1. กฎหมาย คำสั่ง ระเบียบ ล่าสุดที่เกี่ยวกับสุรา ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง
Download
Report
Transcript 1. กฎหมาย คำสั่ง ระเบียบ ล่าสุดที่เกี่ยวกับสุรา ประกาศกรมสรรพสามิต เรื่อง
หลักกฎหมายเกี่ยวกับ
การจัดเก็บภาษีส ุราและยาสูบ
โดย
วันชัย ตัง้ วิจิตร
สานักกฎหมาย
ขอบเขตการบรรยาย
1. กฎหมาย คาสัง่ ระเบียบ ที่น่าสนใจ
เกี่ยวกับส ุรา
2. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี
ส ุรา
3. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี
ยาสูบ
1. กฎหมาย คาสัง่ ระเบียบ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับส ุรา
– ประกาศกรมสรรพสามิต เรือ่ ง วิธีการ และเงื่อนไขว่าด้วยกรรมวิธีเกี่ยวกับการ
ทาส ุราสาหรับส ุรากลัน่ ชนิดส ุราขาว พ.ศ. 2555 ลว. 21 ธันวาคม 2555
- “การทาส ุรากลัน่ ชนิดส ุราขาว ที่จาหน่ายภายในราชอาณาจักร
ให้มีขนาดของภาชนะบรรจุส ุราขนาด 0.330 ลิตร และขนาด 0.625 ลิตรขึ้นไป”
– ประกาศกรมสรรพสามิต เรือ่ ง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการอน ุญาตให้ทา
และขายส ุรากลัน่ ช ุมชน พ.ศ. 2555 (ฉบับที่ 6) ลว. 21 ธันวาคม 2555
- “ขนาดของภาชนะบรรจุส ุราที่จาหน่ายภายในราชอาณาจักรให้มี
ขนาด 0.330 ลิตร และขนาด 0.625 ลิตรขึ้นไป”
3
1. กฎหมาย คาสัง่ ระเบียบ ล่าส ุดที่เกี่ยวกับส ุรา
– ประกาศกรมสรรพสามิต เรือ่ ง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขว่าด้วยการ
ขออน ุญาต และการออกใบอน ุญาตให้นาส ุราเข้ามาในราชอาณาจักร
(ฉบับที่ 8) ลว. 1 ส.ค.2556 (ต่อ)
แรงแอลกอฮอล์ของส ุราที่นาเข้ามาในราชอาณาจักร จะต้องเป็นไปตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อ ุตสาหกรรมที่กระทรวงอ ุตสาหกรรมประกาศกาหนด เว้นแต่ใน
กรณีที่ดีกรีของส ุราที่นาเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งระบ ุไว้ในฉลากปิดภาชนะบรรจุส ุรา
อาจแตกต่างจากที่ระบ ุไว้ในใบอนญ
ุ าตให้นาส ุราเข้ามาในราชอาณาจักร หรือไม่ตรงกับ
ที่กรมสรรพสามิตได้อนมุ ตั ิฉลากปิดภาชนะบรรจสุ ุราสาหรับส ุราที่จะนาเข้ามาใน
ราชอาณาจักรไว้ ดังนี้
(ก) สูงได้ไม่เกินกว่า 1 ดีกรี
(ข) ต่าได้ไม่เกินกว่า 1 ดีกรี
ทัง้ นี้ ให้ใช้มาตรฐานวัดแรงแอลกอฮอล์ของส ุราโดยเครือ่ งมือวัดแรง
แอลกอฮอล์ที่อ ุณหภ ูมิ 20 องศาเซลเชียส
4
2. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีส ุรา
คานิยาม ลักษณะสินค้า
“ส ุรา” หมายความรวมถึงวัตถ ุทัง้ หลายหรือของผสมที่มี
แอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้าส ุรา หรือซึ่งดื่มกิน
ไม่ได้แต่เมื่อได้ผสมกับน้าหรือของเหลวอย่างอื่นแล้วสามารถดื่มกิน
ได้เช่นเดียวกับน้าส ุรา (พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493 มาตรา 4)
“ส ุรา” ตามความหมายของพจนาน ุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ.2542 หมายความว่า เหล้า,น้าเมาที่ได้จากการกลัน่
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
การใช้ส ุราทาของสิ่งหนึ่งสิ่งใด
มาตรา 12 ห้ามมิให้ผใ้ ู ดใช้ส ุราทาของสิ่งหนึ่งสิ่งใดตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวงเพื่อการค้า เว้นแต่จะได้รบั ใบอน ุญาตจากเจ้าพนักงาน
บทบัญญัติในมาตรานี้มิให้ใช้บงั คับแก่การใช้ส ุราในการปร ุงยา
ตามคาสัง่ ของแพทย์
(บรรดาสิ่งของที่ใช้ส ุราทาขึ้นเพื่อการค้า ซึ่งต้องได้รบั อนุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิตตาม
มาตรา 12 มีดงั นี้
(1) น้าหอมต่าง ๆ
(2) หัวน้าเชื้อต่าง ๆ
(3) น้ายารักษาโรคต่าง ๆ
(กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2493)
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
การนาส ุราเข้ามาในราชอาณาจักร
มาตรา 6 ห้ามมิให้ผใ้ ู ดนาส ุราเกินกว่าหนึ่งลิตรเข้ามาใน
ราชอาณาจักร เว้นแต่จะได้รบั อน ุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต
การนาส ุราเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อเป็นตัวอย่างสินค้าหรือ
มิใช่เพื่อการค้า อธิบดีมีอานาจผ่อนผันให้นาเข้ามาได้ตามจานวนและ
ทางศ ุลกากรที่อธิบดีประกาศกาหนดในราชกิจจาน ุเบกษา โดยไม่ตอ้ ง
ขอรับใบอน ุญาต
บทบัญญัติในมาตรานี้ มิให้ใช้บงั คับแก่ผท้ ู าการตามหน้าที่
ผูข้ นส่งโดยส ุจริต
โทษ มาตรา 35
- ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
การนาส ุราเข้ามาในราชอาณาจักร
อธิบดีออกประกาศผ่อนผันให้สามารถนาส ุราเข้ามาใน
ราชอาณาจักรได้ในบางกรณีโดยไม่ตอ้ งขอใบอน ุญาตนาเข้า คือ
1. กรณีนาเข้าส ุราไม่เกิน 10 ลิตร เพื่อเป็นตัวอย่างสินค้า หรือมิใช่
เพื่อการค้าที่นาเข้ามาทางด่านศ ุลกากรในเขตกร ุงเทพมหานคร หรือในกรณี
นาติดตัวเข้ามา ทางด่านศ ุลกากรดังต่อไปนี้
(1) ด่านศ ุลกากรท่าอากาศยานเชียงใหม่
(2) ด่านศ ุลกากรท่าอากาศยานภเู ก็ต
(3) ด่านศ ุลกากรท่าอากาศยานหาดใหญ่ จ.สงขลา
(4) ด่านศ ุลกากรสะเดา จ.สงขลา
(5) ด่านศ ุลกากรปาดังเบซาร์ จ.สงขลา
(6) ด่านศ ุลกากรส ุไหง-โกลก จ.นราธิวาส
(7) ด่านศ ุลกากรที่ตงั้ อยูใ่ นสนามบินส ุวรรณถูมิ
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
การขนส ุรา (มาตรา 13 14 และ 16)
มาตรา 13 ห้ามมิให้ผใ้ ู ดทาการขนส ุราที่ยงั ไม่เสียภาษีโดย
ถูกต้องออกจากโรงงานส ุรา เว้นแต่จะได้รบั ใบอน ุญาตจากอธิบดี
โทษ ม.39
- จาค ุก ไม่เกิน 1 ปี หรือ
- ปรับไม่เกิน 4 เท่า ของค่าภาษีส ุรา (ไม่นอ้ ยกว่า 20,000 บาท)
หรือ
- ทัง้ จาทัง้ ปรับ
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
การขนส ุรา (มาตรา 13 14 และ 16)
มาตรา14 ห้ามมิให้ผใ้ ู ดทาการขนส ุราตัง้ แต่ 10 ลิตรขึ้นไป
เว้นแต่
- ได้รบั ใบอน ุญาตขนส ุราจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต
- สาหรับกรณีขนส ุราที่นาเข้ามาในราชอาณาจักรจากเจ้า
พนักงานศ ุลกากร
- เป็นการขนส ุราชนิดที่ได้มีกฎกระทรวงยกเว้นให้ทาการขน
ได้โดยไม่ตอ้ งมีใบอน ุญาตขนส ุรา
* ต้องนาใบขนส ุรากากับไปกับน้าส ุราที่ขนด้วย
โทษ ม.38 ทวิ
- ปรับตามปริมาณน้าส ุราที่ขนในอัตราลิตรละ 10 บาท
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
-
มาตรา 17 ห้ามมิให้ผใ้ ู ดขายส ุราหรือนาส ุราออกแสดงเพื่อขาย
เว้นแต่จะได้รบั ใบอน ุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต
โทษ ม. 40
- ปรับไม่เกิน 2,000 บาท (ถ้าส ุรานัน้ เป็นส ุราที่นาเข้ามาใน
ราชอาณาจักร)
- ปรับไม่เกิน 500 บาท (ถ้าส ุรานัน้ เป็นส ุราที่ทาขึ้นใน
ราชอาณาจักร)
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
มาตรา 19 ใบอน ุญาตขายส ุรามี 7 ประเภทคือ
ประเภทที่ 1 สาหรับการขายส ุราท ุกชนิด ครัง้ หนึ่งเป็นจานวนตัง้ แต่สิบลิตรขึ้นไป
ประเภทที่ 2 สาหรับการขายส ุราที่ทาในราชอาณาจักร ครัง้ หนึ่งเป็นจานวนตัง้ แต่สิบลิตร
ขึ้นไป
ประเภทที่ 3 สาหรับการขายส ุราท ุกชนิด ครัง้ หนึ่งเป็นจานวนต่ากว่าสิบลิตร
ประเภทที่ 4 สาหรับการขายส ุราที่ทาในราชอาณาจักร ครัง้ หนึ่งเป็นจานวนต่ากว่าสิบลิตร
ประเภทที่ 5 สาหรับการขายส ุราท ุกชนิด ครัง้ หนึ่งเป็นจานวนต่ากว่าสิบลิตรเพื่อดื่ม ณ
สถานที่ขายเป็นการชัว่ คราวไม่เกินสิบวัน
ประเภทที่ 6 สาหรับการขายส ุราที่ทาในราชอาณาจักร ครัง้ หนึ่งเป็นจานวนต่ากว่าสิบลิตร
เพื่อดื่ม ณ สถานที่ขายเป็นการชัว่ คราวไม่เกินสิบวัน
ประเภทที่ 7 สาหรับการขายส ุรา ครัง้ หนึ่งเป็นจานวนต่ากว่าสิบลิตร เพื่อดื่ มภายใน
สมาคมหรือสโมสร
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
การออกใบอน ุญาตขายส ุรา
ข้อกาหนดเกี่ยวกับการออกใบอน ุญาตขายส ุรา ป.3 ถึง ป.7
1. สถานที่ขายส ุราต้องไม่ตงั้ อยูใ่ นบริเวณสถานศึกษา
ศาสนสถาน หรือสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง รวมทัง้ บริเวณ
ต่อเนื่องติดกับสถานที่ดงั กล่าว
2. สถานที่ขายส ุราต้องไม่ตงั้ อยูใ่ นบริเวณสถานที่ที่เคยถูกสัง่ เพิก
ถอนใบอน ุญาตขายส ุรา เว้นแต่เวลาได้ลว่ งพ้นมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าห้าปี
3. ผูข้ อรับใบอน ุญาตขายส ุราต้องไม่เคยถูกเพิกถอนใบอน ุญาต
ขายส ุรา เว้นแต่เวลาได้ลว่ งพ้นมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าห้าปี
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
ข้อกาหนดเกี่ยวกับการขายส ุรา
(1) ไม่ขายส ุราให้แก่เด็กที่มีอาย ุต่ากว่า 18 ปีบริบรู ณ์
(2) ไม่ขายส ุราในบริเวณสถานศึกษา ศาสนสถาน
สถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง รวมทัง้ บริเวณต่อเนื่องติดกับ
สถานที่ดงั กล่าว
(3) ไม่ขายส ุราในบริเวณสถานที่ที่เคยถูกสัง่ เพิกถอน
ใบอน ุญาตขายส ุรา เว้นแต่เวลาได้ลว่ งพ้นมาแล้ว
ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
ความหมาย “สถานศึกษา”
“สถานศึกษา” หมายถึง เฉพาะสถานศึกษาที่จดั การศึกษา
ในระบบที่เป็นการศึกษาขัน้ พื้นฐานหรือระดับอ ุดมศึกษา
ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
- โรงเรียนตัง้ แต่ระดับอน ุบาลถึงมัธยมศึกษา
- วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย (ต่ากว่าระดับปริญญาหรือ
ระดับปริญญา)
ไม่รวมถึง สถานศึกษาที่จดั การศึกษานอกระบบ เช่นโรงเรียนกวดวิชา
โรงเรียนสอนขับรถยนต์ หรืออาชีพอื่น
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
ความหมาย “ศาสนสถาน”
“ศาสนสถาน” หมายถึง
- วัดตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ (พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505)
- มัสยิด (พ.ร.บ.การบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540)
- วัดบาทหลวงในศาสนาคริสต์ (พ.ร.บ.ว่าด้วยลักษณะ ฐานะ
ของวัดบาทหลวงโรมันคาทอลิกในกร ุงสยามตามกฎหมาย ร.ศ. 128)
- สถานประกอบศาสนกิจในนิกายศาสนาอื่น (เช่น โบสถ์ในศาสนาคริสต์
นิกายอื่น หรือวัดแขกในศาสนาฮินด ู เป็นต้น)
พระราชบัญญัติส ุรา พ.ศ. 2493
เวลาขายส ุรา
-
- ผูไ้ ด้รบั ใบอน ุญาตขายส ุราประเภทที่ 3 หรือประเภทที่ 4
จะขายส ุราได้แต่เฉพาะภายในเวลาที่กาหนดในกฎกระทรวง
-(ตัง
้ แต่ 11.00 นาฬิกา ถึง 14.00 นาฬิกา และตัง้ แต่เวลา 17.00
นาฬิกา ถึง 24.00 นาฬิกา )
-
โทษ ม.41 ปรับไม่เกิน 50 บาท
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
“ต้นยาสูบ” หมายความว่า พืชนิโคเชียนาทาแบกกม้ ุ
(NICOTIANATABACUM)
“พันธย์ ุ าสูบพื้นเมือง” หมายความว่า ต้นยาสูบที่ปล ูกในประเทศไทย
มาแต่ดงั้ เดิม และเมื่อบ่มด้วยแดดแล้วใบเป็นสีน้าตาล
“ใบยา”
หมายความว่า ใบยาสดหรือใบยาแห้งของต้นยาสูบ
“ยาอัด” หมายความว่า ส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นยาสูบซึ่งได้ป่นหรือ
ย่อยและทาเป็นแผ่นโดยมีวตั ถ ุอื่นเจือปนด้วยหรือไม่ก็ตาม
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
“ยาเส้น” หมายความว่า ใบยาหรือยาอัดซึ่งได้หนั่ เป็นเส้นและแห้งแล้ว
“ยาสูบ” หมายความว่า บ ุหรีซ่ ิกาแรต บ ุหรีซ่ ิการ์ บ ุหรีอ่ ื่น ยาเส้นปร ุง
และให้รวมตลอดถึงยาเคี้ยวด้วย
“บ ุหรีซ่ ิกาแรต” หมายความว่า ยาเส้นหรือยาเส้นปร ุง ไม่ว่าจะมีใบยา
แห้งหรือยาอัดเจือปนหรือไม่ ซึ่งมวนด้วยกระดาษหรือวัตถ ุ
ที่ทาขึ้นใช้แทนกระดาษ หรือใบยาแห้งหรือยาอัด
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
“บ ุหรีซ่ ิการ์” หมายความว่า ใบยาแห้งหรือยาอัด ซึ่งมวนด้วยใบยาแห้ง
หรือยาอัด
“บ ุหรีอ่ ื่น”
หมายความว่า ยาเส้นหรือยาเส้นปร ุง ซึ่งมวนด้วยใบตอง
กลีบบัว กาบหมาก ใบมะกา ใบจาก หรือวัตถ ุอื่นที่มิใช่
กระดาษหรือวัตถ ุที่ทาขึ้นใช้แทนกระดาษและที่มิใช่ใบยาแห้ง
หรือยาอัด
“ยาเส้นปร ุง” หมายความว่า ใบยาซึ่งมิใช่ใบยาพันธย์ ุ าสูบพื้นเมือง
หรือยาอัด ซึ่งได้หนั่ เป็นเส้นและปร ุงหรือปนด้วยวัตถ ุอื่น
นอกจากน้า
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
“ยาเคี้ยว” หมายความว่า ส่วนใดส่วนหนึ่งของใบยาแห้งนอกจากใบยา
แห้งพันธย์ ุ าสูบพื้นเมือง ซึ่งได้ปร ุงหรือปนด้วยวัตถ ุอื่น
นอกจากน้าเพื่ออมหรือเคี้ยว
“แสตมป์ ยาสูบ” หมายความรวมตลอดถึงเครือ่ งหมายอย่างอื่น
ที่ใช้แทนแสตมป์ ยาสูบ
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
ประเภทของใบอน ุญาตขายยาเส้นและยาสูบ
ยาเส้น
ประเภท 1 ขายโดยไม่จากัดจานวน
ประเภท 2 ขายครัง้ ละไม่เกินน้าหนัก 2 กิโลกรัม
ประเภท 3 ผูเ้ พาะปล ูกต้นยาสูบขายยาเส้นที่ทาจากใบยา
ที่ปล ูกเอง
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
ประเภทของใบอน ุญาตขายยาเส้นและยาสูบ (ต่อ)
ยาสูบ
ประเภท 1 ขายโดยไม่จากัดจานวน
ประเภท 2 ขายครัง้ ละไม่เกิน 20,000 มวน ถ้าเป็นยาเส้นปร ุง
หรือยาเคี้ยว ครัง้ ละไม่เกิน 10 กิโลกรัม
ประเภท 3 ขายครัง้ ละไม่เกิน 1,000 มวน ถ้าเป็นยาเส้นปร ุง
หรือยาเคี้ยว ครัง้ ละไม่เกิน 200 กรัม
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
สถานที่ที่จะขออน ุญาตขายยาสูบชนิดบ ุหรีซ่ ิกาแรต
1. ต้องไม่ตงั้ อยูใ่ นบริเวณสถานศึกษาและให้รวมตลอดถึงบริเวณ
ที่ซึ่งใช้สาหรับสถานศึกษานัน้ ด้วย ไม่ว่าจะมีรวั้ ล้อมหรือไม่ก็ตาม รวมทัง้
บริเวณต่อเนื่องติดกับสถานศึกษา
2. ต้องไม่ตงั้ อยูใ่ นบริเวณศาสนสถานและให้รวมตลอดถึงบริเวณ
ที่ซึ่งใช้สาหรับศาสนสถานนัน้ ด้วย ไม่ว่าจะมีรวั้ ล้อมหรือไม่ก็ตาม รวมทัง้
บริเวณต่อเนื่องติดกับศาสนสถาน
3. ต้องไม่ตงั้ อยูใ่ นสถานที่ที่ผไ้ ู ด้รบั ใบอน ุญาตขายยาสูบในสถานที่
นัน้ เคยถูกสัง่ เพิกถอนใบอน ุญาตขายยาสูบชนิดบ ุหรีซ่ ิกาแรต เว้นแต่เวลา
ได้ลว่ งพ้นมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าห้าปี
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
จานวนยาสูบที่นาติดตัวเข้ามาในราชอาณาจักร
- จานวนยาสูบที่นาติดตัวเข้ามาในราชอาณาจักรได้ โดยไม่ตอ้ งขอ
อน ุญาตและไม่ตอ้ งเสียภาษี
1. บ ุหรีซ่ ิกาแรตไม่เกิน 200 มวน
2. บ ุหรีซ่ ิการ์ บ ุหรีอ่ ื่น ยาเส้นปร ุง ยาเคี้ยว ชนิดใดชนิดหนึ่งหรือ
หลายชนิดรวมกันไม่เกิน 500 กรัม แต่ถา้ มีบ ุหรีซ่ ิกาแรตรวมอยูด่ ว้ ย
บ ุหรีซ่ ิกาแรตนัน้ จะต้องไม่เกิน 200 มวน และน้าหนักรวมทัง้ สิ้น
ต้องไม่เกิน 500 กรัม
พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509
การสัง่ พักใช้หรือสัง่ เพิกถอนใบอน ุญาต (ม.33)
- อธิบดีมีอานาจสัง่ พักใช้ใบอน ุญาตมีกาหนดไม่เกิน 6 เดือน
หรือสัง่ เพิกถอนใบอน ุญาต เมื่อปรากฏว่าผูไ้ ด้รบั ใบอน ุญาต
(1) ไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี หรือกฎกระทรวงที่ออกตาม
พระราชบัญญัติน้ ี
(2) ไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่อธิบดีกาหนดตามพระราชบัญญัติน้ ี
(3) ต้องคาพิพากษาถึงที่ส ุดว่าได้กระทาความผิดตาม
พระราชบัญญัติน้ ี
- ผูถ้ กู เพิกถอนใบอน ุญาตจะขอใบอน ุญาตใหม่อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้น
กาหนด 1 ปี นับแต่วนั ที่ได้รบั ทราบคาสัง่
การสูบผ่านเครื่องสูบบาราก ู่
การให้บริการสูบบารากตู่ ามสถานที่ต่างๆขณะนี้มี 2 แบบคือ
1. นาเอาใบไม้ หรือผลไม้ชนิดต่างๆ มาปร ุงแต่ง (ไม่มีสว่ น
ส่วนผสมของใบยาสูบ ยาเส้น หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชนิโคเชียนาทา
แบกกม้ ุ (NICOTIANATBACUM)) เพื่อบริการแก่ล ูกค้าสูบผ่านเครื่อง
บาราก่ ู
2. นาเอาใบยาสูบ ยาเส้น หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชนิโคเชียนา
ทาแบกกม้ ุ (NICOTIANATABACUM) มาปร ุงแต่ง เพื่อบริการแก่ล ูกค้าสูบ
ผ่านเครือ่ งบาราก่ ู
เครื่องสู บบารากู่
เครื่องสูบบาราก ู่
สูบผ่านเครื่องบาราก่ ู