Transcript ppt DSI 300

การใช้ คู่มอื การประเมินและแก้ ไข
พัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปี
(DSI : 300 สาหรับบุคลากรสาธารณสุ ข)
กลุ่มพัฒนาเครือข่ าย สถาบันราชานุกลู
LOGO
Macquarie University
วัตถุประสงค์ ของคู่มือฯ
1
เพื่อประเมินและแก้ไขปัญหาพัฒนาการ
2
เพื่อจัดโปรแกรมการสอนเด็กเป็ นรายบุคคล
3
เพื่อติดตามความก้าวหน้าของพัฒนาการและ
เป็ นแนวทางในการวางแผนการสอนขั้นต่อไป
ชุดคู่มอื การประเมินและแก้ ไขพัฒนาการเด็ก
แรกเกิด – 5 ปี
ประกอบด้ วย
คู่มอื ฯ
ฉบับแนะนา
การใช้ 1 เล่ ม
คู่มอื ฯสาหรับประเมิน
และแก้ ไขแบ่ งตามช่ วง
อายุ 1 เล่ ม
คู่มือฯ แบ่ งพัฒนาการเป็ น 5 ด้ าน
1
การใช้ กล้ามเนือ้ มัดใหญ่ (Gross Motor : GM)
2
การใช้ กล้ามเนือ้ มัดเล็กและสติปัญญา(Fine Motor : FM)
3
ความเข้ าใจภาษา (Receptive Language : RL)
4
การใช้ ภาษา (Expressive Language : EL)
5
การช่ วยเหลือตนเองและสั งคม(Personal Social : PS)
หลักการใช้ คู่มอื ประเมินและแก้ ไขพัฒนาการฯ
1.1 การทดสอบเพือ่ การคัดกรอง
ประเมินพัฒนาการแรกรับ 1.2 ประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด
สรุปผลการประเมินพัฒนาการ
วางแผนการสอนระยะยาว
วางแผนการสอนระยะสั้ น
สอนตามแผนการสอนระยะสั้ น
ประเมินความก้ าวหน้ า
1. การประเมินพัฒนาการแรกรับ
1.1 การทดสอบเพือ่ การคัดกรอง เป็ นการ ทดสอบ
เพือ่ หา จุดเริ่มต้ น ในการประเมินพัฒนาการอย่ าง
ละเอียด
1.2 การประเมินพัฒนาการอย่ างละเอียดเพือ่
ประโยชน์ ในการ จัดโปรแกรมการสอน เด็กเป็ น
รายบุคคล
1.1 หลักการทดสอบเพือ่ การคัดกรอง
1) คานวณอายุจริงของเด็ก
2) หาจุดเริ่มต้ นของอายุพฒ
ั นาการแต่ ละด้ านทีจ่ ะคัดกรอง
วิธีการ
• ถามพ่อ/แม่ หรือผู้เลีย้ งดูโดยใช้ คาถามทัว่ ไปหรือ
ถามตามหัวข้ อพัฒนาการในแบบคัดกรอง
• สั งเกตการเล่นของเด็ก
3) ทดสอบพัฒนาการทีละด้ าน จากจุดเริ่มต้ นของอายุทจี่ ะคัด
กรอง
1.1 หลักการทดสอบเพือ่ การคัดกรอง
4) หยุดทดสอบพัฒนาการด้านนั้น เมื่อเด็กทาไม่ได้
5) ในขณะทดสอบ ต้องไม่ให้ความช่วยเหลือ หรื อ
ชี้แนะเด็ก
6) กรณี เด็กไม่ให้ความร่ วมมือในการทดสอบ
• ให้พอ่ แม่ หรื อผูเ้ ลี้ยงดู เป็ นผูท้ ดสอบ
• ซักถามพ่อแม่ / ผูเ้ ลี้ยงดู
ชมการสาธิตการคัดกรองค่ ะ
ต ัวอย่างการทดสอบเพือ
่ การค ัดกรอง
ื่ ด.ญ. แพรว เกิดว ันที่ 10 พ.ย.2551
ชอ
อายุ 5 ปี 4 เดือน ว ันทดสอบ 20 / 03/ 57
ด้าน GM
อายุ 2 ปี
27. วิง่ เต็มฝ่ าเท ้าไปข ้างหน ้า 2 เมตร
อายุ 3 ปี
้
39. เดินบนเสนตรงกว
้าง 5 ซม. ได ้ 3 เมตร
+
-
ต ัวอย่างการทดสอบเพือ
่ การค ัดกรอง
ด้าน FM
อายุ 3 ปี
32. เลียนแบบการวาดรูปวงกลม
อายุ 4 ปี
46. วาดรูปคนทีม
่ ส
ี ว่ นของร่างกาย 3 สว่ น
+
-
ด้าน RL
อายุ 2 ปี
ี้ วัยวะของร่างกายได ้ 4 สว่ น
21. ชอ
อายุ 3 ปี
32. เลือกวัตถุขนาดใหญ่
อายุ 4 ปี
47. วางวัตถุไว ้ข ้างหน ้า ข ้างหลัง ข ้าง ๆ ห่าง ๆ
ข ้างบน และข ้างใต ้ ตามคาสงั่
+
+
-
ต ัวอย่างการทดสอบเพือ
่ การค ัดกรอง
ด้าน EL
อายุ 2 ปี
่ นั่ง นอน ยืน ผลัก กระโดด +
22. ใชค้ ากริยา 2 คา เชน
อายุ 3 ปี
32. พูดตอบรับและปฏิเสธ
+
อายุ 4 ปี
ื่ จริงและนามสกุลเต็มได ้
43. บอกชอ
ด้าน PS
อายุ 2 ปี
30. ไม่ร ้องไห ้เมือ
่ แยกจากแม่
อายุ 3 ปี
44. ถอดกระดุมขนาดใหญ่ 2 ซม.ได ้ 3 เม็ด
-
+
-
สรุปการทดสอบเพือ
่ การค ัดกรอง
ด ้าน GM
ข้อสูงสุดทีท
่ าได้ ข้อแรกทีท
่ าไม่ได้
ในการค ัดกรอง
ในการค ัดกรอง
(+)
(-)
27
39
ด ้าน FM
32
46
ด ้าน RL
32
47
ด ้าน EL
32
43
ด ้าน PS
30
44
1.2 หลักการประเมินพัฒนาการอย่ างละเอียด
1) การประเมินพัฒนาการอย่ างละเอียด จะประเมินต่ อ
จากข้ อสู งสุ ดทีเ่ ด็กทาได้ ในการทดสอบเพือ่ คัดกรอง
จนกระทัง่ ถึงข้ อแรกทีเ่ ด็กทาไม่ ได้ ในพัฒนาการแต่ ละ
ด้ าน
2) ประเมินพัฒนาการอย่ างละเอียดทีละด้ านจนครบ 5
ด้ าน
1.2 หลักการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด
3) ในขณะทดสอบ ต้ องไม่ ให้ ความช่ วยเหลือหรือ
ชี้แนะเด็ก
4) กรณีเด็กไม่ ให้ ความร่ วมมือในการทดสอบ
• ให้ พ่อ แม่ หรือผู้เลีย้ งดู เป็ นผู้ทดสอบ
• ซักถามพ่อแม่ / ผู้เลีย้ งดู
ตัวอย่ าง : การประเมินพัฒนาการอย่ างละเอียด
จากกรณีตัวอย่ าง จะประเมินพัฒนาการอย่ างละเอียดแต่ ละด้ าน ดังนี้
ด้ าน
GM
FM
RL
EL
PS
ข้ อ
28 - 38
33 - 45
33 – 46
33 – 42
31 - 43
ชมการสาธิตการประเมินละเอียดค่ ะ
ต ัวอย่างการประเมินพ ัฒนาการอย่างละเอียด
้ ล้ามเนือ
้ ม ัดเล็ กและสติปญ
ด้านการใชก
ั ญา
เริม
่ ทีข
่ อ
้ 33 -45 อายุ 2-3 ปี
33
34
35
36
หมวด 5 การใช้มือ
ร้อยลูกปัดขนาดกลางได้ 4 เม็ด
ตัดหรือเล็มด้วยกรรไกร
หมวด 4 การวางสิง่ ของหรือใส่สงิ่ ของในภาชนะ
ต่อก้อนไม้สเี่ หลีย่ มลูกบาศก์เป็ นหอสูงได้ 8 ก้อน
หมวด 7 ทักษะการใช้หนังสือ
ชี้รายละเอียดของภาพในหนังสือ
+
+
+
19
ต ัวอย่างการประเมินพ ัฒนาการอย่างละเอียด
้ ล้ามเนือ
้ ม ัดเล็ กและสติปญ
ด้านการใชก
ั ญา
เริม
่ ทีข
่ อ
้ 33 -45 อายุ 3-4 ปี
37
38
39
40
หมวด 8 การแก้ปญ
ั หาและการต่อภาพปริศนา
ประกอบชิน
้ ส่วนของรูปภาพทีต
่ ดั ออกเป็ นส่วนๆ
8 ชิน
้ ได้
เลียนแบบการสร้างสะพาน
วางก้อนไม้สเี่ หลีย่ มลูกบาศก์จานวน 5 ก้อนทีม
่ ี
ขนาดต่างๆ กัน เรียงตามลาดับ
หมวด 9 การจับคูแ
่ ละแยกประเภทของวัตถุและ
รูปภาพ
จับคูร่ ูปภาพ(9 ตัวเลือก)
-
+
+
+
20
ต ัวอย่างการประเมินพ ัฒนาการอย่างละเอียด
้ ล้ามเนือ
้ ม ัดเล็ กและสติปญ
ด้านการใชก
ั ญา
เริม
่ ทีข
่ อ
้ 33 -45 อายุ 3-4 ปี
41
42
43
44
45
หมวด 10 การคัดเลือกวัตถุและรูปภาพ
จับคูส่ ี (4 ตัวเลือก)
แยกสีได้ 4 สี (4 ตัวเลือก)
เลือกสีได้ 4 สี (4 ตัวเลือก)
หมวด 6 การวาดภาพ
เลียนแบบวาดรูปเครือ
่ งหมายบวก
เลียนแบบวาดรูปตัววี
+
+
+
+
-
21
2. สรุปผลการประเมินพัฒนาการ
นาผลการประเมินพัฒนาการอย่างละเอียด
มาคิดอายุพฒ
ั นาการ
โดยให้ คะแนนข้ อละ 1 คะแนน
2.1 วิธีการให้ คะแนน
1
ให้ คะแนนโดย
อัตโนมัติกบั ทุกข้ อ
ก่อนข้ อที่เริ่มต้ น
ประเมินพัฒนาการ
อย่ างละเอียด
2
นับคะแนนข้ อที่
ทาได้ หลังเสร็จ
สิ้นการประเมิน
พัฒนาการอย่ าง
ละเอียด
3
รวมคะแนน
ทั้งหมดเป็ น
อายุพฒ
ั นาการ
(คะแนนข้ อ 1
และ 2 รวมกัน)
2.2 การนับอายุพฒ
ั นาการ
คะแนนก่ อนประเมินพัฒนาการอย่ างละเอียด …… คะแนน
คะแนนหลังการประเมิน ฯ
…… คะแนน
รวม =
…… คะแนน
ประมาณการอายุพฒ
ั นาการด้ าน…….ได้ ……ปี …… เดือน
24
ต ัวอย่าง : การน ับอายุพ ัฒนาการ
จากกรณีต ัวอย่าง น ับอายุพ ัฒนาการได้ ด ังนี้
คะแนนก่อนประเมินพ ัฒนาการอย่างละเอียด 32 คะแนน
คะแนนหล ังการประเมิน ฯ
10 คะแนน
รวม =
42 คะแนน
ประมาณการอายุพ ัฒนาการ ด้าน FM ได้ 3 ปี 6 เดือน
25
2.3 กราฟพัฒนาการ
วัตถุประสงค์
เพือ่
- รายงานพัฒนาการแรกรับ
- รายงานความก้ าวหน้ าพัฒนาการของเด็ก
ทุกรอบการประเมิน
2.3 กราฟพัฒนาการ
วิธีทา
• นาจานวนข้ อที่เด็กทาได้ จากการประเมินพัฒนาการอย่ างละเอียดในแต่ ละ
ด้ าน(อายุพฒ
ั นาการแต่ ละด้ าน) บันทึกไว้ ในแกนพัฒนาการแต่ ละด้ านที่
กาหนดไว้ ให้ ครบทั้ง 5 ด้ าน
• ลากเส้ นประเพือ่ แสดงอายุจริงของเด็ก
• บันทึกวันที่ ทีท่ ากราฟทุกครั้ง
• ใช้ สีที่แตกต่ างกันในการลากเส้ นกราฟแต่ ละครั้ง
ตัวอย่าง สรุปผลการประเมินพัฒนาการ
5.4 ปี
5 ปี
4 ปี
X
3 ปี
ว ันทีท
่ ดสอบ
3.6 ปี
1. 20 มีนาคม 57
2......................
2 ปี
1 ปี
0 ปี
GM
FM
RL
EL
PS
28
แผนการสอน
ประกอบด้ วย
แผนการสอน
ระยะยาว
แผนการสอน
ระยะสั้ น
3. แผนการสอนระยะยาว
เป็ นการวางเป้าหมายการสอนทุกด้ าน
ในระยะยาว (3-6 เดือน) โดย
วิธีการ :
คัดเลือกหัวข้ อที่เด็กไม่ ผ่าน
การประเมินอย่างละเอียดของแต่ ละด้ าน
(โดยกระจายหมวดของแต่ ละด้ าน)
มาวางแผนเพือ่ กาหนดเป็ นเป้ าหมาย
ด้ านละประมาณ 4 ข้ อ หรือตามศักยภาพ
ของเด็ก
ระบุปัญหาพฤติกรรมของเด็ก
แผนการสอน
ระยะยาว
4. แผนการสอนระยะสั้ น
เป็ นการวางแผนการสอนที่ตอ้ งการให้บรรลุวตั ถุประสงค์
ภายใน 2 สัปดาห์
วิธีการ : เลือกหัวข้อที่เด็กไม่ผา่ นการประเมินละเอียดจาก
แผนการสอนระยะยาวมาเป็ นหัวข้อการสอน หรื อ
อาจนาแผนการสอนระยะยาวมาย่อยงาน
ั้
การเขียนแผนการสอนระยะสน
ประกอบด้วย :
ว ัตถุประสงค์ คือ หัวข ้อการสอนทีเ่ ลือก
ั้
เป็ นแผนการสอนระยะสน
้
อุปกรณ์ คือ อุปกรณ์ทใี่ ชในการสอนแต่
ละข ้อ ซงึ่ ผู ้สอนต ้องระบุชนิด ขนาดและส ี
ั เจนทีส
ตลอดจนลักษณะพิเศษ อืน
่ ๆชด
่ ด
ุ
้
วิธก
ี าร คือ ขัน
้ ตอนสอน คาสงั่ ทีใ่ ชใน
ั เจน
การสอน ซงึ่ ต ้องระบุให ้ชด
การเสริมแรง คือ การให ้สงิ่ ทีเ่ ด็กชอบ
เมือ
่ เด็กทาได ้และทาให ้เด็กอยากทา
พฤติกรรมนัน
้ อีก
การเขียน
แผนการสอน
ั้
ระยะสน
ตัวอย่ างการเขียนแผนการสอน
ระยะยาวและสั้ น
ต ัวอย่างการเขียนแผนการสอนระยะยาว
(จากกรณีต ัวอย่าง) :
ื่ เด็ก ด.ญ. แพรว
ชอ
ว ัน เดือน ปี เกิด 10 พ.ย.51 อายุ 5 ปี 4 เดือน
ผูฝ
้ ึ ก ประภาพรรณ ระยะเวลา มี.ค.– มิ.ย. 2557
ว ัตถุประสงค์การสอน
ด้านการเคลือ
่ นไหว
1.
2.
้ ล้ามเนือ
้ ม ัดเล็ กและสติปญ
ด้านการใชก
ั ญา
1. (35) ต่อก ้อนไม ้สเี่ หลีย
่ มลูกบาศก์เป็ นหอสูงได ้ 8 ก ้อน
ิ้ สว่ นของรูปภาพทีต
ิ้ ได ้
2. (37) ประกอบชน
่ ด
ั ออกเป็ นสว่ นๆ 8 ชน
3. (45) เลียนแบบวาดรูปตัววี
34
ตัวอย่ างการเขียนแผนการสอนระยะสั้ น
(จากกรณีตัวอย่ าง) :
วัตถุประสงค์ (FM 45) เลียนแบบวาดรู ปตัววี
อุปกรณ์
กระดาษ สี เทียน/ดินสอ
วิธีการ
ผู้ฝึกวาดรู ปตัววี V แล้ วให้ เด็กวาดรู ปตัววี
ตามแบบทีผ่ ู้ฝึกวาด กรณีเด็กทาไม่ ได้
หรือไม่ ทา ให้ การช่ วยเหลือโดยการจับมือทา
การเสริมแรง ปรบมือหรือกล่ าวคาชมเชยเด็กว่ า เก่ งมาก
35
5.การสอน
ตามแผนการสอนระยะสั้ น
หลักการสอนส่ งเสริมพัฒนาการ
สิ่ งทีค่ วรคานึงถึง
1
2
3
โปรแกรมการสอน
ต้ องเป็ นรายบุคคล
ผู้ปกครอง
มีส่วนร่ วม
เลือกวัตถุประสงค์
ทีท่ าให้ เด็กมีความ
พร้ อมในการกลับ
ไปอยู่ในสภาพ
แวดล้อมจริง
หลักการสอนส่ งเสริมพัฒนาการ
1) คาสั่ งที่ใช้
ง่ าย สั้ น ชัดเจน
คงที่ เป็ นคาสั่ งเดิมทุกครั้งจนกระทัง่ ผ่ านการประเมิน จึงจะ
เปลีย่ น เป็ นคาสั่ งแบบอืน่ ๆเพือ่ ให้ เด็กได้ เรียนรู้มากขึน้
ให้ เวลาในการปฏิบัติ 3-5 วินาที
ถ้ าเด็กไม่ ทาให้ สั่งซ้า พร้ อมกับให้ การช่ วยเหลือ ให้ ทาจนเสร็จ
หลักการสอนส่ งเสริมพัฒนาการ
2) การให้ ความช่ วยเหลือ
การช่ วยเหลือทางกาย : จับมือทา แตะข้ อศอก
และกระตุ้นเตือน
การช่ วยเหลือทางวาจา : การบอก
การช่ วยเหลือโดยใช้ ท่าทาง : ชี้ ผงกศีรษะ สั่ นหน้ า
ลดการช่ วยเหลือลงเมื่อเด็กทาได้
หลักการสอนส่ งเสริมพัฒนาการ
3) การให้ แรงเสริม เช่ น ยิม้ ชมเชย ตบมือ
สั มผัส ให้ อาหารหรือของ ที่เด็กชอบ
ให้ทนั ทีเมื่อเด็กทาได้ถูกต้อง
ให้บ่อยๆโดยเฉพาะเมื่อต้องการให้เกิดพฤติกรรมใหม่
ลดการให้เมื่อเด็กทาได้แล้ว แต่ตอ้ งให้บา้ งเป็ นระยะๆ เพื่อคง
พฤติกรรมไว้
แรงเสริ มต้องเหมาะสมกับวัย เป็ นสิ่ งทีเ่ ด็กชอบชอบ
หลักการสอนส่ งเสริมพัฒนาการ
4) สอนให้ เด็กทาสิ่ งที่ถูกต้ องตั้งแต่ ครั้งแรก
ใช้มือปิ ดสิ่ งที่ไม่ถูกต้อง
ช่วยจับมือเด็กทาในสิ่ งที่ถูกต้อง
5) ย่ อยงาน
เป็ นการแยกย่อยลาดับขั้นตอนของการทากิจกรรม
เพื่อให้เด็กประสบความสาเร็ จในการทากิจกรรมต่างๆ
หลักการสอนส่ งเสริมพัฒนาการ
6) การขัดขวาง เพือ่ ลด / แก้ ไขพฤติกรรม
ที่ไม่ ต้องการ / ป้ องกันการทาทักษะผิด
ใช้มือปิ ดสิ่ งที่ไม่ถูกต้อง / สิ่ งที่ไม่ตอ้ งการให้เด็กทา
ช่วยจับมือเด็กเลือกหรื อทาในสิ่ งที่ถูกต้อง
7) เป้าหมายสุ ดท้ ายของการสอนทักษะต่ างๆ
คือ การทีเ่ ด็กสามารถนาไปใช้ ในชีวติ ประจาวันได้
ผู้ปกครองจึงควรหาโอกาสให้ เด็กได้ ใช้ ความสามารถ
ทีม่ ีอยู่ในชีวติ ประจาวันให้ มากทีส่ ุ ด
ชมการสอน
ตามแผนการสอนระยะสั้ น
6. ประเมินความก้ าวหน้ าของพัฒนาการ
1) ประเมินทุก 2-4 สั ปดาห์
เพือ่ ดูว่าต้ องปรับแผนการสอนระยะสั้ นหรือไม่
2) ประเมินทุก 3 เดือน หรือ 6 เดือน
เพือ่ สรุปผลพัฒนาการ และวางแผนการฝึ กต่ อเนื่อง
44
ตัวอย่ าง สรุปผลการประเมินพัฒนาการ
5 ปี
4 ปี
ปี
XX 4.10
4.6 ปี
3 ปี
5.7 ปี
5.4 ปี
X 4.1 ปี
X 3.6 ปี
X 3.4 ปี
X 3.0 ปี
2 ปี
X 4.1 ปี
วั
น
ที
ท
่
ดสอบ
X
3.6
ปี
ปี
XX 3.1
3.0 ปี
1. 20 มีนาคม 57
2. 20 มิถุนายน 57
1 ปี
0 ปี
GM
FM
RL
EL
PS
เด็ก ทุกคนสามารถพ ัฒนาได้
ถ้าได้ร ับประสบการณ์การเรียนรู ้
ทีเ่ หมาะสม