Transcript Data
บทที่ 1
ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์
หัวข้ อ
ข้อมูล และสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ฐานข้อมูล และระบบการจัดการฐานข้อมูล
ข้ อมูล
หมายถึง ข้อเท็จจริ งต่างๆ ที่มีอยูใ่ นธรรมชาติ
เป็ นกลุ่มสัญลักษณ์แทนปริ มาณ หรื อการกระทาต่างๆ ที่ยงั ไม่ผา่ นการ
วิเคราะห์หรื อการประมวลผล
ข้อมูลอยูใ่ นรู ปของตัวเลข ตัวหนังสื อ รู ปภาพ แผนภูมิ เป็ นต้น
สารสนเทศ
หมายถึง ข้อมูลที่ผา่ นการเปลี่ยนแปลง หรื อจัดกระทาเพื่อผลของการเพิ่ม
ความรู ้ ความเข้าใจของผูใ้ ช้
ลักษณะของสารสนเทศจะเป็ นการรวบรวมข้อมูลหลายๆ อย่างที่
เกี่ยวข้องกัน เพื่อจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลักษณะของข้ อมูล
ข้อมูลที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็ น 3 ประเภทหลักๆ คือ
ข้ อมูลแบบการอ้ างอิง (Reference Data) เช่ น ชื่อ นามสกุล รหัส
ประจาตัว เป็ นข้ อมูลทีใ่ ช้ แสดงความสั มพันธ์ กบั ข้ อมูลอืน่ ๆที่น่าสนใจ
ข้ อมูลแบบการจาแนก (Classification Data) เช่ น เพศ เป็ น
ข้ อมูลทีเ่ กิดจากการแบ่ งกลุ่ม
ข้ อมูลแบบเชิงปริมาณ (Quantitive Data ) เช่ น นา้ หนัก ส่ วนสู ง
และอายุ เป็ นต้ น
ลักษณะของสารสนเทศ
ลักษณะของสารสนเทศจะเป็ นการรวบรวมข้อมูลหลายๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกันเพื่อ
จุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่ ง ซึ่ งมีองค์ประกอบ 5 ส่ วนคือ
ข้ อมูล เป็ นตัวเลข ข้ อความ เสี ยง และภาพ เป็ นข้ อมูลป้ อนเข้ า
การประมวลผล เป็ นการกาหนดความสั มพันธ์ ของ ข้ อมูล จัดกระทาข้ อมูล เพือ่ ให้ เหมาะสม
ต่ อการนาไปใช้
การจัดเก็บ เป็ นวิธีการทีจ่ ะเก็บข้ อมูลให้ เป็ นระบบทีส่ ะดวกต่ อการใช้ และสามารถแก้ ไข
ปรับปรุ งให้ เป็ นปัจจุบนั
เทคโนโลยี เป็ นเครื่องมือทีช่ ่ วยในการเก็บข้ อมูล การประมวลผลทาให้ เกิดผลผลิต ได้ แก่
คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสาเร็จรู ป อุปกรณ์ การสื่ อสาร ฯลฯ
สารสนเทศ ผลผลิตของระบบสารสนเทศจะต้ องถูกต้ องตรงกับความต้ องการใช้ และทันต่ อ
เหตุการณ์
การสร้ างสารสนเทศ
1. การรวบรวมข้อมูล (Capturing) เป็ นการดาเนินเพื่อรวบรวม และบันทึก
ข้อมูลให้อยูใ่ นรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่ง เพื่อการประมวลผล เช่น การบันทึกไว้ใน
แฟ้ มเอกสาร หรื อด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์ การรวบรวมทาได้โดยการสังเกต
ความสัมพันธ์ การทาแบบสอบถาม การทดสอบ และการใช้แบบสารวจ ข้อมูลที่
ได้จะต้องมีคุณลักษณะสาคัญ 2 ประการ คือ ตรงตามความต้องการที่กาหนดไว้
และมีความเชื่อถือได้
2. การผลิตสารสนเทศ ทาขึ้นเพื่อให้มนั่ ใจว่า ข้อมูลได้รับการรวบรวม และบันทึก
เอาไว้อย่างถูกต้อง การตรวจสอบข้อมูลเป็ นการค้นหา รวบรวมข้อมูลที่ยงั มีความ
ผิดพลาดโดยทัว่ ไป จะกระทาได้ 3 ลักษณะคือ
การตรวจสอบความเป็ นไปได้ หรือความสมเหตุ สมผลของข้ อมูล
การตรวจสอบความสอดคล้ องกัน
การตรวจสอบความสั มพันธ์ ของข้ อมูล เป็ นการตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูล โดย
อาศัยความสั มพันธ์ ของข้ อมูลเป็ นเกณฑ์
4. การจาแนก (Classifying) เป็ นการกาหนดหลักการแบ่งประเภท ข้อมูลเป็ น
หมวดหมู่หรื อเป็ นกลุ่ม ตามคุณสมบัติของข้อมูลในลักษณะที่เหมาะสมมี
ความหมายและเป็ นประโยชน์แก่ผใู ้ ช้ โดยการกาหนดสิ่ งที่เหมือนกันไว้ดว้ ยกัน
5. การจัดเรี ยงลาดับ (Arranging) ภายหลังที่มีการจาแนกข้อมูลและการ
กาหนดรหัสข้อมูลแล้ว จาเป็ นต้องจัดวางโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลว่า จะต้อง
เรี ยงลาดับระเบียบข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลอย่างไร
6. การสรุ ป (Summarizing) เป็ นการจัดรวบรวมข้อมูลเข้าด้วยกันหรื อ
แบ่งกลุ่มข้อมูล และรวบยอดของแต่ละกลุ่ม เพื่อเตรี ยมคานวณหาค่าดัชนี หรื อ
สารสนเทศในขั้นต่อไป การสรุ ปหรื อรวบรวมยอดข้อมูลนี้ มีประโยชน์ในการ
ตรวจสอบความแนบนัยของข้อมูลอีกด้วย
7. การจัดเก็บ (Storing) หลังจากที่ได้คานวณได้ค่าสารสนเทศหรื อดัชนีต่างๆ แล้ว
ขั้นตอนต่อมาคือ การจัดเก็บเพื่อการบริ การว่าจะต้องจัดเก็บทาข้อมูลพื้นฐานและ
สารสนเทศที่ผา่ นการจัดกระทา โดยการการเก็บไว้ในสื่ อต่างๆ แล้วแต่วา่ จะเป็ นระบบ
การจัดกระทาด้วยมือหรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ ถ้าเป็ นระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ มีสื่อการ
จัดเก็บหลายชนิด เป็ นแผ่นจานแม่เหล็กเทปแม่เหล็ก โดยจาแนกประเภทแฟ้ มข้อมูล
เพื่อให้ง่ายแก่การจัดเก็บ และให้บริ การอย่างมีประสิ ทธิภาพ และทันต่อความต้องการของ
ผูใ้ ช้
8. การเรี ยกใช้ (Retrieving) เป็ นกระบวนการค้นหา และดึงข้อมูลที่ตอ้ งการออกมา
จากสื่ อ ที่ใช้เพื่อปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปั จจุบนั หรื อเพื่อให้บริ การและคาตอบต่อผูใ้ ช้ ใน
การจัดเรี ยงลาดับข้อมูลภายในแฟ้ ม จะประกอบข้อมูลด้วยข้อมูล 2 ส่ วนใหญ่ๆ ส่ วนแรก
เป็ นข้อมูลโดยทัว่ ไป ส่ วนที่สองเป็ นข้อมูลเฉพาะทางด้านการศึกษาหรื อเกี่ยวข้อง ในการ
ค้นหาต้องจัดทาคู่มือสาหรับการค้นหาในลักษณะเหมือนนามานุกรม โดยมีรายละเอียด
ของรหัสกากับข้อมูลต่างๆ ไว้
9. การเผยแพร่ (Disseminating and Reproducing) เป็ นเป้ าหมาย
สุ ดท้ายของการดาเนินการสารสนเทศ คือการเผยแพร่ สารสนเทศให้กบั ผูใ้ นรู ปแบบต่างๆ
ทาในแบบเอกสาร รายงานหรื อการเสนอบนจอภาพ โดยใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ สิ่ งสาคัญ
คือการกาหนดและออกแบบรายงานสารสนเทศที่สามารถสนองความต้องการของผูใ้ ช้ได้
ฐานข้ อมูล
คือ แหล่งรวมของข้อมูลหรื อไฟล์ต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กนั เก็บอยูใ่ นที่
เดียวกัน เพื่อประยุกต์ใช้ในงานหลายๆ งานที่จาเป็ นต้องใช้ขอ้ มูลร่ วมกัน
ซึ่งโดยปกติจะเก็บข้อมูลต่างๆ นี้อยูใ่ นข้อมูลแบบ
Direct Access เพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลทาได้ง่ายขึ้น และเป็ น
การลดความซ้ าซ้อนของข้อมูลแต่ละระบบ
ระบบจัดการฐานข้ อมูล
คือ ระบบโปรแกรมที่มีความสามารถในการจัดการข้อมูลในด้านต่างๆ
ได้แก่ การให้คาจากัดความของข้อมูลและเรคคอร์ด การกาหนด
ความสัมพันธ์ระหว่างฟิ ลด์ต่างๆ ในเรคคอร์ด การจัดการประมวลผล
ปรับเปลี่ยน แก้ไขข้อมูล และจัดการกาหนดควบคุมการใช้ขอ้ มูลอย่างมี
ระบบ
ประโยชน์ ของฐานข้ อมูล
ลดความซับซ้อนของข้อมูล
ลดความขัดแย้งของข้อมูล
ใช้ขอ้ มูลร่ วมกันได้
เป็ นมาตรฐานแบบเดียวกัน
รักษาความปลอดภัยของข้อมูล
เกิดความเป็ นอิสระของข้อมูล
ลักษณะการประมวลผลข้ อมูล
การประมวลผล (data Processing) การเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ใน
แฟ้ มข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ นั ก็เพื่อจะนามาใช้ในการประมวลผลให้เกิด
เป็ นรายงานต่างๆ ตามที่ผใู ้ ช้และผูบ้ ริ หารต้องการ การประมวลผลนั้นจะ
กระทาโดยโปรแกรม ซึ่งเราจะต้องจัดเตรี ยมไว้ก่อนแล้ว
การประมวลผลข้ อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
ระบบแบทซ์โพรเซสซิ่ง (batch Processing)
ระบบทรานแซกชัน่ โพรเซสชัน่ (transaction
Processing)
batch Processing
เป็ นการเก็บรวบรวม Transaction ไว้เป็ นกลุ่ม เพื่อจะนาไปใช้ใน
การประมวลผลข้อมูล หรื อปรับปรุ ง Master file ในภายหลัง เช่น
ทุกๆ วัน หรื อทุกๆ สิ้ นเดือน เป็ นต้น
transaction Processing
เป็ นเทคนิคในการประมวลผลแบบสุ่ ม (Random) จะประมวลผลตามเวลาที่
เกิด Transaction นัน่ คือ ไม่จาเป็ นที่จะต้องทาการเรี ยงลาดับ
Transaction ก่อนการประมวลผล
จัดว่าเป็ นการประมวลผลแบบเรี ยลไทม์ (Real - Time Processing)
นัน่ คือ เมื่อได้รับ Transaction เข้ามาในระบบคอมพิวเตอร์ ก็จะการ
ประมวลผล และออกผลลัพธ์ทนั ที
ตัวอย่างระบบ ATM ของธนาคาร เมื่อผูใ้ ช้ใส่ รหัส และความต้องการที่จะทา
รายการ เช่น ถอนหรื อฝากกับตู ้ ATM ข้อมูลนี้จะเป็ น Transaction เข้า
ไปในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ งจะทาการประมวลผล และออกผลลัพธ์ คือ ยอด
คงเหลือ ของเงินมาให้ทนั ที
การประมวลผลแบบ Real Time นี้ จาเป็ นที่จะต้องมีการต่อ
Terminals เข้ากับเครื่ องคอมพิวเตอร์ โดยตรง ซึ่ งลักษณะนี้เรี ยกว่า Online นัน่ เอง
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology : IT)
คือ การนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่ อสารมาใช้
ประโยชน์ในการจัดเก็บ การเข้าถึง การส่ งผ่าน และการสื่ อสาร
สารสนเทศ รวมไปถึงการสร้างอุตสาหกรรม สารสนเทศ ความต้องการ
สารสนเทศ และการจัดการสารสนเทศได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจานวนมหาศาล
ช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิตสารสนเทศ เช่น การคานวณตัวเลขที่ยงุ่ ยากซับซ้อน
เป็ นต้น
ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศในรู ปที่สามารถเรี ยกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก
ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อจัดเก็บ ประมวลผล และเรี ยกใช้สารสนเทศ
ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ ว และมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น
ช่วยในการสื่ อสารกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และ
ระยะทางโดยการใช้ระบบโทรศัพท์
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology
Systems) หมายถึง ระบบงาน และกระบวนการต่างๆ ที่ช่วยให้ได้
สารสนเทศที่ตอ้ งการ
รูปแบบของระบบสารสนเทศ
ระบบประมวลผลข้ อมูล (Data Processing
Systems)
ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหาร (Management
Information Systems)
ระบบสนับสนุนเพือ่ การตัดสิ นใจ (Decision Support
Systems)
ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหารระดับสู ง (Executive
Information Systems)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
เทคโนโลยีที่เกีย่ วข้ องกับงานสารสนเทศ
เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ ตั้งแต่ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ซ่ ึงเป็ นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่จนถึง
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
เทคโนโลยีซอฟต์แวร์ ตั้งแต่ภาษายุคแรก เช่น ภาษา โคบอล (COBOL) จนถึงภาษายุคที่สี่
ซอฟต์แวร์ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System) จนถึงการพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์
เทคโนโลยีระบบเครื อข่าย เป็ นเทคโนโลยีคมนาคมที่ใช้เชื่อมโยงเครื อข่ายในระดับต่างๆ ตั้งแต่
เครื อข่ายระยะใกล้จนถึงเครื อข่ายระยะไกล เช่น เครื อข่ายระหว่างประเทศ
สถานีงาน (Workstation) เป็ นการนาไมโครคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงกับระบบ
คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เพื่อขยายขอบเขตประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิงานโดยสามารถทางาน
ร่ วมกับระบบใหญ่โดยลาพังได้
วิทยาการหุ่นยนต์ (Robotics) เป็ นการพัฒนาหุ่นยนตร์มาช่วยทางานต่างๆ ทั้งงานที่ตอ้ ง
อาศัยความละเอียด แม่นยา เช่น การประกอบรถยนต์ เป็ นต้น
สมาร์ทชิป (Smart Chip) คือ ชิบซึ่ งใช้เป็ นส่ วนประกอบในผลิตภัณฑ์เพื่อสนับสนุน
ประสิ ทธิภาพการทางานต่างๆ เช่น ในระบบควบคุมอุณหภูมิในอาคารบ้านเรื อน สามารถปรับ
อุณหภูมิให้อยูใ่ นระดับที่เหมาะสมโดยอัตโนมัติ เป็ นต้น
การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในด้ านต่ างๆ
ด้านการรักษาพยาบาล ระบบการรักษาพยาบาลทางไกล คนไข้สามารถใช้บริ การ
ของโรงพยาบาลโดยแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญสามารถพูดคุยกับคนไข้ทางจอทีวี หรื อ
จอคอมพิวเตอร์ เพื่อดูอาการว่าคนไข้เป็ นอย่างไร แล้ววินิจฉัยโรคพร้อมกับแนะนา
การรักษาตามอาการที่ปรากฏได้
ระบบการซื้ อสิ นค้าทางไกล (Teleshopping) โดยผูซ้ ้ื อสามารถ
ติดต่อสื่ อสาร กับผูข้ ายเพื่อดูรายการ สิ นค้าที่ขาย มีภาพ รู ปร่ าง ลักษณะสิ นค้า
รายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับสิ นค้า รวมทั้งราคา จากหน้าจอคอมพิวเตอร์ ส่วนตัวที่
เชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์ ผขู ้ าย และสามารถสัง่ ซื้ อสิ นค้าตามที่ตอ้ งการผ่านระบบ
โทรคมนาคม เช่น การซื้ อสิ นค้าบนเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต หรื อการดูโฆษณาสิ นค้า
บนระบบเครื อข่าย โดยไม่ตอ้ งเดินทางออกจากบ้าน
ระบบธนาคารทางไกล (Tele-Banking) ลูกค้าไม่ตอ้ งเดินทางไปที่ธนาคาร
ด้วยตนเอง แต่สามารถใช้บริ การของธนาคารที่บา้ น เช่น การโอนเงิน การขอดูยอด
คงเหลือในบัญชีอตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยผ่านเครื อข่าย
คอมพิวเตอร์ ที่สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบของธนาคารที่ผนู ้ ้ นั ใช้บริ การอยู่
ด้านความบันเทิง ผูใ้ ช้สามารถเลือกดูรายการภาพยนตร์ที่ตอ้ งการได้ที่บา้ น โดยใช้
บริ การ Video on demand หรื อ การเลือกชมรายการภาพยนตร์ ตาม
ความสนใจ โดยวิธีการติดต่อสื่ อสารไปยังผูใ้ ห้บริ การผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์
แล้วเลือกภาพยนตร์ที่ตอ้ งการ ผูใ้ ห้บริ การหลังจากรับบริ การแล้ว จะส่ งสัญญาณ
ภาพเคลื่อนไหว และเสี ยงของภาพยนตร์ ที่เลือกไว้ผา่ นทางด่วนข้อมูลไปให้
ผูร้ ับบริ การถึงบ้าน
ด้านการศึกษา การเรี ยนการสอนทางไกล (Tele-Education)
เป็ นระบบการเรี ยนการสอนแบบใหม่ที่ไม่จาเป็ นต้องให้ผเู ้ รี ยนเรี ยน
รวมกันอยูใ่ นห้องเรี ยน ผูเ้ รี ยนสามารถโต้ตอบการเรี ยน เช่น การตอบ
คาถาม หรื อถามปัญหาที่เกิดจากการเรี ยนได้โดยตรง
ด้านการติดต่อสื่ อสาร การใช้บริ การไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์
(E-Mail) สามารถรับ-ส่ งข้อความไปยังคนที่ตอ้ งการติดต่อด้วยทัว่
โลก ภายในระยะเวลาอันรวดเร็ วและเสี ยค่าใช้จ่ายน้อย
ด้านการติดตามข้อมูล ความรู ้ข่าวสารเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล ช่วยให้
การเผยแพร่ ความรู ้ข่าวสารระหว่างกันเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว มนุษย์
สามารถแสวงหาความรู ้ได้อย่างเท่าเทียมกันทัว่ โลก
ด้านธุรกิจ ระบบการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (TeleConference) เป็ นการอานวยความสะดวกให้ผเู ้ ข้าร่ วมประชุมไม่
ต้องไปรวมอยูใ่ นสถานที่เดียวกัน ทาให้ประหยัดเวลาในการเดินทาง
หรื อระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDL
:Electronic Data Interchange) ก็เป็ นระบบที่ช่วยให้
การติดต่อทางการค้ามีความสะดวกรวดเร็ วมากขึ้น
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
แง่บวกนั้นจะมองเห็นได้ง่ายจากสภาพแวดล้อมทัว่ ไป เช่น ทางานต่างๆ
ได้อย่างสะดวกรวดเร็ ว
ด้านลบก็คือ ทาให้เกิดมลพิษต่างๆมากมาย หรื อถ้าเทคโนโลยีเหล่านั้น
ทางานผิดพลาดในระบบสาคัญๆ อาจเป็ นอันตรายกับชีวิตมนุษย์ได้
ประโยชน์ ของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยสรุป
ทาให้ขยายอานาจการติดต่อสื่ อสารได้อย่างกว้างไกล
ทาให้สามารถติดต่อกันได้อย่างคล่องตัว และรวดเร็ ว
สามารถค้นหา และสอบถามข้อมูลได้ทนั ที
ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย
สนับสนุนให้มีความรู ้ภาษาต่างๆ ในโลกมากขึ้นโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ
สามารถแลกเปลี่ยนความคิด และข่าวสารซึ่ งกันและกันได้ทวั่ โลกโดยผ่านเครื อข่าย
สามารถใช้ในการดาเนินงานด้านธุรกิจ หรื อ อุตสาหกรรมต่างๆ
เพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางานให้กบั ผูใ้ ช้
โทษของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยสรุป
โรงงานผลิตอุปกรณ์ของเครื่ องคอมพิวเตอร์ น้ นั ต้องใช้สารเคมีเป็ นจานวนมาก ซึ่ ง
จะทาให้เกิดมลพิษต่าง ๆ มากมาย
ผูใ้ ช้อาจมีอาการเจ็บป่ วยที่เกิดจากการทางานกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นเวลานาน ๆ
เช่น อาจมีการปวดหลังไหล่ที่เกิดจากการนัง่ อยูห่ น้าเครื่ องนาน ๆ หรื ออาจเกิด
อาการ Carpal Tunnel Syndrome (CTS) ซึ่ งเป็ นอาการ
เจ็บป่ วยที่เกิดจากเส้นประสาทบริ เวณข้อมูลถูกกดทับเป็ นเวลานาน ๆ โดยอาจเกิด
จากการใช้คียบ์ อร์ ดหรื อเมาส์ รวมทั้งอาจมีอนั ตรายจากรังสี ออกมาจาก
จอคอมพิวเตอร์ดว้ ย
ถ้าคอมพิวเตอร์ทางานผิดพลาดในระบบที่มีความสาคัญมาก ๆ อาจเป็ นอันตรายกับ
ชีวติ มนุษย์ได้ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุมการจราจรทางอากาศ เป็ นต้น
องค์ ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ช่ วยให้ เราสามารถจัดเก็บ บันทึก และประมวลผลข้ อมูลได้ อย่ างรวดเร็ว และ
ถูกต้ อง
เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
ช่ วยให้ เราสามารถส่ งผลลัพธ์ ของการใช้ คอมพิวเตอร์ ไปให้ ผ้ ใู ช้ ที่อยู่ห่างไกลได้
อย่างรวดเร็ว