ความหนาแน่นของร่างกาย

Download Report

Transcript ความหนาแน่นของร่างกาย

บทที่ 3
การทดสอบและการประเมินความสมบูรณ์ของร่ างกาย
Test and Evaluation of Physical Health
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ ไตรแสง
คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
The Sheldon Somatotype
• อ้ วน ( Endomorphy )
•
•
ปกติ ( Mesomorphy )
ผอม ( Ectomorphy )
รูปแบบการจาแนกส่วนประกอบของร่างกาย
• รู ปแบบที่ 1 Chemical model
•
Fat + Protein + Carbohydrate +Water
+ Mineral
• รู ปแบบที่ 2 Anatomical model
•
Adipose tissue + Muscle + Bone +
Organs + other
• รู ปแบบที่ 3 Behnke 2 Component model
•
Fat + Lean body mass
รูปแบบการจาแนกส่วนประกอบของร่างกาย
รู ปแบบที่ 4 2 Component model
Fat mass + Fat – Free mass
* Lean body mass : Fat – Free mass +
Essential fat
* Fat – Free mass : Bone + Muscle + Organ +
Connective tissue
* Fat mass : (Body mass) – ( Fat – Free mass)
ที่มา : Wilmore and Costill , 1994 : 383
Essential Fat
• male : 3 – 5%
Fat mass
Body Composition
• Female 10-15%
Storage Fat
• male : 12 – 18% (min 5%)
• Female :16 – 25% (min 15%)
Fat – Free Mass
(Bone + Muscle + Organs + Connective tissue)
ดัชนีมวลของร่ างกาย
(Body Mass Index : BMI )
BMI =
BMI =
นา้ หนักตัวเป็ นกิโลกรัม
ความสูงเป็ นเมตรยกกาลังสอง
Wt(Kg)
(H)2
เกณฑ์ เปรี ยบเทียบดัชนีมวลของร่ างกาย
(Body Mass Index : BMI)
ทีม่ า : American College of Sports Medicine , 2000
ตาราง การกาหนดระดับความดันเลือด
ระดับความดันเลือด
ค่ าความดันเลือดขณะ
หัวใจบีบตัว
(มิลลิเมตรปรอท)
ค่ าความดันเลือดขณะ
หัวใจคลายตัว
(มิลลิเมตรปรอท)
ความดันเลือดปกติ (Normal)
น้ อยกว่ า 140
น้ อยกว่ า 85
ความดันเลือดปกติค่อนไป
ทางสูง ( High normal)
น้ อยกว่ า 140
85 - 89
ความดันเลือดสูงระดับ
กึ่งกลาง(Mild hypertension)
140 - 159
90 - 104
ความดันเลือดสูงระดับปาน
กลาง(Moderate hypertension)
140 - 159
105 - 114
ความดันเลือดสูงระดับรุ นแรง
(Severe hypertension)
160 หรื อมากกว่ า
115 หรื อมากกว่ า
ตารางแสดงระดับความดันเลือด
การหาส่ วนประกอบของร่ างกาย จากการวัดเส้ นรอบวงของร่ างกาย
(Body Circumferences)
• ชาย :
• BD = 1.21142+0.0085 (X1) – 0.0050(X2) – 0.0061(X3) -0.00138(X4)
•
(R = 0.84)
•
BD หมายถึง ความหนาแน่นของร่างกาย (Body density)
•
X1 หมายถึง น ้าหนักของร่างกาย หน่วยวัดเป็ น กิโลกรัม
•
X2 หมายถึง ขนาดของเส้ นรอบวงของเชิงกราน (Iliae) หน่วยวัดเป็ น เซนติเมตร
•
X3 หมายถึง ขนาดของเส้ นรอบวงของสะโพก (Hip) หน่วยวัดเป็ น เซนติเมตร
•
X4 หมายถึง ขนาดของเส้ นรอบวงของท้ อง (Abdominal) หน่วยวัดเป็ น เซนติเมตร
• (Tran and Weltman, 1988 : 167-176 quoted in Baumgartner and Jackson, 1995 :
312)
การหาส่ วนประกอบของร่ างกาย จากการวัดเส้นรอบวงของร่ างกาย
(Body Circumferences)
• หญิง :
• BD = 1.168297 – 0.002824 (X4)
• = 0.000021 (X1)2 - 0.000733 (X3)
• = 0.000510 (X5) – 0.00216 (X6)
• (R = 0.89)
• X5 หมายถึงความสูง (Height) หน่วยวัดเป็ น เซนติเมตร
• X6 หมายถึง อายุ (Age) หน่วยวัดเป็ น ปี
• (Tran and Weltman, 1989 : 101-104 quoted in Baumgartner and
Jackson, 1995 : 312)
การหาปริมาณไขมันของร่ างกาย
•
การหาปริมาณไขมันของร่ างกายตามหลักของ
โดยทาการวัดไขมันใต้
ผิวหนัง 4 ตาแหน่ ง คือ ด้ านหน้ าแขนท่ อนบน (Biceps)
ด้ านหลังแขนท่ อนบน (Triceps) สะบักหลัง
(Subscapular) และบริ เวณเหนือกระดูกสะโพก
Durnin and Womersley (1974)
(Suprailiac)
เครื่องมือวัด Lange
skinfold caliper
การหาค่ าเปอร์ เซ็นต์ ไขมันของร่ างกาย
เมื่อทาการวัดไขมันได้ ครบทัง้ 4 ตาแหน่ งแล้ ว ให้ นา
ค่ าที่วัดได้ มารวมกันและนาไปหาค่ าเปอร์ เซ็นต์ ไขมันของ
ร่ างกายตามตารางที่กาหนด
------------------------------------ทีม่ า : การกีฬาแห่ งประเทศไทย การทดสอบความสมบูรณ์ ทางกายของนักกีฬา , 2542 :
8 และ 46 - 51
เกณฑ์ จาแนกปริมาณไขมันในร่ างกายของประชาชนไทย
(เปอร์ เซ็นต์ ไขมันของร่ างกายของเพศชาย)
ทีม่ า : การกีฬาแห่ งประเทศไทย , 2543 : 28 - 39
เกณฑ์ จาแนกปริมาณไขมันในร่ างกายของประชาชนไทย
(เปอร์ เซ็นต์ ไขมันของร่ างกายของเพศหญิง)
ทีม่ า : การกีฬาแห่ งประเทศไทย , 2543 : 28 - 39
การคานวณหาความหนาแน่ นของร่ างกาย (Body density)
หญิง : ตาแหน่งการวัดไขมันใต้ ผิวหนัง 3 ตาแหน่ง คือ ด้ านหลังแขนท่อนบน(Triceps)
บริ เวณเหนือกระดูกสะโพก (Suprailiac) และหน้ าขา (Thigh)
ความหนาแน่ นของร่ างกาย = 1.0994921 – 0.0009929 (ผลรวมของการวัด 3
ตาแหน่ง) + 0.0000023 (ผลรวมของการวัด 3
ตาแหน่ง ยกกาลังสอง ) – 0.0001392 (อายุ : ปี )
หญิง : ตาแหน่งการวัดไขมันใต้ ผิวหนัง 3 ตาแหน่ง คือ ด้ านหลังแขนท่อนบน(Triceps)
บริ เวณเหนือกระดูกสะโพก (Suprailiac) และท้ อง (Abdomen)
ความหนาแน่ นของร่ างกาย = 1.089733 – 0.0009245 (ผลรวมของการวัด 3
ตาแหน่ง) + 0.0000025 (ผลรวมของการวัด 3
ตาแหน่ง ยกกาลังสอง ) – 0.000979 (อายุ : ปี )
---------------------ที่มา : American College of Sport Medicine , 2000 : 66
การคานวณหาความหนาแน่ นของร่ างกาย (Body density)
ชาย : ตาแหน่งการวัดไขมันใต้ผวิ หนัง 3 ตาแหน่ง คือ หน้าอก (Chest) ท้อง (Abdomen)
และหน้าขา (Thigh) หน่วยวัดเป็ นมิลลิเมตร
ความหนาแน่ นของร่ างกาย = 1.10938 – 0.0008267 (ผลรวมของการวัด 3
ตาแหน่ง) + 0.0000016 (ผลรวมของการวัด 3 ตาแหน่ง
ยกกาลังสอง ) – 0.0002575 (อายุ : ปี )
ชาย : ตาแหน่งการวัดไขมันใต้ผวิ หนัง 3 ตาแหน่ง คือ หน้าอก (Chest) ด้านหลังแขนท่อนบน
(Triceps) และสะบักหลัง (Subscapular) หน่วยวัดเป็ นมิลลิเมตร
ความหนาแน่ นของร่ างกาย = 1.1125025 – 0.0013125 (ผลรวมของการวัด 3
ตาแหน่ง) + 0.0000055 (ผลรวมของการวัด 3 ตาแหน่ง
ยกกาลังสอง ) – 0.000244 (อายุ : ปี )
-----------------ที่มา : American College of Sport Medicine , 2000 : 66
การหาเปอร์ เซ็นต์ ไขมันของร่ างกาย
Brozek
และคณะ
เปอร์ เซ็นต์ ไขมันของร่ างกาย =
[ ความหนาแน่นของร่างกาย ]
4.570
- 4.142 x 100
Siri
[
เปอร์ เซ็นต์ ไขมันของร่ างกาย =
4.950
ความหนาแน่ นของร่ างกาย
ทีม่ า : Pollock and Wilmore,1990:324
]
- 4.500
X 100
การหาเปอร์ เซ็นต์ ไขมันของร่ างกาย
% Fat =
457
Body density
- 414.2
% Fat =
495
Body density
- 450
-----------------ทีม่ า : American College of Sport Medicine , 2000 : 62
วิธีการหานา้ หนักของร่ างกายตามอุดมคติ
(Ideal body weight)
ได้ เสนอแนะสู ตร
Montoye
ชาย
:
หญิง :
IBW = 1.176 [Wt – (wt X F)]
IBW = 1.25 [Wt – (wt X F)]
นา้ หนักของร่ างกายตามอุดมคติ (Ideal body weight)
Wt = น้ าหนักของร่ างกาย (กิโลกรัม)
F = เปอร์ เซ็นต์ไขมันของร่ างกาย
Laboratory Techniques
• Hydrometry
• Magnetic resonance imaging (MRI)
• Dual - energy x-ray absorptiometry
(DEXA)
• Computed Tomograghy (CT)
• Ultrasound
Field Techniques
• Body mass index (BMI)
• Girth and Circumference
• Skinfold (Fatfold)
• Near - infrared interactance (NIR)
• Bioelectrical impedance analysis (BIA)
• (Total Body Electric Conductivity)
เปรี ยบเทียบความเป็ นมาตรฐานของวิธีการวัดส่ วนประกอบของร่ างกาย
ดีเยีย่ ม 2 = ดีมาก 3 = ดี 4 = พอใช้
ที่มา : Scott and Rebecca, 1998 : 380
1=
5=
ไม่ ยอมรับ
สาเหตุของความอ้ วน
 รู ปแบบการรั บประทานอาหาร (Early Eating Patterns)
 เซลล์ ไขมัน (Fat Cells)
 พันธุกรรม (Genetics)
 องค์ ประกอบของสิ่งแวดล้ อม (Environmental Factors)
 องค์ ประกอบของกระบวนการเผาผลาญพลังงาน
(Metabolic Factors)
วิธีการลด / ควบคุมนา้ หนักของร่ างกาย
การจากัดอาหาร (Food Restriction)
การจากัดนา้ หรือของเหลวต่ างๆ ที่เข้ าสู่ร่างกาย (Fluid
Deprivation)
การทาให้ ร่างกายสูญเสียนา้ โดยการใช้ ความร้ อน (Thermal
Dehydration)
เพิ่มกิจกรรม หรือทางานมากขึน้ (Increased activity)
การออกกาลังกาย (Exercise)
การใช้ ยา (Drug)
ผลกระทบของการลด / ควบคุมนา้ หนักของร่ างกาย
การขาดนา้ (Dehydration)
 การเมื่อยล้ าเรือ้ รัง (Chronic Fatique)
 ความผิดปกติของประจาเดือน (Menstrual
Dysfunction)
 การกินที่ผิดปกติ (Eating Disorders)
- ภาวะการเบื่ออาหาร (Anorexia nervosa)
- ภาวะความอยากอาหารมากผิดปกติ (Bulimia)
ตาราง เปอร์ เซ็นต์ ไขมันของร่ างกาย (เพศชาย)
เปอร์ เซ็นต์ ไขมัน
ระดับสมรรถภาพของส่ วนประกอบ
ของร่ างกาย
เพศชาย
<10%
ไขมันของร่ างกายต่า
10-20%
ไขมันของร่ างกายทีเ่ หมาะสม
21-25%
ไขมันของร่ างกายสู งปานกลาง
26-31%
ไขมันของร่ างกายสู ง
>31%
ไขมันของร่ างกายสู งมาก
ทีม่ า : Lohman,1987 quoted in Power and Dodd,1996:39
การประเมินสมรรถภาพทางกาย
แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายของวิทยาลัยเวชศาสตร์ การกีฬา
แห่ งสหรัฐอเมริกา(ACSM Fitness Test)
ตาราง เกณฑ์ การพิจารณาเลือกเครื่องมือในการทดสอบ
ความสามารถในการใช้ ออกซิเจนสู งสุ ด
ตาราง เกณฑ์ การพิจารณาเลือกเครื่องมือในการทดสอบ
ความสามารถในการใช้ ออกซิเจนสู งสุ ด (ต่ อ)
ตาราง เกณฑ์ การพิจารณาเลือกเครื่องมือในการทดสอบ
ความสามารถในการใช้ ออกซิเจนสู งสุ ด (ต่ อ)
Rockport Walking Test ( One mile Walk )
-1
-1
• Vo2 max (ml.kg .min ) =
• 132.853 - (0.0769 x body weight) – (0.3877 x age)
• + (6.315 x gender) – (3.2649 x time) – (0.1565 x HR)
• Vo2 max หมายถึง ความสามารถในการใช้ ออกซิเจนสูงสุด หน่ วยวัดเป็ นมิลลิลิตร/
มิลลิกรัม/นาที
• Body weight หมายถึง นา้ หนักของร่ างกาย หน่ วยวัดเป็ นปอนด์
• Gender หมายถึง เพศชาย แทนค่ าเท่ ากับ 1 ,เพศหญิงแทนค่ าเท่ ากับ 0
• Time หมายถึงเวลาที่เดิน หน่ วยวัดเป็ นนาที (ทศนิยมสองตาแหน่ ง)
• HR หมายถึง อัตราการเต้ นของหัวใจภายหลังการเดิน 1 ไมล์ หน่ วยวัดเป็ นจานวน
ครัง้ /นาที
• หมายเหตุ 1 กิโลกรัม เท่ากับ 2.205 ปอนด์
•
1ไมล์ เท่ากับ1.609กิโลเมตร หรื อ 1,609 เมตร
เกณฑ์ สมรรถภาพของระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจของ
แบบทดสอบเดิน 1 ไมล์ ( Rockport’s 1 Mile Walking Test )
ของเพศชาย
ทีม่ า : Powers and Dodd, 1996:23
เกณฑ์ สมรรถภาพของระบบไหลเวียนเลือดในหัวใจของ
แบบทดสอบเดิน 1ไมล์ (Rockport’s 1 Mile Walking Test )
ของเพศหญิง
Cooper 12-min Test
3.126 x (ระยะทางที่วงิ่ /เดิน
ในเวลา 12นาที หน่วยวัดเป็ นเมตร)-11.3
• V02 max (ml.kg .min ) =
Balke 15 min Test
• V02 max (ml.kg .min ) =2.67 x (ระยะทางที่วิ่ง / เดิน
ในเวลา 15นาที หน่วยวัดเป็ นเมตร) +9.6
เกณฑ์ สมถรรภาพของระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
ของแบบทดสอบวิง่ 1.5 ไมล์ ( Cooper’s 1.5 Mile
Run Test) ของเพศชาย
ทีม่ า : Powers and Dodd, 1996:22
เกณฑ์ สมถรรภาพของระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจของ
แบบทดสอบวิง่ 1.5 ไมล์ ( Cooper’s 1.5 Mile Run Test)
ของเพศหญิง
ทีม่ า : Powers and Dodd, 1996:22
ตาราง แสดงเกณฑ์ เปรีบยเทียบความสามารถในการใช้ ออกซิเจนสู งสุ ด
เพศชาย
ที่มา : American Heart Association,1972 quoted in George, James D., Fisher, Girth
Vehrs, Pat R., 1994:82
A, and
ตาราง แสดงเกณฑ์ เปรีบยเทียบความสามารถในการใช้ ออกซิเจนสู งสุ ด
เพศหญิง
ที่มา : American Heart Association,1972 quoted in George, James D., Fisher, Girth
Vehrs, Pat R., 1994:82
A, and
การทดสอบดันพืน้ (Push-Up Test)
• วัตถุประสงค์ การทดสอบ
เพือ่ วัดสมรรถภาพด้ านความแข็งแรงและความอดทนของ
กล้ามเนือ้ (Muscular Strength and Muscular Endurance) หรือ
สมรรถภาพของกล้ามเนือ้ (Muscular Fitness)
ตาราง แสดงเกณฑ์ เปรียบเทียบความแข็งแรงและความอดทนของ
กล้ ามเนือ้
เพศชาย
ที่มา : American College of sports Medicine, 1998 : 34
ตาราง แสดงเกณฑ์ เปรียบเทียบความแข็งแรงและความอดทนของ
กล้ ามเนือ้
เพศหญิง
ที่มา : American College of sports Medicine, 1998 : 34
การทดสอบนั่งก้ มตัวไปข้ างหน้ า
( Modified Sit and Reach Test )
• วัตถุประสงค์ ของการทดสอบ
•
เพื่อวัดสมรรถภาพด้านความอ่อนตัว( Flexibility) ของ
ร่ างกาย
ตาราง เกณฑ์ เปรียบเทียบความอ่ อนตัวของร่ างกาย
เพศชาย
ที่มา : American College of sports Medicine, 1998 : 37
ตาราง เกณฑ์ เปรียบเทียบความอ่ อนตัวของร่ างกาย
เพศหญิง
อายุ(ปี )
ระดับสมรรถภาพ หน่ วยวัดเป็ นจานวนครั ง้
ต่า
พอใช้ ปานกลาง
สูง
20-29
เท่ ากับหรื อน้ อยกว่ า 12
13-15
16-21
เท่ ากับหรื อมากกว่ า 22 ขึน้ ไป
30-39
เท่ ากับหรื อน้ อยกว่ า 11
12-14
15-20
เท่ ากับหรื อมากกว่ า 21 ขึน้ ไป
40-49
เท่ ากับหรื อน้ อยกว่ า 10
11-13
14-19
เท่ ากับหรื อมากกว่ า 20 ขึน้ ไป
50-59
เท่ ากับหรื อน้ อยกว่ า 9
10-12
13-18
เท่ ากับหรื อมากกว่ า 19 ขึน้ ไป
60ปี ขึน้ ไป
เท่ ากับหรื อน้ อยกว่ า 8
9-11
12-17
เท่ ากับหรื อมากกว่ า 18 ขึน้ ไป
ที่มา : American College of sports Medicine, 1998 : 37
การหาอัตราส่ วนระหว่ างเส้ นรอบวงของเอวกับสะโพก
(Waist – To – Hip Circumference Ratio = W H R)
WHR
W
หมายถึง
H
หมายถึง
=
Waist(W)
Hip(H)
เส้ นรอบวงของเอว โดยวัดผ่ านบริเวณทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดเหนือ
สะดือประมาณหนึ่งนิว้ หน่ วยวัดเป็ นนิว้
เส้ นรอบวงของสะโพก โดยวัดผ่านบริเวณสะโพกและก้นที่
ใหญ่ ทสี่ ุ ด หน่ วยวัดเป็ นนิว้
ตาราง แสดงอัตราส่ วนระหว่ างเส้ นรอบวงของเอวกับสะโพกกับ
ระดับอัตราเสี่ ยงต่ อความสั มพันธ์ กบั การเกิดโรคเรื้อรังต่ างๆ
เพศหญิง
อายุ(ปี )
ระดับอัตราเสี่ ยง
ต่า
ปานกลาง
สู ง
สู งมาก
20-29
น้ อยกว่า 0.71
0.71-0.77
0.78-0.82
มากกว่า 0.82
30-39
น้ อยกว่า 0.72
0.72-0.78
0.79-0.84
มากกว่า 0.84
40-49
น้ อยกว่า 0.73
0.73-0.79
0.80-0.87
มากกว่า 0.87
50-59
น้ อยกว่า 0.74
0.74-0.81
0.83-0.88
มากกว่า 0.88
60-69
น้ อยกว่า 0.76
0.76-0.83
0.84-0.90
มากกว่า 0.90
ทีม่ า : American College of sports Medicine, ACSM’s Resource Manual for Guideline for Exercise Testing and Prescription
1998 : 381
ตาราง แสดงอัตราส่ วนระหว่ างเส้ นรอบวงของเอวกับสะโพกกับ
ระดับอัตราเสี่ ยงต่ อความสั มพันธ์ กบั การเกิดโรคเรื้อรั งต่ างๆ
เพศชาย
อายุ(ปี )
ต่า
ระดับอัตราเสี่ ยง
ปานกลาง
สู ง
สู งมาก
20-29
น้ อยกว่า 0.83
0.83-0.88
0.89-0.94
มากกว่า 0.94
30-39
น้ อยกว่า 0.84
0.84-0.91
0.92-0.96
มากกว่า 0.96
40-49
น้ อยกว่า 0.88
0.88-0.95
0.96-1.00
มากกว่า 1.00
50-59
น้ อยกว่า 0.90
0.90-0.96
0.97-1.02
มากกว่า 1.02
60-69
น้ อยกว่า 0.91
0.91-0.98
0.99-1.03
มากกว่า 1.03
ทีม่ า : American College of sports Medicine, ACSM’s Resource Manual for Guideline for Exercise Testing and Prescription
1998 : 381
Caloric Thresholds For
Adaptation
Kcal/min = METs x 3.5 x body weight in Kg.
200
Circumference/Girth Test:
• Males: LBM(kg) = 41.955 + (1.03876 x BW:kg)
– (0.82816 x (AC – WR)
%BF = ((BW – LBM) / BW) x 100
• Females: %BF = (0.55 x HC) – (0.24 x Ht;cm)
+ (0.28 x AC) – 8.43
Height – Squared (Ht2) Index
• Males: LBM (kg) = 0.204 * Ht2(dm2)
• Females: LBM (kg) = 0.18 * Ht2 (dm2)
%BF = ((BW – LBM) / BW) * 100
• Body Weight :BW หมายถึง น ้าหนักของร่างกาย หน่วยวัดเป็ นกิโลกรัม
(kg)
• Lean Body Mass :LBM หมายถึง น ้าหนักของร่างกายที่ปราศจากไขมัน
• Height :Ht หมายถึง ความสูง หน่วยวัดเป็ น เดซิเมตร(dm)
• Body Weight :BW หมายถึง น ้าหนักของร่างกาย หน่วยวัดเป็ นกิโลกรัม (kg)
• Lean Body Mass :LBM หมายถึง น ้าหนักของร่างกายที่ปราศจากไขมัน
• Height :Ht หมายถึง ความสูง หน่วยวัดเป็ น เดซิเมตร(dm)
• Waist circumference:WC เส้ นรอบวงของเอว หน่วยวัดเป็ น เซนติเมตร(cm)
• Wrist circumference:WR เส้ นรอบวงของข้ อมือ
• Hip circumference:HC
เส้ นรอบวงของสะโพก
• Abdomen circumference:AC เส้ นรอบวงของท้ อง
นา้ หนัก
• 1 กิโลกรัม เท่ากับ 2.204 ปอนด์
• 1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรัม
• 1 ปอนด์ เท่ากับ 0.45 กิโลกรัม
ความยาว/ความสูง
• 1 นิ ้ว เท่ากับ 2.54 เซนติเมตร
• 12 นิ ้ว เท่ากับ 1 ฟุต
• 1 ฟุต เท่ากับ 30.48 เซนติเมตร
• 10 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เดซิเมตร
• 10 เดซิเมตร เท่ากับ 1 เมตร
• 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร