การจัดการสารเคมีอย่างเหมาะสม (Chemical Sound Management)

Download Report

Transcript การจัดการสารเคมีอย่างเหมาะสม (Chemical Sound Management)

การจัดการสารเคมีอย่างเหมาะสม
(Chemical Sound Management)
ดร.นวลศรี ทยาพัชร
ผูท้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการวัตถุอนั ตราย
สารเคมีการเกษตร (Pesticides) :
สารเคมีท่ีใช้ในการควบคุม ป้องกัน กาจัดศัตรูพชช มนุษย
และสัตว รวมทัง้ สารที่ใช้ในการเร่งการเจริญเติบโตของพชช
จุดประสงคหลักของการใช้
เพชอ่ เพิม่ ผลผลิตทางการเกษตรและป้องกันกาจัดโรคภัย
ที่มีสตั วเป็ นพาหะ
การแบ่งแยกชนิดของ pesticides ตามชนิดของศัตรูท่ีจะกาจัด






Acaricide
กาจัด mites, tick และ spider
Algaecide กาจัดสาหร่าย
Avicide กาจัดนก
Bactericide กาจัดเชช้อโรค
Fungicide กาจัดเชช้อรา
Herbicide กาจัดวัชพชช
 Insecticide
 Miticide
 Molluscicide
 Piscicide
 Rodenticide
 Termiticide
 etc.
กาจัดแมลง
กาจัด mite, tick และ spider
กาจัดหอย
กาจัดปลา
กาจัดหนู
กาจัดปลวก, มด
การแบ่งชนิดของ pesticides ตามลักษณะของการกาจัดศัตรูพชช
 Anti-feedant - ยับยัง้ การกินอาหาร ทาให้ขาดอาหารตาย
 Attractant
- ล่อให้ศตั รูพชช เข้ามา
 Repellent
- ขับไล่ศตั รูพชช ออกไป
 Chemosterilant - ศัตรูพชช ไม่สามารถแพร่พนั ธุต่อไปได้
 Defoliant
- ทาให้พชช หยุดเจริญเติบโต ใบร่วง และตาย
 Desiccant
- พชชหรชอสัตวแห้งตาย
การแบ่งชนิดของ pesticides ตามสูตรโครงสร้างทางเคมี
 Organchlorine มี Chlorine เป็ นองคประกอบสาคัญ ส่วนใหญ่สาร
ในกลุ่มนี้ถูกค้นพบมานานเกิน 50 ปี เช่น DDT, Dieldrin เป็ นต้น
Cl
CCl3
CH
Cl 1,1,1-trichloro-2,2p-chloro phenyl ethane
สารในกลุ่มนี้มีความคงสภาพสูงในดิน, นา้ และสะสมเพิม่ ทวีในร่างกายของ
สิง่ มีชวี ิตได้
 Organophosphates สารในกลุ่มนี้เป็ น ester ของ
phosphoric acid (H3 PO4) เป็ นกลุ่มที่มีความเป็ นพิษรุนแรงต่อ
มนุษยและสัตว แต่มกั จะสลายตัวได้เร็ว ปฏิกริ ยิ าความเป็ นพิษเกิดขึ้นจากการยับยัง้
การทางานของ enzyme cholinesterase
CH3O
O
P
CH3O
O–R
ตัวอย่าง เช่น พาราไธออน, มาลาไธออน เป็ นต้ น
 Carbamates สารในกลุ่มนี้เป็ น ester ของ carbamic acid มี
ปฏิกริยาใกล้เคียงกับสารกลุ่ม organophosphates และสลายตัวได้เร็ว
เช่นกัน นอกจากนี้ยงั มีประสิทธิภาพสูงในการกาจัดศัตรูพชช ได้หลายชนิดทัง้ แมลง,
เชช้อรา และวัชพชช จึงมีท่ีใช้แพร่หลายในปั จจุบนั
ตัวอย่าง เช่น methomyl, carbaryl, dithiocarbamates
เป็ นต้น
 Pyrethroids เป็ นสารที่ถูกสังเคราะหขึ้นโดยเลียนแบบสูตรโครงสร้างของ
สาร pyrethrins ซึง่ สกัดจากดอกไพรีทรัม ,มีพษิ น้อยต่อสัตวเลชอดอุ่น
และสัตวเลี้ยงลูกด้วยนม แต่พษิ สูงต่อปลาและผึ้ง และสลายตัวได้เร็วในสิง่ แวดล้อม
เนชอ่ งจากแตกตัวได้โดยรังสี UV
ตัวอย่าง เช่น cypermethrin, permethrin
นอกจากนี้มีสารกลุ่มอชน่ ๆ เช่น Nitrogenous,
Amide, Anilide, Bipyridilium, Sulfonylurea,
Triazine, etc. ซึง่ มีทงั้ สารฆ่าแมลง, สารกาจัดเชช้อรา และ
สารกาจัดวัชพชช
Toxicity
สารเคมีการเกษตรเป็ นพิษและทาให้เกิดอันตรายต่อมนุษย สัตว
และสิง่ แวดล้อม อันตรายเกิดจากการเข้าสู่ร่างกายทัง้ ทางปาก
(oral) ทางลมหายใจ (inhalation) และทางผิวหนัง
(dermal)
พิษและอันตรายเกิดได้ 3 ประเภท คชอ :
 Acute toxicity
(พิษเฉียบพลัน) เมช่อสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
ทาให้เกิดอันตรายภายใน 24 ชม.
 Sub-chronic toxicity (พิษระยะยาว) เมช่อสารพิษ
เข้าสู่ร่างกาย ทาให้เกิดอันตรายภายใน 90 วัน
 Chronic toxicity (พิษเรช้อรัง) เมช่อสารพิษเข้าสู่ร่างกาย
อาจทาให้เกิดอันตรายอย่างเรช้อรังภายในระยะเวลา 1-2 ปี
นอกจากนี้ยงั มีความเป็ นพิษ (toxicity) อชน่ ที่สาคัญ เช่น
 Carcinogenicity - พิษเหนีย่ วนาทาให้เกิดมะเร็ง
 Mutagencity
- พิษเหนีย่ วนาทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลง
พันธุกรรม
 Terratogenicity - พิษเหนีย่ วนาทาให้เกิดการก่อวิรปู
 Developmental toxicity - พิษต่อตัวอ่อนในครรค
คุณสมบัติของ Pesticides ที่ดี
 effective
 stability
 selectivity
- มีประสิทธิภาพในระดับความเข้มข้นตา่ ๆ
- คงตัวได้เหมาะสมกับความต้องการใช้
- เป็ นพิษต่อศัตรูเป้าหมาย ไม่เกิดอันตรายต่อ
แมลงที่เป็ นประโยชน
 cost-effective - ราคายุติธรรม
 non-persistent – ไม่คงสภาพในสิง่ แวดล้อมจนเกิดผล
กระทบและสะสมแบบ biomagnification
การวัดค่าความเป็ นพิษ
LD 50 – mg ของ a.i./kg ของ body weight สัตวทดลอง (mg/kg)
LC 50 - mg ของ a.i. /litre นา้ (mg/L)
IA
IB
II
III
WHO Recommended Classification
of Pesticide by Hazard
LD50 (mg/kg)
oral
dermal
<5
<10
>5-50
>10-100
>50-500
>100-1000
>500
>1000
Pesticide Formulation
สูตรผสมที่ปรุงแต่งขึ้นโดยมีผูผ้ ลิตและ formulators ทัว่ โลก
ปั จจุบนั มีประมาณ 90 สูตร ที่ใช้แพร่หลายสมควรทราบ มีดงั นี้ :
1. สารเข้มข้นผสมนา้ ก่อนใช้
EC - Emulsifiable concentrate สารสาคัญละลาย
อยู่ในนา้ ยาที่ไม่เข้ากับนา้ (non-water miscible solvent) มีตวั
emulsifier อยู่ในส่วนผสมเพชอ่ ให้สารกระจายตัวเมช่อผสมนา้ ก่อนใช้
SC - Suspension concentrate สารสาคัญไม่ละลายนา้ และ
นา้ มัน จึงถูกปั่ นผสมเข้ากับ solid carrier และนา้ ให้เป็ น suspension
พร้อมทัง้ เติม dispersing agent ช่วยกระจายตัวเมช่อผสมนา้ ก่อนใช้
CG - Encapsulated granule เป็ นสูตรที่ประกอบด้วย
granule เล็กๆ ขนาดประมาณ 20-30 micron ภายในบรรจุสารสาคัญ
กระจายตัวอยู่ในส่วนผสมของ wetting agents และนา้ เป็ น suspension
เมช่อผสมนา้ และฉีดพ่น capsule เล็กๆ จะค่อยๆ แตกตัว และ slow release
สาระสาคัญออกมา สูตรนี้ลด phytotoxic และลดสารพิษตกค้างเช่นเดียวกับ
สูตร CS
SL - Encapsulated สารสาคัญละลายนา้ หรชอ alcohol
ทาให้นา้ ยาใสและมีองคประกอบอชน่ เช่น wetting agents สารสาคัญต้องมี
คุณสมบัติคงตัวในนา้ สูตรใกล้เคียงเดียวกัน เช่น SP – water soluble
powder และ SG – water soluble granule
WP - Wettable powder สารสาคัญจะเป็ นผงผสมกับ inert
diluent และผสม wetting agent เพชอ่ ช่วยกระจายตัวและเข้ากับนา้ ได้
การใช้ตอ้ งระวังการตกตะกอน
WG - Wettable granule สารสาคัญจะถูกปรุงแต่งเป็ น
granule ซึง่ ลดการฟุ้งกระจาย และกระจายตัวได้ดเี มช่อผสมนา้ ก่อนใช้
2. สารเข้มข้นผสม organic solvent ก่อนการใช้
ส่วนมากจะเป็ นผลิตภัณฑสาเร็จรูป เช่น spray ฆ่าแมลงใน
บ้านเรชอน เช่น สูตร OL- Oil miscible liquid, OF – Oil
miscible flowable concentrate, OP- dispersible
powder
3. สูตรผสมที่ใช้โดยตรง
GR - Granules ทาจากการ spray สารเข้มข้นลงบนเมล็ด
เล็กๆ ที่ทาจากสารดูดซับ เช่น clay, ทรายหรชอผงอิฐ และคัดแยกให้เป็ นขนาดตาม
ต้องการ เช่นเป็ น mesh ส่วนมากความเข้มข้นมักไม่เกิน 10% เพชอ่ ให้เกิดความ
ปลอดภัยแก่ผูใ้ ช้ และลดการ drift ไปยังพช้นที่ใกล้เคียง
DP - Dustable powder เป็ นผงผสมกับ inert
material ใช้โดยตรง แต่มีขอ้ เสีย ฟุ้งกระจายโดยลมทาให้สญ
ู เสียและอันตราย
ที่เกิดจากการปนเปช้ อน ปั จจุบนั มีท่ีใช้นอ้ ยลง
UL
- Ultra low volume เป็ นนา้ ยาเข้มข้นและ
ต้องใช้เครชอ่ งมชอฉีดพ่นเฉพาะ ปกตินา้ ยาจะมีสารสาคัญเข้มข้นถึง 95-100%
organic solvent จานวนน้อยที่ผสมต้องเป็ น non-volatile
เครชอ่ งฉีดพ่นจะทาให้เกิดละอองละเอียด และขนาดที่ใช้ประมาณ 0.5-5.0
L/hectare ข้อเสียคชอเกิด drift ง่าย
4. กลุ่มอชน่ ๆ ที่สาคัญ ได้แก่
RB - Bait เป็ นสูตรที่ทาเพชอ่ เป็ นเหยชอ่ ล่อให้ศตั รูเข้ามากินภายใน
มีส่วนผสมของสารสาคัญมักไม่เกิน 5%
AE - Aerosol dispenser สารสาคัญจะถูกละลายอยู่ใน
volatile solvent และถูกผลักดันออกเป็ นละออง โดย propellant gas
FAO /WHO Specification
รายงานจาก WHO (2001) พบว่า developing countries
มีสารเคมีเกษตรไม่ได้มาตรฐานถึง 30%
FAO/WHO พัฒนาคุณสมบัติเฉพาะ (Specification) ของ
pesticides เพชอ่ ความปลอดภัยแก่ผูใ้ ช้ ผูบ้ ริโภค และสิง่ แวดล้อม และให้
guidance แก่การควบคุมประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใช้
และการขนส่ง
FAO/WHO Specifications มีความเกีย่ วข้องและได้รบั การ
ยอมรับจากองคกรนานาชาติ เช่น CIPAC, AOAC, ISO, EC,
OECD และ UNIDO
รายการสาคัญที่ระบุใน Specifications ให้มีค่ากาหนด เช่น
1. สาระสาคัญ (Active ingredient) ว่าเป็ นสารใดมีปริมาณเท่าไร
(%a.i.) การตรวจสอบสารสาคัญใช้วิธี CIPAC และ
AOAC เป็ นหลัก ค่าวิเคราะหผันแปรได้ตามข้อกาหนดของ FAO
2. สารเจชอปนหรชอสารปนเปช้ อน (Relevant impurities) อาจมี
ที่มาจาก manufacturing impurities, water
และ insoluble
3. คุณสมบัติทาง Physical และ Physico-chemical ที่
สาคัญต่อการมีประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ เช่น density,
การระเหย, ความหนชด การกระจายตัว,etc.
4. การคงสภาพของผลิตภัณฑ (Storage stability) เมช่อ
อุณหภูมิเปลีย่ นแปลงจากอุณหภูมิตา่ เป็ นอุณหภูมิสงู ถึง 54 °c
เป็ นเวลา 14 วัน สารสาคัญจะต้องไม่เปลีย่ นแปลงเกินกาหนด
รวมทัง้ impurities ไม่ควรเพิม่ ขึ้น
EPA classify ความเป็ นพิษโดยกาหนดจาก formulation
ตัวอย่างเช่น carbofuran LD50(a.i) 8 mg/kg WHO กาหนดให้เป็ น
category IB ถ้าเป็ น Furadan 5% granule
Toxicity ของ formulation = LD50 a.i. X 100
% a.i.ใน formulation
= 8 x 100
5
= 160 mg/kg
EPA กาหนดให้ carbofuran (5 GR) อยู่ใน category II
ความเสีย่ งที่เกิดจากการใช้สาร
ความเสีย่ ง (Risk) คชอโอกาสที่จะเกิดอันตรายจากการรับ
สารเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าทางปาก ผิวหนัง หรชอลมหายใจ ความ
เสีย่ งขึ้นกับ toxicity ของสาร X ระยะเวลาที่ได้รบั
Risk = toxicity X exposure
การบริหารจัดการที่ดจี ะลดความเสีย่ ง (Risk) ได้
เช่น ระบบการขึ้นทะเบียนที่ได้มาตรฐานสากล การกาหนด
ฉลากที่ได้มาตรฐาน รวมทัง้ การตรวจสอบผลิตภัณฑที่
จาหน่ายในท้องตลาดให้ได้คุณภาพตรงตามที่ระบุในฉลาก
เป็ นต้น
Labelling
ข้อมูลที่ดที ่สี ดุ ด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยของวัตถุอนั ตราย
จะถูกบรรจุอยู่ในฉลากปิ ดขวดวัตถุอนั ตราย ฉลากจะถูกตรวจสอบจาก
ราชการก่อนนาไปใช้ เพชอ่ ให้บรรจุเนช้อหาที่เหมาะสมในการแนะนาการ
ใช้อย่างถูกต้อง สิง่ ที่สาคัญที่ควรระบุบนฉลากคชอ :
 Trade name
 Common หรชอ chemical name
 สารสาคัญและวิธีใช้
 สูตรผสมและขนาดบรรจุ
 รายละเอียดของผูผ้ ลิต
 เลขที่ทะเบียน
 คาเตชอน
 อันตรายที่อาจเกิดแก่มนุษย สัตว
 อันตรายต่อสิง่ แวดล้อม
 วิธีแก้พษิ
 คาแนะนาในการเก็บและกาจัดภาชนะและของเหลชอ
 ระยะเก็บเกีย่ ว (PHI)
นอกจากนี้ เพชอ่ ให้ความชัดเจนแก่เกษตรกรที่มีความรูน้ อ้ ย
ฉลากอาจบรรจุ pictogram และแถบสี ให้เกษตรกรเข้าใจ
ถึงระดับความเป็ นพิษของสาร และวิธีป้องกันอันตรายที่
อาจเกิดขึ้นจากการใช้
ปั ญหาสารพิษตกค้างในพชชอาหารเกิดจาก
1.
2.
3.
4.
สารที่ใช้มีการคงสภาพ ไม่สลายตัวง่าย (persistent)
ไม่เก็บเกีย่ วพชชตามระยะเลาเวลาที่เหมาะสม (pre-harvest interval)
ใช้สารบ่อยเกินความจาเป็ นหรชอใช้ในปริมาณสูง
พชชได้รบั สารพิษเพิม่ จากการปนเปช้ อนจากดินหรชอนา้ หรชอจากพช้นที่ใกล้เคียง
ผลกระทบจากปั ญหาสารพิษตกค้าง
1. ถูกปฏิเสธการซช้อจากประเทศผูน้ าเข้า กรณีท่ีสารพิษตกค้างปริมาณสูงเกินค่า
MRL (Maximum Residue Limit)
2. สารพิษตกค้างในปริมาณสูงจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ผูบ้ ริโภคทันที ถ้ามีใน
ปริมาณตา่ อาจสะสมในร่างกายและเกิดพิษเรช้อรัง หรชอเกิดโรคมะเร็งได้
ค่ามาตรฐานความปลอดภัยของสารพิษตกค้าง
(Maximum Residue Limits – MRLs)
คชอ ปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้างมีหน่วยเป็ น mg/kg
ที่อาจตกค้างในพชชอาหารได้โดยเป็ นที่ยอมรับว่าไม่เกิดอันตรายต่อผูบ้ ริโภค
ค่า MRLs ที่ได้รบั การยอมรับจากทัว่ โลก กาหนดโดย Codex
ซึง่ ใช้ขอ้ มูลจากการศึกษา Residue Trial และผ่านการประเมิน
ความเสีย่ งจากการบริโภค (Dietary Risk Assessment) ซึง่ ดาเนินงาน
โดยหน่วยงานของสหประชาชาติ ได้แก่ FAO และ WHO
การดูว่าผูบ้ ริโภคจะมีความเสีย่ งจากการบริโภคสารพิษตกค้างในอาหาร
ดูจากค่า exposure
exposure = food consumptionXresidue
body weight
ค่า exposure ต้องไม่สงู เกินค่า ADI (allowable daily intake)
สารพิษตกค้างในสิง่ แวดล้อม
ดินเป็ นแหล่งใหญ่ท่รี องรับสารพิษภายหลังการใช้ และอาจมีการ
เปลีย่ นแปลงได้โดย






สลายตัวโดยปฏิกริ ยิ าทางเคมี (chemical decomposition)
สลายตัวโดยแสง (photodegradation)
สลายตัวโดยจุลนิ ทรียย่อยสลาย (microbial degradation)
ระเหยสู่บรรยากาศ (volatilization)
เคลชอ่ นย้ายสู่นา้ (run off)
เข้าสู่สง่ิ มีชวี ิต (plant or organism uptake)
ผลกระทบจากสารพิษตกค้างในสิง่ แวดล้อม
 สารพิษตกค้างในบรรยากาศเป็ นอันตรายแก่สง่ิ มีชวี ิตในบริเวณนัน้
และอาจถูกชะล้างโดยนา้ ฝนสู่แหล่งดินและนา้
 สารพิษตกค้างในดินจะถูกดูดซึมเข้าสูพ่ ชช ทาให้ปริมาณในพชชสูงขึ้น
สารกาจัดวัชพชชที่มีการใช้ลงสู่ดนิ โดยตรงจะเคลชอ่ นย้ายลงสูแ่ หล่งนา้ ใต้ดนิ
(ground water) ซึง่ เป็ นแหล่งนา้ บริโภค
 สารพิษตกค้างในนา้ ถ้ามีปริมาณสูงจะเป็ นอันตรายต่อสัตวนา้ ถ้ามีปริมาณตา่
จะสะสมเพิม่ ทวีในสัตวนา้ (bioaccumulate) และอาจเข้าสู่ห่วงโซ่
อาหารจนถึงมนุษยและสัตว
 สารพิษตกค้างในสิง่ แวดล้อมอาจมีอนั ตรายต่อแมลงที่มีประโยชน
และมีผลกระทบต่อสัตวป่ า
แนวทางบริหารจัดการวัตถุอนั ตรายตามกฎหมาย (Legislation)
 Registration
 Licensing
 Labelling
Registration (การขึ้นทะเบียนวัตถุอนั ตราย)
วัตถุประสงคหลักของการขึ้นทะเบียน คชอเพชอ่ ให้แน่ใจว่า
สารที่จะนามาใช้ในประเทศจะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อ ผูใ้ ช้
ผูบ้ ริโภค และสิง่ แวดล้อม มีประสิทธิภาพตรงต่อความต้องการ และ
มีคุณภาพถูกต้องตามฉลาก
ข้อมูลใช้ในการขึ้นทะเบียน :
 คุณสมบัติทางเคมี-ฟิ สิกสของสารสาคัญและผลิตภัณฑ
โดยเฉพาะข้อมูล impurities
 ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดศัตรูพชช
 ความเป็ นพิษต่อสัตวทดลอง
 สารพิษตกค้าง
 ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
 ผลกระทบต่อผูใ้ ช้และผูท้ ่ีสมั ผัส
 การเกิดความต้านทานและการระบาดซา้ ของศัตรูพชช
รายละเอียดของข้อมูลทางพิษวิทยา
 พิษเฉียบพลันทัง้ ทางปาก-หายใจ-ผิวหนัง
 อาการแพ้และระคายเคชอง
 พิษระยะยาว
 พิษที่ทาให้เกิดเป็ นมะเร็ง และการกลายพันธุ
 พิษเรช้อรัง (1-2 ปี )
 ข้อมูลการเกิดอันตรายแก่มนุษย
รายละเอียดในเรชอ่ ง สารพิษตกค้างที่จะต้องนาเสนอ
 ข้อมูลการตกค้างของสารสาคัญ และการสลายตัวหรชอ
เปลีย่ นแปลง
 วิธีการวิเคราะห
 ข้อมูลการตกค้างใน พชช, สัตว และในอาหาร
รายละเอียดในเรชอ่ งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมที่จะต้องนาเสนอ
 การคงสภาพของสารในดิน, นา้ และผลต่อจุลนิ ทรีย ดิน
 การเคลชอ่ นย้ายของสารในดิน, นา้
 ผลต่อสัตวนา้ , สัตวป่ า
 วิธีการจัดการของเสียที่เกิดจากการใช้สาร
Risk Reduction Policy
• Legislative Control
- Registration
- Banning
• Reduction of Pesticide Use
• Alternative Pest Control Measures
- pest resistant crop varieties
- biological control
- cultural management
- botanical pesticides

Introducing GAP
The criteria in relation to whether one chemical
should be banned was proposed as:
1. Extremely hazardous, having acute LD50 < 30 mg/kg
2. Having chronic toxicity such as carcinogenicity,
mutagenicity or terratogenicity
3. Persistent in the environment
4. Bioaccumulate in food-chain
5. Adversely affected non-target species
6. Having toxic impurity in formulated product
7. Residues are found frequently in export commodities
8. Currently was banned in other countries due to health risk
9. Having alternative which proved to be less toxic
• Botanical Pesticides
Neem
Derris
Deplee
Bitter bush Citronella Galanga etc.
Azadirachta indica
Derris elliptica
Piper longum
Euphotorium edoratum
Cymbopogon nardus
Alpinia galanga
Introducing Good Agricultural Practices
GAP in the use of pesticides includes
the officially recommended or nationally
authorized uses of pesticides under actual
conditions necessary for effective and
reliable pest control. It encompasses a
range of levels of pesticide application up
to the highest authorized use, applied in
a manner which leaves a residue which is
the smallest amount practiceable.
Principles of GAP
- follow pesticide label strictly
- select pesticides which are safe for users
and environment-friendly
- observe pre–harvest interval (PHI)
Integrated Pest Management (IPM)
means the careful consideration of all
available pest control techniques and
subsequent integration of appropriate
measures that discourage the development of
pest populations and keep pesticides and
other interventions to levels that are
economically justified and reduce or
minimize risks to human health and the
environment. IPM emphasizes the growth of
a healthy crop with the least possible
disruption to agro ecosystems and encourages
natural pest control mechanisms
นโยบายสาคัญอชน่ ๆ ที่เกีย่ วข้องกับการบริหารจัดการวัตถุอนั ตราย
ของการเกษตร:




National policy on IPM
Alternative control measures
Introduction of reduce risk pesticides
Harmonization regulatory requirement
among region
 Post-registration monitoring
THANK YOU