เอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี

Download Report

Transcript เอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี

แหล่ งข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการชี้บ่งและการประเมิน
ความเสี่ ยงด้ านความปลอดภัยในการทางาน
กับสารเคมี
แหล่งข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการชี้บ่งและการประเมิน
ความเสี่ ยง
ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีแต่ละชนิดที่สาคัญและควรมีไว้
อยูเ่ สมอ ได้แก่ เอกสารข้ อมูลความปลอดภัยของสารเคมี หรื อ
นิยมเรี ยกสั้นๆว่า MSDS (Material Safety Data Sheet) ซึ่งเป็ น
เอกสารรวบรวมข้อมูลเฉพาะของสารเคมีที่ผผู้ ลิตสารเคมีน้ นั
จะต้องจัดทาขึ้นตามกฎหมาย ดังนั้น MSDS จึงเป็ นเอกสารที่
สามารถขอจากผูผ้ ลิตหรื อผูจ้ าหน่ายสารเคมีน้ นั ๆได้โดยตรง
แหล่งข้อมูลที่สะดวกอีกแหล่งหนึ่งได้ แต่มกั
มองข้ามอยูเ่ สมอได้แก่ ฉลากที่ปิดอยูบ่ นภาชนะบรรจุ
สารเคมีชนิดนั้นๆนัน่ เอง ในประเทศอุตสาหกรรมที่พฒั นา
แล้ว จะมีกฎหมายที่ค่อนข้างเข้มงวดสาหรับใช้บงั คับไห้
ผูผ้ ลิตต้องระบุขอ้ มูลต่างๆที่สาคัญโดยย่อเกี่ยวกับสารเคมี
และอันตรายหรื อความเป็ นพิษของสารเคมีชนิดนั้นๆไว้บน
ฉลากที่ปิดอยูท่ ี่บรรจุสารเคมี
ส่ วนแหล่งข้อมูลอื่นๆอาจต้องค้นหาได้จากหนังสื อ
หรื อเอกสารที่มีอยูใ่ นห้องสมุดตามสถาบันการศึกษา หรื อ
หน่วยงานราชการต่างๆที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการค้นหา
ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต
ข้อมูลสาคัญของสารเคมีที่ตอ้ งใช้ปฏิบตั ิงานหรื อต้องจัดเก็บ
ไว้ในสถานที่ทางานมีดงั นี้
1. ชื่อผูผ้ ลิต พร้อมที่อยูแ่ ละหมายเลขโทรศัพท์ วันที่ที่
จัดทาเอกสารหรื อวันที่ที่เปลี่ยนแปลงข้อมูลครั้งล่าสุ ด
2. ชื่อสารเคมี ซึ่งรวมถึงชื่อทางการค้า และชื่อทางเคมี
หมายเลขรหัสสารเคมีตามระบบของ CAS (Chemical
Abstract Service) สาหรับสารเคมีที่เป็ นของผสมจะต้องทราบ
ส่ วนผสมหลักทุกตัว หากเป็ นสารเคมีที่เป็ นชื่อเรี ยกต่างๆกัน
ได้หลายชื่อให้ระบุบชื่ออื่นๆไว้ดว้ ย
3. สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี เช่น จุด
หลอมเหลว จุดเดือด และน้ าหนักโมเลกุลของสารเคมี เป็ นต้น
4. อันตรายทางกายภาพ เช่น การติดไฟ ความว่องไวใน
การทาปฏิกิริยา และอันตรายจากการระเบิด เป็ นต้น
5. ข้อมูลความเป็ นพิษของสารเคมี
6. อันตรายต่อสุ ขภาพ อาการหรื อการบ่งชี้เมื่อได้รับพิษ
ช่องทางการเข้าสู่ ร่างกาย การเป็ นสารก่อมะเร็ ง หรื อสารที่อาจ
ก่อให้เกิดมะเร็ ง
7. วิธีการจัดเก็บและวิธีการใช้งานที่ถูกต้อง
อุปกรณ์ความปลอดภัยที่เหมาะสม และวิธีการควบคุมการ
ใช้งาน
8. การปฐมพยาบาลหรื อการปฏิบตั ิเมื่อเกิดเหตุ
ฉุ กเฉิ น เช่น กรณี ไฟไหม้ หรื อสารเคมีหกเลอะหรื อ
รั่วไหล
9. วิธีการกาจัดสารเคมีที่เหลือใช้หรื อไม่ตอ้ งการ
10. ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการขนส่ งหรื อจัดส่ งที่
เหมาะสม
วิธีอ่านและทาความเข้ าใจข้ อมูลในเอกสาร MSDS
เอกสาร MSDS ที่สมบูรณ์ตามมาตรฐานที่ยอมรับใน
ระดับนานชาติจะมีโครงสร้างและข้อมูลประกอบรวม 16
ส่ วน ข้อมูลในส่ วนที่ 1 ถึง 10 เป็ นข้อมูลที่ตอ้ งมีตาม
ข้อกาหนดของ OSHA (Occupational Safety and Health
Administrations) หรื อ องกรเกี่ยวกับความปลอดภัยและชีวอ
นามัยของประเทศสหรัฐอเมริ กา ข้อมูลในส่ วนที่ 11 ถึง 16
เป็ นข้อมูลที่แนะนาให้บรรจุไว้ในเอกสาร MSDS เพื่อความ
สมบูรณ์
ส่ วนที่ 1 ชื่อสารเคมี ผลิตภัณฑ์ และ ชื่อผู้ผลิต หรือ
ผู้จาหน่ าย
ข้อมูลในส่ วยนี้ประกอบด้วย
- ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ของบริ ษทั ผูผ้ ลิต
หรื อผูจ้ าหน่าย
- วันที่ที่จดั ทาเอกสาร หรื อ วันที่ปรับปรุ งเอกสาร
ครั้งล่าสุ ด
- ชื่อสารเคมี หรื อ ชื่อผลิตภัณฑ์ตามที่ระบุบไว้ใน
ฉลากปิ ดบนภาชนะที่ใช้บรรจุ
- ชื่ออื่นๆที่อาจใช้เรี ยกสารเคมี หรื อผลิตภัณฑ์ชนิดนี้
ได้
ในกรณี ที่สารเคมี หรื อ ผลิตภัณฑ์น้ นั มีคุณภาพหลาย
ระดับหรื อหลายเกรดต้องระบุรายละเอียดของสารเคมีหรื อ
ผลิตภัณฑ์ทุกเกรดไว้ดว้ ย
ผูผ้ ลิต หรื อ ผูจ้ าหน่าย อาจใช้หมาย หรื อ รหัสกากับ
เอกสาร MSDS ไว้ดว้ ยก็ได้เพื่อความสะดวกในการอ้างอิง
นอกเหนือจากการอ้างอิงโดยใช้ชื่อสารเคมี หรื อผลิตภัณฑ์
เพียงอย่างเดียว
ผูผ้ ลิต หรื อ ผูจ้ าหน่าย อาจแจ้งหมายเลขโทรศัพท์สาย
ด่วนฉุ กเฉิ นหรื อที่อยูส่ าหรับติดต่อเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ นเพื่อ
ความสะดวกรวดเร็ วในการติดต่อหากเกิดอุบตั ิเหตุ หรื อเมื่อมี
ความต้องการที่จะได้รับข้อมูลเพิ่มเติมอย่างเร่ งด่วน
ส่ วนที่ 2 ส่ วนประกอบหรือส่ วนผสมของสารเคมีทมี่ ีอยู่
ในผลิตภัณฑ์
ข้อมูลในส่ วยนี้ประกอบด้วย
- รายการของส่ วนผสมที่ระบุเป็ นเปอร์เซ็น หากเป็ น
สารบริ สุทธิ์ หรื อสารเคมีมีที่ไม่มีส่วนผสมอื่นให้ระบุ
ส่ วนผสมเป็ น 100% จะต้องระบุสารเคมีอนั ตรายที่มีปริ มาณ
ส่ วนผสมตั้งแต่ 1%ขึ้นไป หรื อ สารก่อมะเร็ งที่มีปริ มาณ
ส่ วนผสมตั้งแต่ 0.1% ขึ้นไป ไว้ในรายการส่ วนผสมด้วย
- หมายเลข CAS (Chemical Abstract Service) ของ
สารเคมีทุกตัวที่อยูใ่ นส่ วนผสม
- ระดับความเป็ นอันตราย หรื อ ปริ มาณที่จะทาให้เกิด
อันตราย ของสารเคมีทุกตัวที่อยูใ่ นส่ วนผสม
ข้อสาคัญสาหรับรายการส่ วนประกอบ หรื อ ส่ วนผสม
นี้ จะเน้นไปที่ความเป็ นอันตรายของสารเคมีที่ใช้ ดังนั้น
ผูจ้ ดั ทาเอกสาร MSDS จึงควรระบุรายละเอียดสาหรับ
สารเคมีอนั ตรายไว้ทุกตัว ถึงแม้จะไม่เป็ นส่ วนผสมหลักและ
ไม่ได้กาหนดไว้ในกฎหมายเกี่ยวกับข้อมูลบนฉลากก็ตาม
ในกรณี ที่เป็ นส่ วนผสมที่เป็ นความลับทางการค้าไม่
อาจเปิ ดเผยได้ ก็ควรระบุไว้ในข้อมูลส่ วนนี้ดว้ ย โดยเปิ ดเผย
เฉพาะข้อมูลความเป็ นพิษหรื ออันตรายไว้
ส่ วนที่ 3 ข้ อมูลชี้บ่งความเป็ นอันตราย
ข้อมูลชี้บ่งความเป็ นอันตรายนี้จะแยกออกเป็ น 2
ส่ วนย่อย
ในส่ วนแรก จะเป็ นข้อมูลเกี่ยวกับ
- ลักษณะภายนอกโดยทัว่ ไปของสารเคมี หรื อ
ผลิตภัณฑ์
- ข้อมูลทัว่ ไปที่สาคัญสาหรับบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ
ความปลอดภัย หรื อหน่วยกูภ้ ยั ฉุ กเฉิ น จาเป็ นต้องทราบโดย
ย่อ เช่น ผลเฉี ยบพลันที่มีต่อร่ างกาย ความรุ นแรงที่มีต่อ
ปฏิกิริยา ความเป็ นพิษ ฯลฯ เป็ นต้น
- หากเป็ นสารก่อมะเร็ งต้องระบุให้ชดั เจน
ในส่ วนที่สอง จะเป็ นข้อมูลเกี่ยวกับ
- โอกาสที่จะทาให้เกิดความผิดปรกติต่อสุ ขภาพร่ างกาย
- อาการที่จะเกิดขึ้นเมื่อได้รับพิษ
- ช่องทางที่พิษจะเข้าสู่ ร่างกายได้
- พิษเฉี ยบพลันและพิษเรื้ อรังที่จะเกิดขึ้นได้
- การแก้พิษ
ข้อมูลในส่ วนที่สองนี้ อาจเป็ นการอธิ บายเพิ่มเติม
เกี่ยวกับผลการศึกษาหรื อวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นอันตรายที่
พบในสัตว์ทดลอง หรื อความเสี่ ยงในการเป็ นสารก่อมะเร็ ง หรื อ
สารเคมีที่สงสัยว่าจะเป็ นสารก่อมะเร็ ง
ส่ วนที่ 4 การปฐมพยาบาล
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
- วิธีการปฐมพยาบาลและการรักษาเมื่อได้รับสารพิษ
เข้าสู่ ร่างกายโดยช่องทางต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ทุกช่องทาง
- รายชื่อยาแก้พิษหรื อวิธีการรักษาทางการแพทย์ที่
จาเป็ น อาจมีคาอธิ บายเพิ่มเติมในส่ วนที่เป็ นข้อมูลการ
วินิจฉัยและรักษาหากเป็ นข้อมูลที่ได้รับการยอมรับแล้ว
ส่ วนที่ 5 วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดไฟไหม้
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
- ข้อมูลในการดับเพลิงสาหรับเจ้าหน้าที่ หรื อ น่วย
กูภ้ ยั ที่ผา่ นการอบรมมาแล้ว
- สมบัติในการติดไฟหื อการระเบิด เช่น จุดวาบไฟ
อุณหภูมิที่จุดติดไฟได้เอง ขีดจา ( ค่า LEL และ UEL )
- สารเคมีอนั ตรายที่จะเกิดขึ้นเมื่อเกิดการลุกไหม้
หรื อ ไหม้ไฟของสารเคมี
- วัสดุที่เหมาะสมสาหรับใช้ในการดับเพลิง
- วิธีการ หรื อ ข้อควรระวังในการดับเพลิง
- อันตรายอื่นๆอันอาจเกิดขึ้นได้ระหว่างการดับเพลิง
ส่ วนที่ 6 วิธีปฏิบัติเมื่อสารเคมีหกเลอะหรือ
รั่วไหล
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
-ข้อแนะนา หรื อ วิธีการจัดการเมื่อสารเคมีรั่วไหล
สาหรับหน่วยกูภ้ ยั หรื อ ผูช้ านาญเกี่ยวกับการควบคุม
มลพิษ ที่ตอ้ งเข้าควบคุมสถานการในเบื้องต้น
-ข้อแนะนาหรื อวิธีปฏิบตั ิในการอพยพผูท้ ี่อยูใ่ น
บริ เวณใกล้เคียง
- การควบคุมการแพร่ กระจาย และการชาระล้างหรื อ
ทาความสะอาดพื้นที่ที่สารเคมีตกเลอะหรื อรั่วไหล
- ข้อแนะนาโดยทัว่ ไปเพื่อป้ องกันอันตรายต่อ
สุ ขภาพและสภาพแวดล้อมที่ควรทราบ
ส่ วนที่ 7 การใช้ งานและการจัดเก็บ
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
- ข้อแนะนาโดยทัว่ ไปในการใช้งานหรื อการจัดเก็บ
เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดอันตรายต่อผูป้ ฏิบตั ิงานหรื อสภาวะ
แวดล้อม
- วิธีการเก็บที่เหมาะเพื่อป้ องกันไม่ให้ภาชนะบรรจุ
เสี ยหายหรื อเสื่ อมสภาพ
- สารเคมีที่เข้ากันไม่ได้ และ อันตรายที่จะเกิดขึ้นได้
ส่ วนที่ 8 การป้ องกันและการควบคุมการเข้ าสู่ ร่างกาย
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
-อุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันและการควบคุมการเข้าสู่ ร่างกาย
เช่น การระบายอากาศ การควบคุมบริ เวณ การใช้ภาชนะที่
เหมาะสม หรื อ การใช้ตดู้ ูดควันในห้องปฏิบตั ิการระหว่าง
ปฏิบตั ิงาน
- ข้อแนะนาในการจัดการ เช่น การฝึ กอบรม การปิ ด
ฉลาก การติดตั้งเครื่ องมือ หรื ออุปกรณ์เตือนภัย
- อุปกรณ์ป้องกันส่ วนบุคคลที่ควรสวมใส่ เพื่อป้ องกัน
อันตรายระหว่างการปฏิบตั ิงานตามปรกติ หรื อ สาหรับ
หน่วยกูภ้ ยั เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ น
- ระดับหรื อปริ มาณที่ปลอดภัยเมื่อสารเคมีเข้าสู่ ร่างกาย
เช่น ค่า PEL หรื อTLV (หากไม่ได้ระบุไว้ในส่ วนที่ 2)
ส่ วนที่ 9 สมบัติทางกายภาพ
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
-สมบัติทางกายภาพทางเคมี เช่น น้ าหนักโมเลกุล จุดเดือด
จุดเยือกแข็ง จุดหลอมเหลว ความสามารถในการละลาย
ความข้นหนืด ความถ่วงจาเพาะ หรื ออัตราการระเหยเป็ นไอ
เป็ นต้น
-ลักษณะภายนอก กลิ่น สี
ส่ วนที่ 10 ความว่ องไวในการทาปฏิกริ ิยา และความ
เสถียร
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
- ความเสถียรของสารเคมีหรื อความว่องไวในการทา
ปฏิกิริยา
- สารเคมีที่เข้ากันไม่ได้
- สารเคมีที่เกิดขึ้น เมื่อเกิดการสลายตัว
- สภาพแวดล้อมที่ควรหลีกเลี่ยง
ส่ วนที่ 11 ข้ อมูลความเป็ นพิษ
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
- ระดับความรุ นแรงของพิษที่มีต่อสัตว์ทดลอง เช่น ค่า
LD50 ฯลฯ หรื อข้อมูลปั จจุบนั เกี่ยวกับความเป็ นพิษต่อมนุษย์
(ถ้ามี)
- ข้อมูลเกี่ยวกับการเป็ นสารก่อมะเร็ ง สารเป็ นพิษต่อ
ระบบประสาท ความเป็ นพิษต่อระบบสื บพันธุ์ หรื อ สารที่มี
ผลต่อระบบพันธุ์กรรม
ถึงแม้วา่ ข้อมูลดังกล่าวจะเป็ นข้อมูลสาหรับผูช้ านาญ
ทางพิษวิทยาโดยเฉพาะ แต่จะเป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ่าน
เอกสารMSDS เพราะจะทาให้ทราบถึงระดับอันตรายที่จะ
เกิดขึ้นในเบื้องต้น
ส่ วนที่ 12 ข้ อมูลทางนิเวศวิทยา
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
- ผลที่เกิดขึ้นต่อสัตว์น้ า สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง พืช
และจุลินทรี ย ์ ในระยะสั้ยและระยะยาว
- ผลกระทบทางเคมีที่จะเกิดข้น ต่ออากาศ ดิน และน้ า
ข้อมูลเหล่านี้มีความสาคัญต่อการออกแบบระบบบาบัด
น้ าเสี ย และ การควบคุมหรื อการชาระล้างเมื่อเกิดการรั่วไหล
ของสารเคมี
ส่ วนที่ 13 ข้อแนะนาในการกาจัดกาก หรื อ สารเคมีเหลือ
ใช้
ข้อมูลในส่ วนนี้ประกอบด้วย
-การระบุประเภทกากของเสี ยที่จะเกิดขึ้น
-วิธีการกาจัด ข้อกาหนดตามกฎหมาย หรื อ กฎระเบียบ
ของหน่วยงานราชการเกี่ยวกับวิธีการกาจัดสารเคมีที่เหลือใช้
-ทางเลือกในการกาจัด เช่น วิธีการนากลับมาใช้ซ้ า หรื อ
นากลับมาใช้ใหม่
ส่ วนที่ 14 ข้ อมูลเกีย่ วกับการขนส่ ง
- ข้อมูลทัว่ ไปในการขนส่ งสาหรับผูใ้ ช้งาน ผูจ้ าหน่าย ผู ้
จัดส่ ง และ หน่วยกูภ้ ยั หรื อ หน่วยฉุ กเฉิ น
- ข้อมูลที่กาหนดตามกฎหมาย ของแต่ละประเทศ ส่ วน
ใหญ่จะนิยมใช้ตามระบบของกรมการขนส่ งประเทศ
สหรัฐอเมริ กา ที่เรี ยกว่า ระบบ DOT ( Depatment of
Transooration ) ซึ่ งระบุเกี่ยวกับ คาอธิ บายลักษณะของสารเคมี
อันตราย ชื่อของสารเคมีอนั ตราย หมายเลข รหัสและประเภท
ของความเป็ นอันตราย เช่น UN ( United Nation ) เป็ นต้น
ส่ วนที่ 15 ข้ อมูลตามทีก่ ฎหมายบังคับไว้
ข้อมูลในส่ วนนี้ข้ ึนอยูก่ บั กฎหมายของแต่ละประเทศ
ในประเทศอุตสาหกรรมที่เจริ ญแล้วและมีกฎหมายควบคุม
อันตรายที่จะเกิดจากสารเคมีอย่างเข้มงวดมักจะมีขอ้ บังคับ
ต่างๆ เช่น
-ปริ มาณต่าสุ ดที่จะต้องรายงานให้หน่วยงานราชการ
ทราบเมื่อเกิดการรั่วไหล
- ปริ มาณที่สามารถจัดเก็บได้ ณ สถานประกอบการ
- ข้อกาหนดเกี่ยวกับกฎหมายและข้อมูลที่สาธารณชน
พึงทราบ
- รหัสและประเภทขอความเป็ นอันตรายที่กาหนดไว้
ในแต่ละประเทศ เช่น DOT ของประเทศสหรัฐอเมริ กา
WHMIS ของประเทศแคนาดา EINECS ของสหภาพยุโรป
MITI ของประเทศญี่ปุ่น และ NICAS ของประเทศ
ออสเตรเลีย
ส่ วนที่ 16 ข้ อมูลอืน่ ๆ
ข้อมูลในส่ วนนี้อาจประกอบด้วย
- รายชื่อเอกสารอ้างอิง
- รายชื่อแหล่งข้อมูลที่สามารถให้รายละเอียด
เพิม่ เติมได้หากต้องการ
- การจัดระดับความเป็ นอันตรายของสารเคมีต่อ
สุ ขภาพ ความไวไฟ และการเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็ นต้น
ข้ อพึงระวังในการใช้ ข้อมูลจากเอกสาร MSDS
เนื่องจากข้อมูลที่ปรากฏในเอกสาร MSDS ส่ วนใหญ่
จะเป็ นข้อมูลที่ผผู้ ลิตต้องสื บค้นหรื ออ้างอิงมาจากเอกสารอื่น
อีกต่อหนึ่ง ดังนั้น คุณภาพของข้อมูลในเอกสาร MSDS ที่มา
จากผูผ้ ลิตสารเคมีต่างๆ กันมักจะแตกต่างกันตามระดับความ
รับผิดชอบของผูผ้ ลิตที่มีต่อสารธารณชน เป็ นการยากที่จะพบ
เอกสาร MSDS
ที่ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับความเป็ นอันตรายของสารเคมีได้อย่าง
ครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนั้นในการนาเอกสาร MSDS ของ
สารเคมีชนิดเดียวกันที่ผลิตโดยผูผ้ ลิตต่างรายกันมา
เปรี ยบเทียบกัน จะเป็ นการยืนยันความถูกต้องของข้อมูล
และเป็ นวิธีการรวบรวมข้อมูลที่จาเป็ นให้ครบถ้วน
ได้มากขึ้นอีกวิธีหนึ่ง
การนาข้อมูลใดๆ จากเอกสาร MSDS ไปใช้งาน
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการประเมินความเสี่ ยงในการทางานกับ
สารเคมี ควรพึงระวังเกี่ยวกับความถูกต้องสมบูรณ์ของ
ข้อมูลที่ปรากฏอยูใ่ นเอกสารเป็ นลาดับแรก ข้อผิดพลาดที่มกั
พบได้เสมอในเอกสาร MSDS ที่จะแสดงให้เห็นว่าการจัดทา
เอกสาร MSDS อาจมีความบกพร่ องและไม่สมบูรณ์ พอสรุ ป
ได้ ดังนี้
1.ไม่ได้ระบุ หรื อ ระบุขอ้ ผิดพลาดเกี่ยวกับอันตรายที่
จะเกิดกับอวัยวะสาคัญในร่ างกายหากได้รับสารพิษเข้าไป
มากเป็ นพิเศษ เช่น การสะสมหรื อออกฤทธิ์ ทาลาย ตับ ไต
ปอด และ ระบบประสาทส่ วนกลาง เป็ นต้น ความผิดพลาดนี้
พบว่าเป็ นสาเหตุของการเกิดอันตรายในระดับเสี ยชีวติ มาแล้ว
เนื่องจากข้อมูลสาหรับการวินิจฉัยทางการแพทย์ไม่ครบถ้วน
หรื อไม่
2.ข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์เกี่ยวกับระดับและปริ มาณที่เป็ น
พิษของสารเคมี เช่น ในเอกสาร MSDS ระบุค่า PEL หรื อ
ปริ มาณของสารเคมีที่ผปู ้ ฏิบตั ิงานจะสัมผัสกับสารเคมีน้ นั
ได้อย่าปลอดภัย ( มีค่า 100 ส่ วนในล้าน ) แต่ไม่ได้ระบุ
ชัดเจนว่า ระยะเวลาต่อเนื่องที่สมั ผัสสารเคมีเป็ นเวลากี่
ชัว่ โมง ในกรณี เช่นนี้ เอกสาร MSDS ควรระบุ ค่า TLVTWA ซึ่งจะบอกความเข้มข้นของสารเคมีที่สมั ผัสได้ หาก
ทางานติดต่อกันเป็ นเวลา 8 ชัว่ โมง ทุกวันในการทางาน
หนึ่งสัปดาห์แทน ซึ่งจะทาให้ขอ้ มูลเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้
มากขึ้น
3.ข้อมูลเกี่ยวกับการระเหยเป็ นไอของสารเคมีไม่
ตรงกัน เช่น ในส่ วนของสมบัติการระเหยระบุวา่ “ ไม่มี
ข้อมูล ” แต่ในสมบัติทางกายภาพ ระบุค่าความดันไอมีค่า
20 มิลลิเมตร ที่ 25 องศาเซลเซี ยส แสดงว่าสารเคมี
สามารถระเหยได้ดีพอสมควรในสภาพแวดล้อมปกติ
ข้อมูลขัดแย้งกันเช่นนี้ จะทาให้ผใู ้ ช้ขอ้ มูลสับสนได้
4.ข้อมูลเกี่ยวกับความไวไฟ ระบุวา่ “ไม่ติดไฟ” แต่ใน
ส่ วนที่เกี่ยวกับวิธีปฏิบตั ิเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิ นระบุไว้ “ให้ใช้
เครื่ องดับเพลิงชนิดคาร์บอนไดออกไซด์หากสรเคมีติดไฟลุก
ไหม้” ทาให้ไม่แน่ใจว่าสารเป็ นสารเคมีที่ติดไฟได้หรื อไม่
5.ให้คาอธิบายในกรณี สารเคมีที่สามารถเปลี่ยนรู ป
หรื อทาให้เกิดสารเคมีอนั ตรายขึ้นได้หากเกิดการติดไฟ โดย
ใช้ขอ้ ความว่า “อาจเกิดอันตรายได้” แทนที่จะใช้ขอ้ ความว่า
“จะเกิดอันตรายได้” ซึ่ งชี้ให้เห็นอันตรายที่เกิดขึ้นได้ชดั เจน
กว่า
6.ใช้ขอ้ ความเช่น “หากใช้ปริ มาณที่มากเกินไป” โดย
ไม่ได้ระบุวา่ ปริ มาณที่มากเกินไปนั้นเป็ นจานวนเท่าใด
7. มีขอ้ แนะนาให้ใช้ถุงมือ แต่ไม่ได้ระบุวา่ ถุงมือที่ใช้
เป็ นวัสดุชนิดใด
8. ให้คาแนะนาในการปฐมพยาบาลว่า “ไม่ควรให้
ผูป้ ่ วยที่หมดสติอาเจียน หรื อ ให้ยาใดๆทางปาก” แต่ไม่ได้
ระบุวา่ หากผูป้ ่ วยหมดสติควรให้ความช่วยเหลืออย่างไร
หรื อให้ยาทางไดเป็ นต้น
9. ระบุ “ไม่ให้เก็บวัสดุใกล้แหล่งจุดติดไฟ” แต่
ไม่ได้บอกว่า ระยะห่างจากจุดติดไฟควรเป็ นระยะเท่าใด
สารเคมีที่ระเหยเป็ นไอได้ดีบางชนิดอาจทาให้เกิดการติด
ไฟได้แม้จะอยูห่ ่างจากจุดติดไฟเป็ นระยะเกนกว่าเมตร
เป็ นต้น
10. ให้คาแนะนาว่าการใช้สารเคมีควรทาในที่ที่มี
การถ่ายเทอากาศได้ดี แต่ไม่ได้ระบุสภาวะของการถ่ายเท
อากาศไว้ หรื อ ไม่ได้ระบุค่า PEL หรื อ TLV ประกอบให้
ทราบ
11.เขียนข้อความท้ายเอกสารในทานองปกป้ องและไม่
รับผิดชอบหากข้อมูลที่ให้ไว้เป็ นข้อมูลที่ไม่ถกู ต้อง
กฎหมายไทยที่เกีย่ วข้ องด้ านความปลอดภัยในการทางาน
กับสารเคมี
แหล่งข้อมูลที่สามารถใช้อา้ งอิงเพิ่มเติม สาหรับการ
ประเมินความเสี่ ยงด้านความปลอดภัยในการทางานกับสารเคมี
ได้แก่ กฎหมาย ระเบียบ หรื อ ข้อบังคับของหน่ายงาน
ราชการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งใช้สารเคมี เช่น
กฎหมายแรงงาน กฎหมายควบคุมสารพิษ กฎหมายเกี่ยวกับ
สิ่ งแวดล้อม กฎหมายเกี่ยวกับโรงงานอุตสาหกรรม
กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ ง รวมถึงกฎหมายที่ควบคุม
สารเคมีอนั ตราย ที่ผสมอยูใ่ นสิ นค้าอุปโภคบริ โภคที่
ประชาชนทัว่ ไปอาจหาซื้ อไปใช้ได้ในครัวเรื อน เป็ นต้น
กฎหมายเหล่านี้เป็ นเอกสารที่เผยแพร่ ต่อสาธารณะและ
สามารถจัดหาได้โดยง่าย
หน่ายงานราชการต่างๆที่รับผิดชอบตาม
พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด หรื อ กฎหมายเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยในการทางานกับสารเคมี มีดงั นี้
1. สานักนายกรัฐมนตรี
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค
พ.ศ.2522 และระเบียบสานักนายก ว่าด้วยการป้ องกันอุบตั ิภยั
พ.ศ.2538
2. กระทรวงการคลัง
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2469 และ
ฉบับแก้ไข (14 ครั้ง) พ.ศ.2543 ซึ่งควบคุมการนาเข้าและ
ส่ งออกสารเคมีอนั ตราย
3. กระทรวงกลาโหม
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติควบคุมยุทธภัณฑ์
พ.ศ.2530 และพระราชบัญญัติอาวุธปื น เครื่ องกระสุ น วัตถุ
ระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่ งเทียมอาวุธปื นพ.ศ.2490และฉบับ
แก้ไข(4ครั้ง) พ.ศ. 2530
4.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ.2535 ร่ วมกับ
กระทรวงสาธารณสุ ขและพระราชบัญญัติปุ๋ย พ.ศ.2518
5.กระทรวงอุตสาหกรรม
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511
พระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติแร่
พ.ศ.2510 และพระราชกาหนดป้ องกันการใช้สารระเหยพ.ศ.2533
6. กระทรวงสาธารณสุ ข
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติการสาธารณสุ ขพ.ศ.2535
พระราชบัญญัติยาพ.ศ.2510 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติอาหารพ.ศ.2522 พระราชบัญญัติ
เครื่ องสาอางพ.ศ.2535 พระราชบัญญัติเครื่ องมือแพทย์พ.ศ.
2531 ร่ วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมในการรับผิดชอบ พระ
ราชกาหนดป้ องกันการใช้สารระเหยพ.ศ.2533
7. กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่ งแวดล้อม
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติส่งเสริ มและรักษาคุณภาพ
สิ่ งแวดล้อมแห่งชาติพ.ศ.2535 พระราชบัญญัติพลังงาน
ปรมาณูเพื่อสันติพ.ศ.2504 และฉบับแก้ไขพ.ศ.2508
8. กระทรวงมหาดไทย
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติป้องกันภัยฝ่ ายผลเรื อน
พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภยั พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการเก็บรักษาน้ ามันเชื้อเพลิงพ.ศ.2542
9.กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติแรงงานพ.ศ.2542 และ
พระราชบัญญัติเงินทดแทนพ.ศ.2537
10. กระทรวงคมนาคม
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ.2542
พระราชบัญญัติทางขนส่ งทางบกพ.ศ.2542 และ
พระราชบัญญัติเดินเรื อในน่านน้ าไทยพ.ศ.2456 และฉบับ
แก้ไข(14) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีบทบังคับในการควบคุมการขนส่ ง
สานเคมีอนั ตราย
11.กระทรวงพาณิ ชย์
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติคุม้ ครองโคกภัณฑ์
พ.ศ.2495
12. ทบวงมหาวิทยาลัย
รับผิดชอบ ศูนย์วจิ ยั ร่ วมอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัย
ด้านการจัดกาสิ่ งแวดล้อมและวัตถุอนั ตราย
13.กระทรวงศึกษาธิการ
รับผิดชอบ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
หน่ วยงานราชการที่รับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยในการ
ทางาน
หน่วยงานราชการภายในประเทศที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ
ป้ องกันอุบตั ิเหตุ อันตราย และคุม้ ครองความปลอดภัยในการ
ทางานตามกฎหมายมีอยูห่ ลายหน่วยงานไดแก่
1.กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
มีหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจโรงงาน เพื่อพิจารณาอนุญาต
ให้ต้ งั และประกอบกิจการโรงงาน การป้ องกันอุบตั ิเหตุ
อันตราย หรื อเหตุเดือดร้อนราคาญ
อันเนื่องมาจากเครื่ องจักรกล อุปกรณ์ไฟฟ้ า หม้อไอน้ า รวมไป
ถึงการดูแลเกี่ยวกับการใช้วตั ถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุ
ระเบิด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนการ
ดูแลจัดการให้มีสถานที่ทางานที่ถูกสุ ขลักษณะอนามัยด้วย
2. กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน
และสวัสดิการสังคม
มีหน้าที่ดาเนินการให้ผรู้ ับจ้างหรื อคนงานในสถาน
ประกอบการต่างๆมีสุขภาพอนามัย ความปลอดภัย และมีสวัสดิ
ภาพในการทางาน รวมทั้งมีความสัมพันธ์ที่ดีและเป็ นธรรม
ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน มีหน้าที่มนการร่ าง
กฎกระทรวง หรื อประกาศกระทรวง เรื่ องต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ
ความปลอดภัยในการทางานและการป้ องกันอุบตั ิเหตุในสถาน
ประกอบการ โดยมีสารวัตรแรงงานเป็ นผูค้ วบคุมดูแลการ
ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมาย
3.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข
มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงาบชีวอนามัย โดย
ดาเนินงานและให้บริ การเพื่อดูแลสุ ขภาพอนามัยของผู้
ประกอบอาชีพทุกอาชีพ ทั้งด้าน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม
พาณิ ชกรรม เหมืองแร่ ป่ าไม้ เป็ นต้น ให้มีสุขภาพและ
อนามัยดีท้ งั ในด้านร่ างกายและจิตใจ
กรมอนามัยเป็ นผูถ้ ือใช้และปฏิบตั ิให้เป็ นไปตาม
พระราชบัญญัติสาธารณสุ ข
4.กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มีหน้าที่ควบคุมดูแลการจัดเก็บและการใช้วตั ถุมีพิษ
ประเภทยาฆ่าแมลงในงานเกษตรกรรม เพื่อให้เกษตรกรหรื อ
ผูเ้ กี่ยวข้องมีความปลอดภัยและสุ ขภาพที่ดี โดยใช้ยาฆ่าแมลง
หรื อสารเคมีที่มีพิษได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
กรมวิชาการเกษตร เป็ นผูถ้ ือใช้และปฏิบตั ิให้เป็ นไป
ตามพระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย
ข้ อกาหนดเกี่ยวกับเอกสารMSDS ตามกฎหมายไทย
ข้อมูลที่กฎหมายไทยกาหนดให้ผปู ้ ระกอบการเกี่ยวกับ
สารเคมีอนั ตรายจะต้องระบุไว้ จะดูได้จากตัวอย่าง แบบแจ้ง
รายละเอียดของสารเคมีอนั ตรายในสถานประกอบการ ของ
กระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็ นไปตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เรื่ องความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับ
สารเคมีอนั ตราย หรื อ สอ.1 ซึ่ งมีเนื้อหาสอดคล้องตามลักษณะ
ของเอกสารMSDSที่ยอมรับในต่างประเทศ
แบบ สอ.1
แบบแจ้งรายละเอียดสารเคมีอนั ตรายในสถานประกอบการ
ตามข้อ 5 แห่งประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่ องความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับสารเคมีอนั ตราย
วันที่..........เดือน.......................พ.ศ.......................
(Date)
1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์(Product Data)
1.1 ชื่อทางการค้า...............................ชื่อทางเคมี...................สู ตรทางเคมี.......................
(Trade Name)
1.2 การใช้ประโยชน์.............................................................................................
(Use)
1.3 ปริ มาณสูงสุ ดที่มีไว้ครอบครอง......................................................................
(Max Quantity Storage)
1.4 ผูผ้ ลิต / ผูน้ าเข้า..................................................................................
(Manufacturer / lmport)
ที่อยู.่ ....................ถนน............แขวน................จังหวัด......................รหัสไปรษณี ย.์ .............
โทรศัพท์...........................โทรสาร..............................
2. การจาแนกสารเคมีอนั ตราย (Chemical Classification)
2.1 U.N Number................... 2.2 CAS No.................... 2.3 สารก่อมะเร็ ง.......................
3.สารประกอบที่เป็ นอันตราย(Hazardous lngredients)
ชื่อสารเคมี
(Substances)
เปอร์เซ็นต์
(Percent)
ค่ามาตรฐานความปลอดภัย
TLV
4.ข้อมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Date)
4.1 จุดเดือด OC
4.2 จุดหลอมเหลว
4.3 ความดันไอ
4.4 การละลายได้ในน้ า
4.5 ความถ่วงจาเพาะ
4.6 อัตราการระเหย
4.7 ลักษณะ สี และกลิ่น
4.8 ความเป็ นกรดด่าง
LD50
5. ข้อมูลด้านอัคคีภยั และการระเบิด(Fire and Explosion Hazard Data)
5.1 จุดวาบไฟ
5.2 ขีดจากัดการติดไฟค่าต่าสุ ด(LEL%)
5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟได้เอง
5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
5.5 สารที่ตอ้ งหลีกเลี่ยงจากกัน
5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว
6.ข้อมูลเกี่ยวกับอันตรายต่อสุ ขภาพ(Health Hazard Date)
6.1 ทางเข้าสู ้ร่างกาย
6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยือ่ บุ)
6.3 ผลจากการสัมผัสสารที่มีปริ มาณมากเกินไปในระยะสั้นๆ
6.4 ผลจากการสัมผัสสารที่มีปริ มาณมากเกินไปในระยะยาว
6.5 ค่ามาตรฐานความปลอดภัย TLV
7. มาตรการด้านความปลอดภัย(Safety Measures)
7.1ข้อมูลการป้ องกันโดยเฉพาะทาง(Special Protection lnformation)
7.1.1 การป้ องกันไฟและระเบิด
7.1.2 การระบายอากาศ
7.1.3 ชนิดของอุปกรณ์ป้องกันทางการหายใจ
7.1.4 การป้ องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ
7.1.5 การป้ องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา
7.1.6 การป้ องกันอื่นๆ
7.2 การปฐมพยาบาล(First Aid)
7.2.1 กรณี สัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง
7.2.2 กรณี สัมผัสสารเคมีโดยการหายใจ
7.2.3 กรณี รับสารเคมีโดยการหายใจ
7.2.4 ข้อมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล(ระบุการรักษาหรื อการแก้พิษ)
8. ข้อปฏิบตั ิที่สาคัญ(Special lnstructions)
8.1 การขนย้ายและกานจัดเก็บ
8.2 การป้ องกันการกัดกร่ อนของสารเคมี
8.3 การป้ องกันการรั่วไหลและการหก
8.4 การกาจัดสิ่ งปฏิกลู ที่เกิดจากสารเคมี
8.5 การใช้สารดับเพลิง
ลงชื่อ....................................................
(..................................................)
ตาแหน่ง................................................
บริ ษทั ..................................................
โทรศัพท์..............................................