แนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษา

Download Report

Transcript แนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษา

แนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษา
การปฏิรูปการศึ กษาเป็ นกระแสใหญ่ ทั่วโลกเพราะในสภาพ
ของโลกที่ เ ปลี่ ย นไปการศึ ก ษาจึ ง จ าเป็ นต้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว ให้
สามารถเป็ น “การศึ กษาสาหรั บ ทุ กคน” หรื อการเอาผู้เรี ยนเป็ น
ศูนย์ กลาง
ทวีปยุโรป
• ประเทศฝรั่งเศส
ระบบการศึกษาในประเทศฝรั่งเศสอาจเรียกได้ ว่าเป็ นระบบการศึกษาที่
รัฐให้ ฟรีท้งั หมด และในปัจจุบันประเทศฝรั่งเศสได้ มีการปฏิรูป
การศึกษา โดยนาระบบการสื่ อสารโทรคมนาคมมาพัฒนาเทคโนโลยี
การศึกษาและการศึกษาแบบออนไลน์ ผ่ านเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการศึกษาทีน่ ามาใช้ ในประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบันเป็ น
บทเรียนออนไลน์ การเรียนผ่ านเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต
จากการศึ ก ษาค้ น คว้ า ข้ อ มู ล ขอบข่ า ยของเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาใน
ประเทศฝรั่ งเศสได้ เน้ นถึงการพัฒนาประชากร โดยให้ การศึกษาแก่ ทุก
คนได้ น าความรู้ ที่ ไ ด้ ไ ปพั ฒ นาตนเอง เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาจะเป็ น
แนวทางทีไ่ ม่ จากัดสถานทีแ่ ละเวลา
ประเทศสหราชอาณาจักร
ประเทศสหราชอาณาจักรได้ พฒ
ั นาการสอนผ่ านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในรูปแบบต่ างๆ มากขึน้ โดยเฉพาะการใช้ อนิ เตอร์ เน็ตเข้ ามาช่ วยในการ
จัดการเรียนการสอน ได้ มีการกาหนดแผนพัฒนาในการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศในรูปแบบต่ างๆประกอบด้ วย
1. การเชื่อมต่ อทุกโรงเรียนเข้ ากับทางด้ านสารสนเทศ
2. การพัฒนาเครือข่ ายแห่ งชาติเพือ่ การเรียนรู้เป็ นโครงสร้ างพืน้ ฐาน
มีการกาหนดเป้าหมายการพัฒนาให้ ครู ต้องใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสารตามหลักสู ตรได้ สถาบันการศึกษาทุกแห่ ง ห้ องสมุดและ
ศูนย์ ชุมชนต้ องเชื่อมต่ อกับ NGFL
ประเทศฟิ นแลนต์
เทคโนโลยีการศึกษาในประเทศฟิ นแลนด์ ครอบคลุมเกีย่ วกับการใช้
เทคโนโลยีในการเรียนรู้และการศึกษาโดยอิงทฤษฏีการเรียนรู้ เช่ น
หน่ วยวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาเน้ นการวิจัยทีเ่ ข้ าใจกระบวนการเรียนรู้
ของนักเรียน สนับสนุนการเรียนรู้ได้ แก่สื่อประสม การประชุมทางไกล
ระบบเครือข่ ายการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา คอมพิวเตอร์
การศึกษาปัจจุบันเน้ นที่ content of rducation และ
methods of instruction และยังคงเน้ นที่มาตรฐาน
การศึ กษาและความเท่ าเทียมกันของการศึ กษาโดยสรุ ปแล้ วเทคโนโลยี
การศึกษาในประเทศฟิ นแลนด์ ครอบคลุมเกีย่ งกับ
1. การใช้ เทคโนโลยีในการเรี ย นรู้ และการศึ กษาโดยอิง กับทฤษฏีการ
เรียนรู้ให้ เข้ าใจกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
2. มีความสอดคล้องกับสิ่ งแวดล้อมทีม่ ีเทคโนโลยีสนับสนุน
3. การเรี ยนรู้ ที่มีคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ ายสิ่ งแวดล้ อมที่เสมือนจริ ง
สนับสนุน
ทวีปเอเชีย
ประเทศญี่ปุ่น
การนาเทคโนโลยีการศึกษาไปใช้ ในการเรียนการสอนระดับต่ างๆ มี
ความแตกต่ างกันชัดเจนระหว่ างพฤติกรรมของการเรียนรู้กบั สื่อ คือใน
ระบบอนุบาลจะนิยมใช้ เครื่องบันทึกเสี ยง ระดับประถมศึกษานิยมใช้
เครื่องโทรทัศน์ ระดับมัธยมต้ นนิยมใช้ เครื่องฉายภาพข้ ามศีรษะและ
มัธยมปลายนิยมใช้ เครื่องเล่นและบันทึกเทปโทรทัศน์ ซึ่งจากข้ อมูล
ดังกล่าวน่ าจะเป็ นสิ่ งทีแ่ สดงให้ เห็นว่ าจาเป็ นจะต้ องมีการสร้ างทัศนคติ
ภายใต้ ทฤษฏีจิตวิทยาเพือ่ ส่ งเสริมและให้ ความรู้ในเรื่องของการใช้
โสตทัศนูปกรณ์
จากการค้ น คว้ า ข้ อ มู ล พบว่ า มี ก ารจั ด ตั้ ง องค์ ก รด้ า นเทคโนโลยี
การศึ ก ษาของประเทศญี่ปุ่ นและรั ฐ บาลให้ ก ารสนั บ สนุ น ในลัก ษณะ
ภาพรวมของประเทศ ในการจัดรูปแบบองค์ ในการทีจ่ ะพัฒนาตนเองเข้ า
สู่ ศตวรรษที่ 21 ประเทศญี่ปุ่นจาเป็ นต้ องปฏิรูประบบการศึ กษาโดย
นโยบายหลักชาตินิย ม คือพัฒนาทรั พ ยากรมนุ ษย์ ทางต้ านการศึ กษา
ท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมภายใต้ ก ระบวนการคิ ด สร้ างสรรค์ ท าง
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแต่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ น้ันต้ องตั้งอยู่
บนพื้นฐานการกีฬาอันที่จะส่ งผลต่อสุ ขภาพที่ดีของประชาชน
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
• เทคโนโลยีการศึกษาเป็ นตัวชี้วดั ทีส่ าคัญของความทันสมัยของการศึกษา
ในจีนผู้นาของรัฐบาลจีนให้ ความสนใจในเทคโนโลยีการศึกษาตลอดช่ วง
20ปี ทีผ่ ่ านมาของการปฏิรูปผู้นาในชนบทหลายท่ านได้ เขียนเอกสารการ
สอนสาหรับการศึกษาผ่ านดาวเทียมและการศึกษาทางไกลสมัยใหม่โดย
คณะกรรมการทางพรรคคอมมิวนิสต์ จีนและรัฐสภาเน้ นว่ าต้ องให้
ความสาคัญต่ อเทคโนโลยีการศึกษาสมัยใหม่ และระบบสารสนเทศ
การศึกษา ดังนั้นการพัฒนาเทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็ นงานทีส่ าคัญทีท่ า
ให้ เกิดความทันสมัยของการศึกษาจีน
โดยสรุ ป ขอบข่ ายสาระของเทคโนโลยีการศึ กษาของจีนเน้ นการ
น าประเทศสู่ ความทั น สมั ย โดยการแพร่ กระจายความรู้ ให้ แ ก่
ประชากรของประเทศทีม่ ีจานวนมากให้ สามารถอ่ านออกเขียนได้ รับ
ความรู้ อย่ างทั่วถึงเท่ าเทียมกัน รวมทั้งสนับสนุนความเป็ นเลิศทาง
วิชาการโดยเฉพาะอย่ างยิ่งด้ านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์
โดยอาศั ยเทคโนโลยีการศึ กษาร่ วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศจีนมี
ศั ก ยภาพและได้ ป ระกาศเข้ า สู่ ความทั น สมั ย ในแผนปฏิ บั ติ ก าร
แห่ งชาติ
ประเทศสิ งคโปร์
สาธารณรัฐสิ งคโปร์ เป็ นประเทศที่ประสบความสาเร็จอย่ างมากใน
ด้ านเศรษฐกิจการเมือง สั งคมและการศึกษา นับเป็ นประเทศเปิ ดใหม่ ที่มี
ความก้าวหน้ าพัฒนาศักยภาพของบุคคลให้ สูงสุ ดโดยอาศัยการศึกษา
เป็ นสาคัญ
ในปี 2529 นาเทคโนโลยีมาใช้ ในการเรียนการสอนอย่ างกว้ างขวาง
มีโครงการเชื่อมโยงโรงเรียนโดยใช้ เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
เชื่อมโยงกระทรวงศึกษาธิการและโรงเรียนทั้งหมดในอนาคตสิ งคโปร์ จะ
นาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้ เพือ่ การศึกษาอย่ างกว้ างขวาง ด้ วย
ความสาคัญ 4 ประการ
1. การเรียนการสอนต้ องใช้ สือหลายประเภท
2. ผู้เรียนต้ องเลือกใช้ สื่ออย่ างสร้ างสรรค์
3. การพัฒนาสื่ อทุกประเภทต้ องเน้ นให้ มีการตอบสนอง สามารถเรียน
ด้ วยตนเอง
กล่ าวสรุ ป สาธารณรั ฐสิ งคโปร์ มีการนาเอาเทคโนโลยีการศึกษามา
ใช้ ในการจัดการศึ กษาคล้ ายกับประเทศต่ างๆ ในเอเชี ย เนื่องจากได้ รั บ
อิทธิพลจากการปกครองของประเทศอังกฤษ ดังนั้น การศึกษาจึงคาดว่ า
จะได้ รับอิทธิพลทางเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ ในการบริหารและการจั ดการ
เรี ย นการสอนแต่ เนื่ องจากวิสัยทัศน์ ข องผู้ น าประเทศในขณะนี้ทาให้
สิ ง คโปร์ มีแนวทางในการจัด การศึ กษาเป็ นของตนเองและมุ่ ง พัฒ นา
ผู้เรียนโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศช่ วยให้ ผู้เรียนมีคุณลักษณะเป็ นผู้ใฝ่ รู้
เรียนอย่ างติอเนื่องตลอดชีวติ
ประเทศไทย
เทคโนโลยีเพื่อการศึ กษา" เป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาการศึ กษา
โดยการนาสื่ อสารมวลชนเทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม และการ
จั ด แหล่ ง ทรั พ ยากรการเรี ย นรู้ มาใช้ เพื่ อ จั ด ให้ ก ารศึ ก ษาที่ ส ามารถ
ผสมผสานระหว่ างการศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศั ย เอื้ออานวยให้ ผู้ เรี ย นสามารถศึ กษาค้ นคว้ าได้ ตามความ
ต้ องการ เพื่อให้ การเรี ยนรู้ และการพัฒนาคุณภาพชี วิตเกิดขึ้นได้ อย่ าง
ต่ อเนื่องตลอดชีวิตทั้งด้ านการศึกษาสาระความรู้ ทางวิชาการ ทางศาสนา
และศิลปะ วัฒนธรรม
ส่ วนขอบข่ ายของเทคโนโลยีการศึกษา ตามแนวคิดของนักคิดไทย
ชัยยงค์ พรหม ได้ แบ่ งประมวลออกเป็ น 3 ขอบข่ ายคือ
ขอบข่ ายด้ านสาระของเทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษาการพัฒนา
และออกแบบระบบทางการศึกษาพฤติกรรมการเรียนการสอน วิธีการ
สอนสื่ อสารการศึกษาสภาพแวดล้อมทางการศึกษา การจัดการด้ านการ
เรียนการสอนและการประเมินการศึกษา
ขอบข่ ายด้ านภารกิจเป็ นการนาเทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษาไป
ใช้ เพือ่ ภารกิจทางการศึกษาคือภารกิจด้ านการบริหาร ด้ านวิชาการและ
ด้ านการบริการ
ขอบข่ ายตามรูปแบบการจัดการศึกษามีการนาเทคโนโลยีและ
สื่ อสารการศึกษาไปใช้ เป็ นเครื่องมือในการจัดการศึกษา 4 ด้ าน คือ
1. การศึกษาในระบบโรงเรียน จาแนกตามระดับการศึกษาระดับ
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษา
2. การศึกษานอกระบบโรงเรียน
3. การฝึ กอบรม
4. การศึกษาทางไกล
ขอบคุณ ค่ ะ