สมรรถภาพทางกาย

Download Report

Transcript สมรรถภาพทางกาย

• ความรู้พน
ื้ ฐานเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกาย
• ความหมายของสมรรถภาพทางกาย
• องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
• แบบทดสอบและการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
• ฮารทและเชย
ั พบวา่ การมี
์
์ (Hart and Shay,1964) ไดท
้ าการวิจย
สมรรถภาพทางกายทีด
่ ี เป็ นส่วนสาคัญอยางหนึ
่งทาให้ผลการเรียนของเด็กดีขน
ึ้
่
• ไบรอันต ์ (Bryant, 1970) พบวา่ สมรรถภาพทางกายของนักเรียนมีส่วน
สั มพันธกั
์ บความสาเร็จทางการศึ กษา
• แลชลีย
่ ์ (Lashley, 1982) ไดศึ
างสมรรถภาพทางกายมี
้ กษาความสั มพันธระหว
์
่
ความสั มพันธกั
์ บบุคลิกภาพ
• วรศักดิ ์ เพียรชอบ และคณะ (2513) พบวา่ สมรรถภาพทางกายของนักเรียนมัธ
ศึ กษามีความสั มพันธเชิ
์
ยน
์ งนิมานกับผลสั มฤทธิทางการเรี
ในช่วงปี ค.ศ. 1950 เป็ นความสามารถและประสิทธิภาพในการทางาน
สูงสุดของร่างกาย โดยเน้นที่ความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อ
ในช่วงปี ค.ศ. 1960 เป็ นสมบูรณ์ของร่างกายรวมทั้งการมีท่าทางทีส่ วยงาม
ถูกต้องในการทางาน ซึ่งประกอบด้วย ความแข็งแรง ความอดทน พลัง
ความเร็ว ความคล่องแคล่วว่องไว ความยืดหยุน่ และการทรงตัว
ในช่วงปี ค.ศ. 1970 เป็ นความสามารถของร่างกายที่จะประกอบกิจกรรม
หนัก ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเนื่องมาจากการทางานของระบบกล้ามเนื้อ
ระบบหัวใจ และการหายใจ รวมทั้งการประสานสันพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อกับ
ประสาท
ในช่วงปี ค.ศ. 1980 จนถึงปั จจุบนั เป็ นความสามารถของร่างกายในการ
ประกอบภารกิจประจาวันได้อย่างกระฉับกระเฉง และฟื้ นตัวกลับสู่สภาพปกติได้
อย่างรวดเร็ว โดยเน้นการมีสุขภาพดีและไม่มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอันเนื่องจาก
การขาดการออกกาลังกาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ให้ความหมายว่า
สมรรถภาพทางกาย เป็ นความสามารถของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ในการ
ทางานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บุคคลที่มีสมรรถภาพทางกายที่ดีนนั้ จะ
สามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจาวันได้อย่างกระฉับกระเฉง โดยไม่เหนื่อยล้า
จนเกินไปและยังมีพลังงานสารองมากพอสาหรับกิจกรรมนันทนาการหรือกรณี
ฉุ กเฉิน
สมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย
เพื่อสุขภาพ
Health-Related Physical
Fitness
สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบตั ิ
Skill-Related Physical
Fitness
เป็ นความสามารถของระบบต่าง ๆ ในร่างกายประกอบด้วย ความสามารถเชิง
สรีรวิทยาด้านต่าง ๆ ที่จะช่วยป้องกันบุคคลจากโรคที่มีสาเหตุจากภาวการณ์ขาด
การออกกาลังกาย นับเป็ นปั จจัยหรือตัวบ่งชี้สาคัญของการมีสุขภาพดี ความสามารถ
หรือสมรรถนะเหล่านี้สามารถปรับปรุง พัฒนาและคงสภาพได้ โดยการออกกาลังกาย
อย่างสม่าเสมอ
ที่มา: กระทรวงศึ กษาธิการ. 2545. สาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึ กษาและพลศึ กษา ในหลักสูตร
การศึ กษาศึ กษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544.
เป็ นความสามารถของร่างกายที่ช่วยให้บุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย
ได้ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเล่นกีฬา
สมรรถภาพทางกาย เป็ นความสามารถของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ในการ
ทางานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ เป็ นความสามารถของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
ประกอบด้วย ความสามารถเชิงสรีรวิทยาด้านต่าง ๆ ที่จะช่วยป้องกันบุคคลจากโรค
ที่มีสาเหตุจากภาวะขาดการออกกาลังกาย
สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบตั ิ เป็ นความสามารถของร่างกายที่ช่วยให้บุคคลสามารถ
ประกอบกิจกรรมทางกายได้ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเล่นกีฬา
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือ
• ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Strength)
• ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance)
• ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ
(Cardiovascular respiratory endurance)
• ความอ่อนตัว (Flexibility)
• ส่วนประกอบของร่างกาย (Body composition)
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบตั ิ
ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบคือ
• ความคล่องแคล่วว่องไว (Agility)
• การทรงตัว (Balance)
• การประสานสัมพันธ์ (Co-ordination)
• พลังกล้ามเนื้อ (Power)
• เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction Time)
• ความเร็ว (Speed)
ความแข็งแรง
(Muscular Strength)
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้ อ (Muscular strength) เป็ น
ความสามารถของกล้ามเนื้ อหรือกลุ่มกล้ามเนื้ อ ที่ออกแรงด้วยความ
พยายามในครัง้ หนึ่ งๆ เพื่อต่อต้านกับแรงต้านทานได้มากที่สดุ
ความอดทนของกล้ามเนื้ อ
(Muscular Endurance)
ความอดทนของกล้ามเนื้ อ (Muscle endurance) เป็ น
ความสามารถของกล้ามเนื้ อหรือกลุ่มกล้ามเนื้ อที่ออกแรงต่อต้านต่อแรง
ต้านทานได้ซา้ ๆ กันจานวนครัง้ มากๆ หรือนานๆ
ความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ
(Cadiorespiratory Endurance)
เป็ นความสามารถของหัวใจและปอดที่จะลาเลียง
ออกซิเจนไปยังกล้ามเนื้ อขณะทางาน ได้เป็ นระยะเวลานาน
ความอ่อนตัว
(Flexibility)
เป็ นความสามารถของกล้ามเนื้ อ เอ็น และข้อต่อต่างๆ ของ
ร่างกายที่เคลื่อนไหวได้เต็มช่วงของการเคลื่อนไหว
ส่วนประกอบของร่างกาย
(Body Composition)
หมายถึง จานวนน้าหนักของร่างกายทัง้ หมดซึ่งแบ่งเป็ น
ส่วนของไขมัน (Fat mass) และส่วนที่ปราศจากไขมัน(Fat-free mass)
พลังกล้ามเนื้ อ
(Power)
หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้ อส่วนหนึ่ งส่วนใด
หรือหลายส่วนของร่างกายในการหดตัว เพื่อทางานในครัง้ เดียว
อย่างเร็วและแรง
ความคล่องแคล่วว่องไว
(Agility)
หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการเปลี่ยน
ตาแหน่ ง (Position) หรือทิศทาง (Direction) การเคลื่อนไหวร่างกาย
ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อันเนื่ องมาจากความสา
มารในการหดตัวของกล้ามเนื้ อส่วนต่างๆ เพื่อทางานประสานกัน
เป็ นอย่างดี
การทรงตัว
(Balance)
หมายถึง ความสามารถของร่างกายที่จะทรงตัวหรือมีดลุ
อยู่ในตาแหน่ งต่างๆ ตามที่ต้องการ
ความเร็ว
(Speed)
หมายถึง ความสามารถในการหดตัวของกล้ามเนื้ อส่วนใด
ส่วนหนึ่ ง หรือหลายส่วนรวมกันในระยะเวลาอันรวดเร็ว
ติดต่อกันหลายๆ ครัง้
ปฏิกิริยาตอบสนอง
(Response Time)
หมายถึง ความสามารถในการประสานงานกันระหว่าง
ประสาทรับรู้ ประสาทสังการ
่
และกล้ามเนื้ อที่ปฏิบตั ิ งาน ซึ่งรวม
ระยะเวลาตัง้ แต่เริ่มต้น (reaction time) จนถึงเวลาการเคลื่อนไหว
(movement time)
การประสานสัมพันธ์
(Coordination)
หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวหรือปฏิบตั ิ
ทักษะได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเกิดมาจากการประสานงานกัน
ของระบบประสาทและอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย
การทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี
เป็ นแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์ กับสุขภาพสาหรับ
เด็กไทยอายุ 7-18 ปี ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย รศ.ดร. สุพติ ร สมาหิโต และคณะ
โดยได้รับการสนับสนุนจาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ(สสส)
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี
กระบวนการได้มาซึ่ งแบบทดสอบ และเกณฑ์มาตรฐาน
• ใช้กระบวนการวิจัย
• เก็บข้อมูลจากนักเรียนทั่วประเทศ โดยแบ่งออกเป็ น 5 ภูมิภาค ได้แก่
• ภาคเหนือ (เชียงราย เชียงใหม่ ลาพู น)
• ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อุดรธานี มหาสารคาม ศรีสะเกษ)
• ภาคกลาง (เพชรบุรี ลพบุรี นครปฐม)
• ภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา)
• ภาคใต้ (กระบี่ ตรัง ชุมพร)
• กลุ่มตัวอย่างนักเรียน จานวน 54,000 คน
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายสาหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี
องค์ประกอบสาคัญที่จะต้องวัด
- ความอ่ อนตัว (Flexibility)
- ความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle Strength & Endurance)
- องค์ประกอบของร่างกาย (Body composition)
- ความอดทนของระบบหัวใจและระบบหายใจ(Cardiorespiratory Endurance)
- ความแคล่วคล่องว่องไว (Agility)*
* จัดอยู่ในองค์ ประกอบของ Skill-Related Physical Fitness
รายการทดสอบ
1. ลุกนั่ง 60 วินาที (Sit Ups 60 Second)
2. ดันพื้น 30 วินาที (Push Ups 30 Second)
3. นั่งงอตัวไปข้างหน้า (Sit and Reach)
4. วิ่งอ้ อมหลัก (Zig-Zag Run)
5. วิ่งระยะไกล (Distance Run)
6. ความหนาของไขมันใต้ผวิ หนัง (Skin fold Thickness)
ลุกนั่ง 60 วินาที (Sit Ups 60 Second)
วัตถุประสงค์
ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมัน่
เพือ่ วัดความแข็งแรงและความอดทน
ของกล้ามเนื้อท้อง
0.726
0.734
ดันพื้น 30 วินาที (Push Ups 30 Second)
วัตถุประสงค์
ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมัน่
เพือ่ วัดความแข็งแรงและความอดทนของ
ร่างกายส่วนบน
0.948
0.728
นั่งงอตัวไปข้างหน้า (Sit and Reach)
วัตถุประสงค์
ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมัน่
เพือ่ วัดความอ่ อนตัวของหลังส่วนล่าง
ต้นขาด้านหลังและน่อง
0.728
0.948
วิ่งอ้ อมหลัก (Zig-Zag Run)
วัตถุประสงค์
ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมัน่
เพือ่ วัดความแคล่วคล่องว่องไว
0. 718
0. 809
5
3
4 เมตร
1
4 เมตร
5 เมตร
2 เมตร
4 เมตร
6
4 เมตร
4
7 เมตร
2
เส้ น
เริ่ม
เส้น
เริ่ ม
วิ่งทางไกล (Distance run)
วัตถุประสงค์
ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมัน่
เพือ่ วัดความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต
และระบบหายใจ
เชิงเนื้อหา
* อายุ 7-12 ปี ใช้ระยะทาง 1200 เมตร
0.827
* อายุ 13-18 ปี ใช้ระยะทาง 1600 เมตร
ความหนาของไขมันใต้ผวิ หนัง (Skinfold Thickness)
วัตถุประสงค์
ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมัน่
เพือ่ ประเมินองค์ประกอบของร่างกาย
เชิงเนื้อหา
0.937
เทคนิคการวัด
ใช้นว้ ิ หัวแม่มอื กับนิว้ ชีใ้ นการจับ
ใช้นว้ ิ หัวแม่มอื กับนิว้ ชีด้ งึ ชัน้ ผิวหนังและไขมันขึน้ มา
ใช้เครือ่ งวัดไขมันวัดความหนาโดยให้สูงเหนือตาแหน่งทีจ่ บั
ประมาณ 1 เซนติเมตร