจ
ความจุปอด
สมรรถภาพการจับ
ออกซิเจนสู งสุ ด
อัตราการเต้ นของ
หัวใจขณะพัก
ความดันเลือด
เป็ นความสามารถของหัวใจและปอดทีจ่ ะลาเลียงออกซิเจนไปยัง
กล้ ามเนือ้ ขณะทางาน ได้ เป็ นระยะเวลานาน
Skill-Related Physical Fitness
ความเร็ว (Speed) เป็ นความสามารถในการเคลือ่ นไหวใน
ระยะเวลาอันสั้ นทีส่ ุ ด
พลังหรือกาลังของกล้ามเนือ้ (Muscle power) เป็ นความสามารถ
ทีจ่ ะออกแรงสู งสุ ด ในช่ วงเวลาทีส่ ้ั นทีส่ ุ ด
ความคล่องแคล่วว่ องไว (Agility) เป็ นความสามารถในการ
เปลีย่ นทิศทางหรือการเคลือ่ นไหวร่ างกายได้ อย่ างรวดเร็ว ขณะทีม่ ีการ
เคลือ่ นที่
Skill-Related Physical Fitness
ปฏิกริ ิยาตอบสนอง(reaction time) เป็ นระยะเวลาระหว่ างการ
กระตุ้นและการเริ่มตอบสนองการกระตุ้น
ความสมดุล (balance) เป็ นความสามารถในการรักษา
ตาแหน่ งของร่ างกายตามทีต่ ้ องการ ในขณะทีอ่ ยู่นิ่งหรือเคลือ่ นที่
การประสานงาน (co- ordination) เป็ นความสั มพันธ์ ระหว่ าง
ระบบประสาทและกล้ามเนือ้ ที่จะสามารถปฏิบัติกจิ กรรมทางกลไกลที่
สลับซับซ้ อนในเวลาเดียวกัน ได้ อย่ างราบรื่นและแม่ นยา
ความหนัก
(Intensity)
ความบ่ อย
(Frequency)
การเสริมสร้ าง
(Condition)
เวลา
(Time)
กิจกรรม
(Activity)
หลักการเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกาย
รูปแบบการฝึ กเพือ่ การเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกาย
1. Isometric Training คือ การเกร็งกล้ ามเนือ้ โดยไม่ มกี ารเคลือ่ นไหวของร่ างกาย
เช่ น ดันกาแพง
2. Isotonic Training คือ การต่ อสู้ กบั แรงต้ านทานโดยกล้ ามเนือ้ มีการหดตัว
และคลายตัว เช่ น การยกสิ่ งของ
3. Isokinetic Training คือ การต่ อสู้ กบั แรงต้ านทานด้ วยความเร็วคงที่
เช่ น การวิง่ ลู่กล
4. Anaerobic Training คือ การฝึ กไม่ ใช้ ออกซิเจน เช่ น การวิง่ เร็ว
5. Aerobic Training คือ การฝึ กใช้ ออกซิเจน เช่ น ว่ ายนา้
กิจกรรมพลศึกษา
1. เกม
2. กีฬา
3. การเคลือ่ นไหวพืน้ ฐาน
4. กิจกรรมเข้ าจังหวะ
5. กิจกรรมนันทนาการ
6. กิจกรรมเสริมสร้ าง ป้องกันและแก้ ไขร่ างกาย
เกม หมายถึง การแข่ งขัน หรื อการเล่ น เพื่อความสนุกสนาน ซึ่ง
เป็ นกิจกรรมทางพลศึ กษาแขนงหนึ่ งที่ว่าด้ วยการเล่ นที่มีกฎ กติกาที่ไม่
ซั บ ซ้ อ นมากนั ก เป็ นการเล่ น ที่ ช่ วยส่ งเสริ ม ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาการการ
เคลื่อนไหวขั้นพื้นฐานและทักษะเบื้องต้ นที่เป็ นสื่ อนาไปสู่ การเล่ นกีฬ า
ต่ อไป
1. เกมการเล่นเป็ นนิยาย
5. เกมการเคลื่อนไหวประกอบเพลง
2. เกมการเลียนแบบ
6. เกมนันทนาการ
3. เกมเบ็ดเตล็ด
7. เกมทางน้ า
4. เกมการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
8. เกมการละเล่นพื้นบ้าน
รูปแบบของการเคลือ่ นไหว
Locomotive
- การวิ่ง
- การเดิน
- การกระโดด
- การสไลด์
- การควบม้ า
- ฯลฯ
Non Locomotive
- การยืด
- การเหยียด
- การเอีย้ ว
- การก้ม
- การเงย
- การเหวีย่ ง
- ฯลฯ
Manipulative
- การเคลือ่ นที่
พร้ อมอุปกรณ์
ขั้นเตรียม
และอบอุ่นร่ างกาย
ขั้นสรุป
และสุ ขปฏิบัติ
ขั้นสอน
การสอนพลศึกษา
ในสถานศึกษา
ขั้นนาไปใช้
ขั้นฝึ กหัด
การเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกายสาหรับนักเรียน
วิธีการฝึ ก
อุปกรณ์
1. ฝึ กเฉพาะบุคคล
1. วัสดุในท้ องถิน่
2. ฝึ กกับคู่
2. วัสดุเหลือใช้
3. ฝึ กแบบกลุ่ม
3. อุปกรณ์ มาตรฐาน
4. สิ่ งประดิษฐ์
ตัวอย่ างกิจกรรมการฝึ กเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกาย
กล้ามเนือ้ หัวไหล่และแขน
-ยืดเหยียดกล้ ามเนือ้
-ดันพืน้
-ดันกาแพง
-จับคู่นอนหงายดึงข้ อ
-จับคู่กางศอก
-จับคู่หุบศอก
-จับคู่ดนั พืน้
-จับคู่ดนั แขนทั้งสอง
-ดันพืน้ ผลักตัว
ตัวอย่ างกิจกรรมการฝึ กเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกาย
กล้ามเนือ้ หน้ าท้ องและสะโพก
-ยืดเหยียดกล้ามเนือ้
-ลุกนั่ง
-นอนยกขาบิดตัว
-นอนตะแคงยกตัว -นอนยกขาพับตัว
-นอนพับตัว
-นอนหงาย ขาฉาก ยกสะโพก
-จับคู่เอนตัวด้ านหลัง
-นอนยกขาขึน้ ลง
ตัวอย่ างกิจกรรมการฝึ กเสริมสร้ างสมรรถภาพทางกาย
กล้ามเนือ้ ต้ นขาด้ านหน้ า-หลัง และขา
-ยืดเหยียดกล้ ามเนือ้
-จับคู่กดปลายเท้ า
-จับคู่ถบี อกเหยียดเข่ า
-จับคู่นอนควา่ กดข้ อเท้ า
-จับคู่นั่งทับข้ อเท้ าโล้ ตวั
-จับคู่นอนควา่ พับขา
-กระโดดเชือก