ภาคทบทวน กฎหมายฟื น้ ฟูกิจการ อ.วิรัตน์ วิศิษฏ์ วงศกร - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริ มสหกรณ์ ฯ เข้าไปช่วยเหลือ “สหกรณ์ เครดิตยเู นี่ยนคลองจั่น จำกัด” เพื่อให้เข้าสู่การฟื้ นฟูกิจการให้ สามารถดาเนินธุรกิจได้ตามปกติเช่นเดิม โดยจัดทาแผนฟื้ นฟูกิจการ ออก กฎกระทรวงเพือ่ ให้

Download Report

Transcript ภาคทบทวน กฎหมายฟื น้ ฟูกิจการ อ.วิรัตน์ วิศิษฏ์ วงศกร - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริ มสหกรณ์ ฯ เข้าไปช่วยเหลือ “สหกรณ์ เครดิตยเู นี่ยนคลองจั่น จำกัด” เพื่อให้เข้าสู่การฟื้ นฟูกิจการให้ สามารถดาเนินธุรกิจได้ตามปกติเช่นเดิม โดยจัดทาแผนฟื้ นฟูกิจการ ออก กฎกระทรวงเพือ่ ให้

ภาคทบทวน
กฎหมายฟื น้ ฟูกิจการ
อ.วิรัตน์ วิศิษฏ์ วงศกร
- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมส่งเสริ มสหกรณ์ ฯ เข้าไปช่วยเหลือ
“สหกรณ์ เครดิตยเู นี่ยนคลองจั่น จำกัด” เพื่อให้เข้าสู่การฟื้ นฟูกิจการให้
สามารถดาเนินธุรกิจได้ตามปกติเช่นเดิม โดยจัดทาแผนฟื้ นฟูกิจการ ออก
กฎกระทรวงเพือ่ ให้ สหกรณ์เป็ นนิติบุคคลทีส่ ามารถฟื้ นฟูกจิ การได้ ตาม
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483 พร้อมดาเนินคดีกบั ผูท้ ุจริ ตกับ
สหกรณ์ และเยียวยาสมาชิกฯ และหาแหล่งทุนเพื่อการฟื้ นฟูกิจการโดย
เมื่อวันที่ 26 สิ งหาคม 2557 ที่ผา่ นมา ศาลล้มละลายกลางก็ได้มีคาสัง่ ให้
รับคาร้องให้ฟ้ื นฟูกิจการของ (ที่มา- นสพ.เดลินิวส์ วันที่ 12 กันยายน 2557)
Going Concern
Insolvency
•
สภาวะล้มละลายเกิดขึ้นเมื่อกระแสเงินสดของบริ ษทั ไม่สามารถชาระหนี้
ตามกาหนดสัญญาได้
$
กระแสเงินสด
ขาดสภาพ
คล่อง
กาหนดชาระหนี้
ตามสัญญา
กระแสเงินสดบริ ษทั
Insolvency
time
Going Concern
หนี ้สินล้ นพ้ นตัว
•
มูลค่าของกิจการที่สินทรัพย์น้อยกว่าหนี ้สิน
Solvent firm
Insolvent firm
Debt
Assets
Assets
Debt
Equity
Debt
Equity
ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ที่เป็ นลบ
การปรับโครงสร้ างหนี ้
[ Debt Restructuring ]
In Court
สัญญายอมในคดีแพ่ ง
[Settlement in
civil case]
ประนอมหนีใ้ น
คดีล้มละลาย
[Debt
Composition In
Bankruptcy
Proceeding]
Out Court
คดีฟื้นฟูกจิ การ
สัญญายอมนอกศาล
[Reorganization
Proceeding]
[out of court
settlement ]
สัญญาปรั บปรุ ง
โครงสร้ างหนี ้
กับ
สปน. คปน. บสท.
[Workout]
ลักษณะสาคัญของกฎหมายล้มละลาย
๑. เป็ นกฎหมายเกี่ยวด้วยความสงบเรี ยบร้อย และศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน เนื่องจากเป็ นกฎหมายที่มุ่งคุม้ ครองประโยชน์สาธารณะเป็ น
สาคัญ
๒. มีลกั ษณะเป็ นทั้งกฎหมายสาระบัญญัติและวิธีสบัญญัติ และเป็ น
กฎหมายที่มีโทษทางอาญาด้วย
๓.กฎหมายล้มละลายมีวตั ถุประสงค์เพื่อต้องการให้เกิดความเป็ นธรรม
แก่เจ้าหนี้ในการแบ่งเฉลี่ยทรัพย์สินของลูกหนี้ เพื่อให้ลูกหนี้ผสู ้ ุ จริ ต
สะสางหนี้สินของตนเองและมีโอกาสหลุดพ้นจากหนี้สินเดิม และเป็ น
กฎหมายคุม้ ครองประชาชนทัว่ ไป ให้ทราบสถานภาพที่แท้จริ งของ
ลูกหนี้ และไม่ให้ลูกหนี้ก่อหนี้สินทาให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าหนี้
ทั้งหลายได้อีก
๔. เป็ นกฎหมายจากัดสิ ทธิเสรี ภาพของบุคคล
- คดีล้มละลาย เมื่อศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ มาตรา ๒๒ ให้อานาจจัดการ
และจาหน่ายทรัพย์สินทรัพย์สินของลูกหนี้ตกแก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์แต่เพียงผูเ้ ดียว
- คดีฟื้นฟูกิจการ เมื่อศาลมีคาสัง่ ตั้งผูท้ าแผน หรื อมีคาสัง่ เห็นชอบด้วยแผน
ให้อานาจจัดกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ตกแก่ผทู ้ าแผน และ
ผูบ้ ริ หารแผนตามลาดับ (มาตรา ๙๐/๒๕, ๙๐/๕๙)
ข้อแตกต่างระหว่างคดีแพ่งกับ
คดีลม้ ละลายและฟื้ นฟูกิจการ
๑. คดีแพ่งฟ้ องเพื่อประโยชน์ของเจ้าหนี้เฉพาะตัวจึงยอมความได้ คดี
ล้มละลายฯ ฟ้ องหรื อร้องขอเพื่อประโยชน์เจ้าหนี้ท้ งั หลาย จึงยอม
ความเฉพาะกับเจ้าหนี้ผเู ้ ป็ นโจทก์หรื อผูร้ ้องขอไม่ได้
๒. คดีแพ่งฟ้ องเมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระ คดีลม้ ละลายฯ ฟ้ องหรื อร้อง
ขอได้แม้หนี้ยงั ไม่ถึงกาหนดชาระ (มาตรา ๙ (๓), ๙๐/๓)
๓. คดีแพ่ง ยืน่ ฟ้ องแล้วถอนฟ้ องได้ (ปวพ. มาตรา ๑๗๕) คดี
ล้มละลายฯ ยืน่ ฟ้ องหรื อยืน่ คาร้องขอแล้วถอนฟ้ องหรื อถอนคา
ร้องขอไม่ได้ เว้นแต่ศาลอนุญาต และหากศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์
เด็ดขาดหรื อให้ฟ้ื นฟูกิจการแล้ว ศาลจะอนุญาตให้ถอนฟ้ องหรื อ
คาร้องขอไม่ได้ (มาตรา ๑๑, ๙๐/๘ วรรคหนึ่ง)
๔. คดีแพ่งไม่กาหนดขั้นต่าของจานวนหนี้ที่ฟ้อง คดีลม้ ละลายฯ กาหนด
ขั้นต่าของจานวนหนี้ที่ฟ้องหรื อร้องขอ (มาตรา ๙ (๒), ๙๐/๓)
๕. คดีแพ่งหนี้ที่นามาฟ้ องไม่จาต้องกาหนดจานวนได้โดยแน่นอนแล้ว
เช่น หนี้มูลละเมิด คดีลม้ ละลายฯ หนี้ที่นามาฟ้ องหรื อร้องขอต้อง
กาหนดคานวณจานวนได้โดยแน่นอนแล้วในขณะยืน่ ฟ้ องหรื อร้องขอ
(มาตรา ๙ (๓), ๙๐/๓)
๖. คดีแพ่งต้องมีหมายเรี ยกบังคับให้จาเลยให้การ มิฉะนั้นถือว่าขาดนัดยืน่
คาให้การ คดีลม้ ละลายฯ กฎหมายไม่บงั คับว่าลูกหนี้จาต้องยืน่
คาให้การหรื อคาคัดค้าน (มาตรา ๑๓, ๙๐/๙ วรรคสาม)
๗. คดีแพ่งดอกเบี้ยเรี ยกคานวณได้จนถึงวันชาระเสร็ จ คดีลม้ ละลายฯ
ดอกเบี้ยหลังวันพิทกั ษ์ทรัพย์ขอรับชาระหนี้ไม่ได้ ส่ วนการฟื้ นฟู
กิจการแม้ดอกเบี้ยหลังวันศาลสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการขอรับชาระหนี้ได้ แต่
อาจถูกตัดหรื อลดจานวนลงตามแผนได้ (มาตรา ๑๐๐, ๙๐/๔๒ (๓)
(ข))
ศาลที่มีอานาจพิจารณาคดีลม้ ละลายและฟื้ นฟูกิจการ
“ศาลล้มละลาย” หมายถึง ศาลล้มละลายกลาง หรื อ ศาลล้มละลายภาค
( ตามบทนิยามมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลล้มละลาย ฯ )
ศาลล้มละลายกลาง ตามมาตรา ๕ วรรคสอง กาหนดให้ศาลล้มละลายกลาง
มีเขตอานาจตลอดกรุ งเทพมหานคร แต่ในระหว่างศาลล้มละลายภาค
ยังไม่ได้มีการจัดตั้งขึ้น ศาลล้มละลายกลางยังคงมีอานาจพิจารณา
พิพากษาคดีลม้ ละลายทัว่ ราชอาณาจักร ตามมาตรา ๓๐
ศาลล้ มละลายภาค ในมาตรา ๖ บัญญัติวา่ การจัดตั้งศาลล้มละลายภาคให้
กระทาโดยพระราชบัญญัติซ่ ึงจะต้องระบุเขตศาลและกาหนดที่ต้ งั ศาล
นั้นไว้ดว้ ย (ปัจจุบนั ยังไม่มีการจัดตั้งศาลล้มละลายภาค)
“คดีลม้ ละลาย” หมายถึง คดีตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย (ซึ่งรวมความรับ
ผิดทางอาญา) และให้รวมถึงคดีแพ่งที่เกี่ยวพันกันกับคดีดงั กล่าวด้วย
(ตามพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลล้มละลาย ฯ มาตรา ๓)
“คดีตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย” เช่น ฟ้ องตาม พระราชกาหนดการกู้ยืม
เงินที่เป็ นการฉ้ อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ มาตรา ๑๐ ให้อานาจ
พนักงานอัยการฟ้ องผูก้ ยู้ มื เงินซึ่งเป็ นผูต้ อ้ งหาคดีอาญาข้อหาตาม
มาตรา ๔ และมาตรา ๕ และ คดีตาม พระราชกาหนดบรรษัทบริ หาร
สิ นทรั พย์ ไทย พ.ศ. ๒๕๔๔ ให้อานาจบรรษัทบริ หารสิ นทรัพย์ไทย
ยืน่ คาร้องให้ศาลมีคาสัง่ พิทกั ษ์ทรัพย์ลูกหนี้หรื อผูค้ ้ าประกันเด็ดขาด
(มาตรา ๕๘ วรรคสี่ , ๗๒ วรรคสอง (๒)) หรื อยืน่ คาร้องต่อศาลเพื่อ
พิจารณาแผนการปรับโครงสร้างกิจการ (มาตรา ๖๓)
การปรับใช้กฎหมายในคดีลม้ ละลาย
ตามพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลล้มละลาย ฯ มาตรา ๑๔ บัญญัติวา่
นอกจากที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี กระบวนพิจารณาในศาล
ล้มละลายให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย และข้อกาหนดตาม
มาตรา ๑๙ ในกรณี ที่ไม่มีบทบัญญัติและข้อกาหนดดังกล่าว ให้นา
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรื อประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรื อกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลแขวง
และวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง แล้วแต่กรณี มาใช้บงั คับโดย
อนุโลม
การปรับใช้กฎหมายมี ๕ ลาดับ ได้แก่
ลาดับที่ ๑ กฎหมายว่ าด้ วยล้ มละลาย ได้แก่ พระราชบัญญัติจดั ตั้งศาล
ล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีลม้ ละลาย พ.ศ.๒๕๔๒ และส่ วนว่าด้วย
ล้มละลายตามกฎหมายอื่นๆ เช่น พระราชกาหนดการกูย้ มื เงินที่เป็ นการ
ฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๗ พระราชกาหนดบรรษัทบริ หาร
สิ นทรัพย์ไทย พ.ศ. ๒๕๔๔
คาพิพากษาฎีกาที่ ๙๕๒๘/๒๕๔๔ การทราบนัดพิจารณาตามพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลล้มละลาย ฯ มาตรา๑๕ บัญญัติไว้โดยเฉพาะแล้ว จึงไม่นาป.
วิ.พ. มาตรา ๑๔๐(๓) มาใช้บงั คับ
ลาดับที่สอง พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.๒๔๘๓ ซึ่งแบ่งออกได้เป็ น
สองส่ วน คือ ส่ วนที่วา่ ด้วยคดีลม้ ละลายและคดีฟ้ื นฟูกิจการของลูกหนี้
และความรับผิดทางอาญาตามหมวด ๓/๑ ส่ วนที่ ๑๓ และหมวด ๗ ส่ วนที่
๒ ดังนั้น ถ้ากฎหมายในส่ วนที่วา่ ด้วยคดีฟ้ื นฟูกิจการของลูกหนี้ไม่ได้
บัญญัติไว้โดยเฉพาะ ตามบัญญัติมาตรา ๙๐/๒ วรรคสอง ให้นาบทบัญญัติ
ส่ วนล้มละลายมาใช้บงั คับได้โดยอนุโลม
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๑๗/๒๕๔๕ วิธีการประชุมเจ้าหนี้เพื่อพิจารณาแผน
ฟื้ นฟูกิจการนั้น ตามพระราชบัญญัติลม้ ละลาย ฯ หมวด ๓/๑ ว่าด้วย
กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้ มิได้บญั ญัติไว้
โดยเฉพาะ กรณี จึงต้องนาพระราชบัญญัติลม้ ละลาย ฯ หมวด ๑ ส่ วนที่ ๓
ว่าด้วยการประชุมเจ้าหนี้มาใช้บงั คับโดยอนุโลมตามมาตรา ๙๐/๒ วรรค
สอง
ลาดับที่สาม ข้ อกาหนดคดีล้มละลาย ปัจจุบนั ได้แก่ ข้อกาหนดคดี
ล้มละลาย พ.ศ. ๒๕๔๙
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๑๗/๒๕๔๕ ข้อกาหนดคดีลม้ ละลาย พ.ศ.
๒๕๔๒ ว่าด้วยรายการในคาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลล้มละลาย ข้อ
๒๔ กาหนดไว้วา่ คาพิพากษาหรื อคาสัง่ ของศาลล้มละลาย... จะไม่
กล่าวหรื อแสดงรายละเอียด... ทางนาสื บของคู่ความก็ได้ตามความ
เหมาะสมฯ เช่นนี้ เมื่อมีขอ้ กาหนดคดีลม้ ละลายกาหนดเรื่ องรายการ
ในคาพิพากษาไว้แล้ว กรณี จึงไม่ตอ้ งนาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง มาตรา ๑๔๑ (๔) มาใช้โดยอนุโลมอีก (ปัจจุบนั ได้แก่
ข้อกาหนดคดีลม้ ละลาย พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้อ ๒๕ )
ลาดับที่สี่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ ง ในกรณี ที่ไม่มีกฎหมาย
ว่าด้วยล้มละลายลาดับที่หนึ่งถึงที่สามแล้ว ให้นาประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่งมาใช้โดยอนุโลม ตาม พระราชบัญญัติจดั ตั้งศาล
ล้มละลาย ฯ มาตรา ๑๔, ๒๘
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๘๗๘/๒๕๔๔ เมื่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นข้ออ้างใน
ช่องทางที่จะฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้ในคดีน้ ีแตกต่างจากคดีก่อน การ
รับคาร้องขอฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้ซ่ ึงผูร้ ้องขอได้ยนื่ ไว้พิจารณาจึงไม่
เป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณาซ้ าตามป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๔
ประกอบด้วยพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลล้มละลาย ฯ มาตรา ๑๔
ลาดับที่หา้ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายว่ าด้ วย
การจัดตั้งศาลแขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง
ปัจจุบนั มีการดาเนินกระบวนพิจารณาคดีอาญาในศาลล้มละลายได้
ตามพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีลม้ ละลาย
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘ กฎหมายจึงเปิ ดช่องให้นาประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาล
แขวงและวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใช้ได้โดยอนุโลม
หลักเกณฑ์การยืน่ คาร้องขอฟื้ นฟูกิจการ
(๑) ลูกหนี้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๙๐/๓ และไม่ตอ้ งห้ามตามมาตรา ๙๐/๕
๑.๑ ลูกหนี้มีซ่ ึงมีหนี้สินล้นพ้นตัวและเป็ นหนี้เจ้าหนี้(คนเดียวหรื อ
หลายคน)เป็ นจานวนแน่นอน ไม่นอ้ ยกว่าสิ บล้านบาท ไม่วา่ หนี้น้ นั
จะถึงกาหนดชาระโดยพลันหรื อในอนาคตก็ตาม
๑.๒ มีเหตุอนั สมควรและมีช่องทางที่จะฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้ได้
- เหตุอันสมควร เช่น เป็ นประโยชน์ต่อส่ วนรวม (เจ้าหนี้ คนงาน
สาธารณะ) และลูกหนีส้ ุ จริต
- มีช่องทางที่จะฟื ้ นฟูกิจการ เช่น ธุรกิจของลูกหนี้ยงั มีศกั ยภาพ
สามารถดาเนินต่อไปได้
๑.๓ ลูกหนี้ยงั ไม่มีคาสัง่ ของศาลให้พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด และลูกหนี้ยงั
มิได้เลิกหรื อถูกเพิกถอนทะเบียนนิติบุคคล (มาตรา ๙๐/๕)
(๒) ผู้ยนื่ คาร้ องขอฟื้ นฟูกจิ การมีคุณสมบัตดิ ังนี้
๒.๑ ผู้ร้องขอยืน
่ คาร้ องขอโดยสุ จริต (มาตรา ๙๐/๑๐) เช่น ยืน่ คาร้องขอ
ด้วยเจตนาฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้อย่างแท้จริ ง มิใช่ตอ้ งการหลบเลี่ยง
การชาระหนี้หรื อต้องการกลัน่ แกล้งลูกหนี้
๒.๒ ต้ องเป็ นบุคคลดังต่ อไปนี้ (มาตรา ๙๐/๔)
๒.๒.๑ เจ้ าหนี ้ (คนเดียวหรื อหลายคนรวมกัน) ซึ่งมีจานวนหนี้
แน่นอนไม่นอ้ ยกว่าสิ บล้านบาท
๒.๒.๒ ลูกหนี ้ ซึ่งมีลกั ษณะตามมาตรา ๙๐/๓
(แต่ กรณี ลูกหนี้ตามมาตรา ๙๐/๔ (๓) (๔) (๕) (๖) เจ้าหนี้หรื อ
ลูกหนี้ผรู ้ ้องขอต้องได้รับความยินยอมเป็ นหนังสื อจากหน่วยงานของ
รัฐที่กากับดูแลลูกหนี้ก่อน ตามมาตรา ๙๐/๔ วรรคสอง)
๒.๒.๓ หน่ วยงำนของรั ฐ ทีม่ ีหน้ าทีก่ ากับดูแลลูกหนีซ้ ึ่งเป็ นนิติบุคคล
ทั้งนีล้ ูกหนีแ้ ละหน่ วยงานของรัฐให้ เป็ นไปตามทีก่ ฎหมายกาหนดไว้
ได้ แก่
- ธนาคารแห่งประเทศไทย ในกรณี ที่ลูกหนี้ตาม (๒) เป็ นธนาคาร
พาณิ ชย์ บริ ษทั เงินทุน บริ ษทั เงินทุนหลักทรัพย์ หรื อบริ ษทั
เครดิตฟองซิเอร์
-สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ใน
กรณี ที่ลูกหนี้ตาม (๒) เป็ นบริ ษทั หลักทรัพย์
- กรมการประกันภัย ในกรณี ที่ลูกหนี้ตาม (๒) เป็ นบริ ษทั ประกัน
วินาศภัยหรื อบริ ษทั ประกันชีวิต
- หน่วยงานของรัฐประเภทอื่นๆ ตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง
ปัจจุบนั มีกฎกระทรวงฯ พ.ศ. ๒๕๕๗ กาหนดให้ “สหกรณ์เครดิตยู
เนี่ยน” เป็ นลูกหนี้ ตามบทนิยามนิติบุคคลอื่นตามมาตรา ๙๐/๑ และให้
“กรมส่ งเสริ มสหกรณ์” เป็ นหน่วยงานของรัฐที่กากับดูแล ตามมาตรา
๙๐/๔ วรรคหนึ่ง (๖)
กรณีที่ศาลจะอนุญาตให้ฟ้ื นฟูกิจการได้
(๑) หากไม่มีผคู ้ ดั ค้านคาร้องขอ ถ้าศาลเห็นสมควรจะงดการไต่สวน
และมีคาสัง่ อนุญาตให้ฟ้ื นฟูกิจการทันทีกไ็ ด้
(๒) กรณี มีการไต่สวน ศาลจะอนุญาตให้ฟ้ื นฟูกิจการได้กต็ ่อเมื่อ
๒.๑ ไต่สวนได้ความจริ งตามมาตรา ๙๐/๓ และ
๒.๒ มีเหตุอนั สมควรที่จะฟื้ นฟูกิจการ
๒.๓ ทั้งผูร้ ้องขอยืน่ คาร้องขอโดยสุ จริ ต (มาตรา ๙๐/๑๐)
สภำวะพักกำรบังคับชำระหนี้ [Automatic Stay]

นับแต่วนั ที่ศาลมีคาสัง่ รับคาร้องขอฯ จนถึงวันครบกาหนดเวลาดาเนินการตาม
แผน วันที่ดาเนินการเป็ นผลสาเร็ จตามแผน วันที่ศาลมีคาสั่งยกคาร้องขอ
จาหน่ายคดี ยกเลิกคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ หรื อให้พิทกั ษ์
ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาดแล้วแต่กรณี กิจการของลูกหนี้ได้รับการคุม้ ครองตาม
กฎหมายดังต่อไปนี้... (มาตรา ๙๐/๑๒)
(๔) ห้ามมิให้ฟ้องลูกหนี้เป็ นคดีแพ่งเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ หรื อเสนอ
ข้อพิพาท...ให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาด ถ้ามูลแห่งหนี้น้ นั เกิดขึ้นก่ อนวันที่ศาลมี
คาสั่งเห็นชอบด้วยแผน และห้ามมิให้ฟ้องลูกหนี้เป็ นคดีลม้ ละลาย (ในกรณี ที่มี
การฟ้ องคดีหรื อเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาดแล้ว ให้งดการ
พิจารณาไว้ เว้นแต่ศาลที่รับคาร้องขอจะมีคาสั่งเป็ นอย่างอื่น)
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๑๙๕/๒๕๔๙
เมื่อมูลหนีล้ ะเมิดเกิดขึน้ หลังจากศาลมีคาสั่ งเห็นชอบด้ วยแผน และ
แผนมิได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น โจทก์ยอ่ มมีสิทธิฟ้องจาเลยที่ ๒ ซึ่ง
เป็ นนายจ้างของจาเลยที่ ๑ เป็ นคดีแพ่งต่อศาลชั้นต้นที่มีเขตอานาจ
โดยไม่ตอ้ งขอรับชาระหนี้ในการฟื้ นฟูกิจการตามมาตรา ๙๐/๖๒ และ
ไม่ ต้องห้ ามมิให้ ฟ้องจาเลยที่ ๒ ตาม มาตรา ๙๐/๑๒ (๔) ศาลฎีกาจึง
พิพากษากลับ ให้ศาลชั้นต้นรับฟ้ องโจทก์สาหรับจาเลยที่ ๒ ไว้
พิจารณาตาม พ.ร.บ.ล้มละลายฯ มาตรา ๙๐/๖๒
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๑๒๘๕/๒๕๕๔
เมื่อศาลล้มละลายกลางมีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการของจาเลยและตั้ง
จาเลยเป็ นผูท้ าแผนแล้วหลังวันที่โจทก์ยนื่ ฟ้ องคดีแพ่งนี้ ย่อมมีผลต้อง
บังคับตาม พ.ร.บ.ล้มละลาย ฯ มาตรา ๙๐/๑๒ (๔) ที่ศาลที่พิจารณาคดี
แพ่งต้องงดการพิจารณาไว้ แต่มิใช่กรณี ที่จะสัง่ จาหน่ายคดีตาม พ.ร.บ.
จัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศฯ มาตรา
๒๖ ประกอบ ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๒ จึงให้งดการพิจารณาคดีแพ่งนั้นไว้
และให้จาหน่ายคดีชวั่ คราว จนกว่าจะมีเหตุให้ดาเนินคดีน้ ีต่อไปได้
ตามกฎหมายและโจทก์ร้องขอให้ยกคดีข้ ึนพิจารณาต่อไป ทั้งให้
โจทก์นาเงินค่าขึ้นศาลตามจานวนที่รับคืนไปมาชาระต่อศาล
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๕๔๙/๒๕๕๔
มูลหนี้ที่โจทก์ฟ้องเป็ นคดีแพ่งเรี ยกค่าเสี ยหายจากการถูกจาเลยเลิก
จ้างที่ไม่เป็ นธรรม เป็ นมูลหนี้ที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่ศาลมีคาสัง่ ให้
ฟื้ นฟูกิจการแต่ก่อนวันที่ศาลเห็นชอบด้วยแผน เมื่อไม่ปรากฏว่าหนี้
ส่ วนนี้ได้กาหนดไว้ในแผนเป็ นอย่างอื่น โจทก์ยอ่ มสามารถฟ้ องร้อง
เป็ นคดีแพ่งได้ โดยอยูภ่ ายใต้ขอ้ บังคับของ พ.ร.บ. ล้มละลาย ฯ มาตรา
๙๐/๑๒ (๔) (๕) และ ๙๐/๑๓ ทั้งมูลหนี้คดีน้ ีมิได้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาล
มีคาสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ จึงมิใช่หนี้ซ่ ึงอาจขอรับชาระหนี้ในการฟื้ นฟู
กิจการได้ จาเลยไม่หลุดพ้นจากหนี้ดงั กล่าว ตาม พ.ร.บ. ล้มละลาย
มาตรา ๙๐/๗๕ และเมื่อต่อมาศาลมีคาสัง่ ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการแล้ว
กรณี จึงมีเหตุสมควรที่จะยกคดีโจทก์ข้ ึนพิจารณาใหม่ได้
(๕) ห้ามมิให้เจ้าหนี้ตามคาพิพากษาบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของ
ลูกหนี้ ถ้ามูลแห่งหนี้เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคาสัง่ เห็นชอบด้วยแผน
(ในกรณี มีการบังคับคดีไว้แล้ว ให้งดการบังคับคดีไว้ เว้นแต่ศาลที่
รับคาร้องขอจะมีคาสัง่ เป็ นอย่างอื่น)
(๖.) ห้ามมิให้เจ้าหนี้มีประกัน บังคับชาระหนี้หลักประกัน เว้นแต่
ได้รับอนุญาตจากศาลที่รับคาร้องขอ
(๗) ห้ามมิให้เจ้าหนี้ซ่ ึงบังคับชาระหนี้ได้เองตามกฎหมาย ยึด
ทรัพย์สินหรื อขายทรัพย์สินของลูกหนี้
- คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๒๗๒/๒๕๔๘
ศาลฎีกามีคาพิพากษาไม่เห็นชอบด้วยแผนและให้ยกเลิกคาสัง่
ให้ฟ้ื นฟูกิจการย่อมทาให้สภาวะพักการชาระหนี้ยอ่ มสิ้ นสุ ดลง ข้อ
ห้ามมิให้จาเลยซึ่งเป็ นเจ้าหนี้ที่บงั คับชาระหนี้ได้เองตามมาตรา ๙๐/
๑๒ (๗) ย่อมสิ้ นสุ ดลงด้วย เมื่อโจทก์มีหนี้ภาษีอากรค้างที่ตอ้ งชาระ
แก่จาเลยอยู่ จาเลยย่อมมีอานาจบังคับชาระหนี้ที่คา้ งชาระตามอานาจที่
มีอยูต่ าม ป. รัษฎากร ต่อไป
โดยผลคาพิพากษาศาลฎีกาย่อมทาให้สิทธิของโจทก์ที่จะ
เรี ยกร้องขอให้ศาลบังคับให้จาเลยถอนการยึดและอายัด และส่ งมอบ
โฉนดที่ดินคืนให้แก่โจทก์เพื่อนาไปจัดการตามแผนฟื้ นฟูกิจการย่อม
เป็ นอันระงับไป