Transcript Click

กลมุ่ โรคติดต่อโดยการสัมผัส
อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
โรคเอดส์...
ลักษณะโรค
Acquired - สภาวะที่เกิดขึ้นมาภายหลัง
Immuno - ภ ูมิคม้ ุ กัน
Deficiency – ความบกพร่อง
Syndrome - กลมุ่ อาการ
ลักษณะโรค
• เริ่มรูจ้ กั ในปี ค.ศ.1981
• เป็ นโรคที่เกิดจากการติดเชือ้ ไวรัส HIV: Human
Immuno-deficiency Virus
• เชือ้ จะทาลายระบบภูมคิ มุ้ กันร่างกาย CD4 (Cluster of
Differentiation )
• ทาให้ตดิ เชือ้ ป่ วยเป็ นโรคและเสียชีวิตจากเชื้อโรคฉวย
โอกาส (Oportunistic infection)
ผูต้ ิดเชื้อต่างจากผูป้ ่ วยเอดส์
ผูต้ ิดเชื้อผูป้ ่ วยเอดส์
ผูท้ ี่มีเชื้อเอชไอวี
ยูใ่ นร่าคงกาย
มีภอาวะภูมิ
ม้ ุ กันบกพร่อง
ผู
ต
้
ิ
ด
เชื
้
อ
ต่
า
งจาก
ผู
ป
้
่
วยเอดส์
ระดับภ ูมิคม้ ุ กัมีนโปกติ
รคหรือกลมุ่ อาการ
ดาเนินชีวิตได้ทีต่เกิามปกติ
ดจากภาวะภูมิคม้ ุ กันบกพร่อง
ลักษณะโรค
14 ก ุมภาพันธ์ 2556
1 มกราคม 2556
1 เมษายน 2556
วันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
ตรวจเลือด
Window period
1. ผลเลือดบวก = รับเชื้อ HIV
2. ผลเลือดลบ
2.1 ยังไม่ได้รบั เชื้อ
2.2 รับเชื้อแล้วยังตรวจไม่พบ
ลักษณะโรค
ตรวจเลือดไม่ได้เป็นการป้องกัน
ลักษณะโรค
การตรวจคัดกรอง
(Screening test)
การตรวจยืนยัน
(Confirmatory test)
1. อีไลซ่า (ELISA : Enzyme Linked Immunosorbent Assay)
2. Particle agglutination (PA)
3. การทดสอบแบบรวดเร็ว (Rapid test)
ลักษณะโรค
การตรวจคัดกรอง
(Screening test)
การตรวจยืนยัน
(Confirmatory test)
1. Western Blot (WB)
2. Indirect Fluorescent Antibody Assay (IFA)
3. Radioimmunoprecipitation assay (RIPA)
ลักษณะโรค
• ระยะที่ 1 ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV infection)
• ระยะที่ 2 ระยะติดเชือ้ โดยไม่มอี าการ (Asymptotic
infection)
• ระยะที่ 3 ระยะต่อมนา้ เหลืองโต (Persistent generalized
lymphadenopathy, PGL)
• ระยะที่ 4 ระยะติดเชือ้ มีอาการ (Symptomatic HIV
infection)*
*แบ่งตาม CDC USA
ลักษณะโรค
ระยะที่ 1 ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV infection)
ใน 2-3 สัปดาห์หลังการได้รบั เชือ้ HIV จะมีอาการคล้ายไข้หวัด
ต่อมนา้ เหลืองโต อาการต่าง ๆ เหล่านีจ้ ะหายไปได้เองภายใน
1-2 สัปดาห์ โดยอาจมีอาการน้อยมากจนผูป้ ่ วยไม่สงั เกต
ลักษณะโรค
ระยะที่ 2 ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (Asymptotic
infection) ไม่มอี าการ แต่พบเชือ้ จากการตรวจเลือด หลังรับ
เชือ้ 6-8 สัปดาห์ หรือถึง 3 เดือน หลังรับเชือ้ และตรวจไม่พบ
แอนติบอดีเราเรียกว่า Window period
ลักษณะโรค
ระยะที่ 3 ระยะต่อมน้าเหลืองโต (Persistent
generalized lymphadenopathy, PGL) ไม่ทราบระยะเวลา
แน่ชดั โดยต้องพบต่อมนา้ เหลืองโตตัง้ แต่ 2 บริเวณขึน้ ไป
และมีขนาดตัง้ แต่ 1 ซม. นานเกินหนึง่ เดือน
ลักษณะโรค
ระยะที่ 4 ระยะติดเชื้อมีอาการ (Symptomatic HIV
infection)
1. นา้ หนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ (ลดเกิน 10% ของ
นา้ หนักเดิม หรือเกิน 10 กิโลกรัม)
2. เป็ นไข้เกิน 38 องศาเซลเซียส เรื้อรังเกิน 4 สัปดาห์
3. ท้องเสียเรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุ
4. เหงือ่ ออกตอนกลางคืนโดยไม่ทราบสาเหตุ
ลักษณะโรค
ระยะที่ 4 ระยะติดเชื้อมีอาการ (Symptomatic HIV
infection)
5. เชือ้ ราในช่องปาก
6. มีอาการทางประสาท หลงลืม
7. เป็ นโรคติดเชือ้ ฉวยโอกาสอื่น ๆ
8. เป็ นโรคเกี่ยวกับปอด
9. เป็ นมะเร็งส่วนใหญ่ที่พบคือ Kaposi's sarcoma คือเป็ น
มะเร็งเยื่อบุหลอดเลือด
ลักษณะโรค
leukoplakia
ลักษณะโรค
Kaposi's sarcoma
เชื้อก่อโรค
• สายพันธห์ ุ ลักดัง้ เดิมได้แก่เอชไอวี-1 (HIV-1)
ซึ่งแพร่ระบาดในแถบ สหรัฐอเมริกา ยุโรป และ
แอฟริกากลาง
• มี 8 Subtype คือ A-F, H และ O
• ในประเทศไทยพบว่า Subtype ที่สาคัญคือ E และ
B ซึ่งมีความสัมพันธ์กบั การติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธ์
และทางเข็มฉีดยาตามลาดับ
• สายพันธเ์ ุ อชไอวี-2 (HIV-2) แพร่ระบาดในแถบ
แอฟริกาตะวันตก
การเกิดโรค
ประมาณการจานวนผูป้ ่ วยเอดส์ปี 2008
อัตราป่ วยและอัตราตายของผูป้ ่ วยเอดส์ประเทศไทยที่รายงานในระบบเฝ้ า
ระวัง สานักระบาดวิทยา, 2527-2553
รายงานผูป้ ่ วย
เอดส์สงู สะท้อน
การติดเชื้ อสูง
ประมาณ
ปี 33-35
Source: รง.506/1 สำนักระบำดวิทยำ
คาดประมาณการติดเชื้อเอชไอวี 2554
ประเทศไทย
เฉลี่ยวันละ
27 คน
Source: Asian Epidemic Model คำดประมำณไว้ เมื่อ
1990
Husband Wife
MSM
IDU
Male from FCSW
FCSW from Clients
Casual sex
2010
2000
สำมีภรรยำ
MS
M
วิธีการถ่ายทอดเชื้อ
เอชไอวี ปี 2554 –
ภาพการระบาดที่
เปลี่ยนไปจากอดีต
Husband Wife
Husband Wife
MSM
MSM
IDU
IDU
Male from FCSW
Male from FCSW
สำมีFCSW from Clients ภรรยำ
Casual sex
MS
M
FCSW from Clients
Casual sex
Source: AEM
แหล่งรังโรค
• คน
• สันนิษฐานกันว่ามีตน้ กาเนิดมาจากลิงซิมแปนซี โรค
เอดส์ ในลิงเรียกว่า Simian Immunodeficiency Virus, SIV)
มีความคล้ายกับเชือ้ HIV ต้นตอมาจากทวีปแอฟริกา
เพราะบางท้องถิ่นนิยม รับประทานเนือ้ ลิง
แหล่งรังโรค
• สาหรับเชือ้ HIV-2 นัน้ มีตน้ กาเนิดมาจากลิงซูตที
แมงกาเบย์ (Sooty mangabey)
วิธีการแพร่เชื้อ
1. ทางเพศสัมพันธ์ (Heterosexual) การร่วมเพศกับ
ผูป้ ่ วยโรคเอดส์ หรือมีเชือ้ โรคเอดส์
2. ทางเลือด (Blood donor)
2.1 ใช้เข็มหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับผูต้ ดิ เชือ้ เอดส์
โดยเฉพาะชนิดฉีดเข้าเส้น
2.2 การรับเลือดหรืออวัยวะต่าง ๆ
3. การติดเชื้อจากแม่ที่ติดเชื้อเอดส์สล่ ู กู ที่อยู่ในครรภ์
โอกาสการติดเชื้อ HIV ใน 10,000 คน
•
•
•
•
•
•
•
•
การรับเลือด
9,000 คน
การใช้เข็มฉีดยาเสพติดร่วมกัน
67 คน
การเป็นฝ่ายรับ เพศสัมพันธ์ทางก้น
50 คน
การถ ูกเข็มตา
30 คน
การเป็นฝ่ายรับ เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด 10 คน
การเป็นฝ่ายร ุก เพศสัมพันธ์ทางก้น
6.5 คน
การเป็นฝ่ายร ุก เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด
5 คน
การเป็นฝ่ายรับ Oral sex (ทาให้ PHA)
1 คน
ระยะฟักตัว
• ระยะฟั กตัวของการติดเชือ้ เฉียบพลัน 2-3 สัปดาห์ ก็จะ
ติดเชือ้ โดยอาจไม่มอี าการแสดง
• ระยะฟั กตัวของโรคเอดส์เต็มขัน้ ระยะเวลามีตงั้ แต่ <115 ปี ประเทศไทยเฉลี่ย 7-10 ปี
• ระยะฟั กตัวในเด็กสัน้ กว่าผูใ้ หญ่
• ในประเทศพัฒนาแล้ว ครึ่งหนึง่ จะเสียชีวิตหลังติดเชือ้
11 ปี
ระยะติดต่อของโรค
• จุดเริ่มต้นของระยะติดต่อไม่สามารถกาหนดได้
ชัดเจน
• ประมาณได้ว่า เริ่มตัง้ แต่มกี ารติดเชือ้ และสามารถ
แพร่เชือ้ ได้ตลอดชีวิต
ความไวต่อการรับเชื้อ
• พบได้ทกุ กลุม่ อายุ พบมากในกลุม่ ที่มพี ฤติกรรมเสี่ยง
• คนติดเชือ้ HIV
• จะเป็ น ทัง้ HIV+TB ในแอฟริกาติดเชือ้ ทัง้ 2 โรค
10-15% ของคนติดเชือ้
• มีอตั ราการติดเชือ้ และความรุนแรงของ Malaria
เพิ่มขึน้
• มีอตั ราเป็ นเริมที่อวัยวะเพศเพิ่ม
วิธีการป้องกัน
• การให้ส ุขศึกษาในกลมุ่ เสี่ยง
• การใช้ถงุ ยางอนามัย ไม่ว่าจะเป็ นชนิดสาหรับผูช้ าย
หรือผูห้ ญิง เพราะการติดเชือ้ เอชไอวีสว่ นใหญ่เกิด
จากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน
• ลดการใช้เข็มฉีดยาร่วมกันในกลุม่ ใช้ยาเสพติด
• การให้ยาป้องกันหลังรับเชือ้ ภายใน 1 ชม.และรับ
ติดต่อกัน 28 วัน
วิธีการป้องกัน
• การตรวจเลือดและให้คาปรึกษาในกลุม่ เสี่ยง
• การป้องกันการติดเชือ้ จากแม่สล่ ู กู
• การตรวจเลือดที่บริจาค
• ผูป้ ฏิบตั งิ านทางสาธารณสุขสามารถลดการสัมผัส
เชือ้ HIV ได้โดยปฏิบตั งิ านด้วยความระมัดระวัง
(Precaution)
• ไม่ให้ BCG ในเด็กติดเชือ้
การรายงานโรค
• ประเทศส่วนใหญ่ตอ้ งรายงานโรคเอดส์
• บางประเทศรายงานการติดเชือ้ HIV ด้วย
• ระดับการรายงาน Class 2 และต้องรักษาความลับผูป้ ่ วย
การแยกผูป้ ่ วย
ไม่จาเป็น ใช้หลัก UP
การทาลายเชื้อ
ใช้หลัก UP – สาหรับเครือ่ งมือ วัสด ุ ปนเป้ ื อน เลือด
สารคัดหลัง่
การกักกัน
• ทาไม่ได้ในทางปฏิบตั ิ
• ผูต้ ดิ เชือ้ และคูค่ รอง งดบริจาคเลือด อวัยวะ นม
การสอบสวนและค้นหาแหล่งโรค
• เน้นคูค่ รองให้ป้องกันเมือ่ มีเพศสัมพันธ์และไม่ใช้เข็ม
ร่วมกัน
• เน้นการรักษาความลับผูป้ ่ วย
การรักษาเฉพาะ
• ให้ยาป้องกันโรคติดเชือ้ ฉวยโอกาส – Cotri ป้องกัน
Pneumocystis Pneumonia และโรคอื่น
(Highly Active Anti-Retroviral Therapy)
โรคเรื้อน (Leprosy)
ลักษณะโรค
• ขีท้ ตู กุฏฐัง ไทกอ หูหนาตาเร่อ โรคใหญ่ โรคพยาธิ
เนือ้ ตาย โรคผิดเนือ้ โรคผิวหนังชา
• เป็ นโรคติดต่อเรื้อรังที่เกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย
• ทาให้เกิดอาการที่ผวิ หนัง เส้นประสาทส่วนปลาย
เยื่อบุตา กระดูกและอวัยวะภายในร่างกาย
• เชือ้ โรคเรื้อนทาลายเส้นประสาทส่วนปลายทาให้เกิด
ความพิการของมือ เท้า และใบหน้า หากไม่รกั ษาจะ
ทาให้เกิดความพิการได้
ลักษณะโรค
• ภ ูมิตา้ นทานของคนไข้เป็นส่วนสาคัญที่สดุ ในการ
เกิดโรคซึ่งเป็ นภูมคิ มุ้ กันชนิดพึ่งเซลล์ (Cell Medical
Immunity, CMI)
• ผูท้ ี่รบั เชือ้ Mycobacterium Leprae มี CMI ที่สามารถ
ทาลายและยับยัง้ การแพร่กระจายของเชือ้ Leprae ได้ผนู้ นั้
ก็จะไม่เกิดอาการของโรคเรื้อน
• ผูท้ ี่มโี อกาสเป็ นโรคเรื้อนก็คือ ผูท้ ี่มี CMI ต่อ M.Leprae
ที่ผดิ ปกติ
ลักษณะโรค
ระยะของโรคเรื้อนตามความสัมพันธ์กบั CMI
1. Tuberculoid (TT)จะเกิดในผูป้ ่ วยที่มภี มู ติ า้ นทานสูง
2. Borderline (B) จะเกิดในผูป้ ่ วยที่มภี มู ติ า้ นทานอยู่กงึ่ กลาง
ระหว่างTuberculoid (TT) และ Lepromatous (LL) ซึ่งระยะนี้
แบ่งเป็ นชนิดย่อย ๆ ได้อีก 3 ชนิด คือ
2.1 Borderline tuberculoid (BT)
2.2 Borderline borderline (BB)
2.3 Borderline lepromatous (BL)
3. Lepromatous (LL) จะเกิดในผูป้ ่ วยที่ไม่มภี มู ติ า้ นทาน
4. Indeterminate (I) พบในผูป้ ่ วยที่มภี มู ติ า้ นทานไม่แน่นอน
สามารถหายเองได้หรือเปลี่ยนไปเป็ นรูปแบบอื่นได้
ลักษณะโรค
1. Tuberculoid leprosy (TT)
ภูมติ า้ นทาน CMI สูง เชือ้ มีนอ้ ยจนตรวจไม่พบและไม่พบแอนติบอดี มี
โอกาสหายได้เอง 50% ขอบเขตชัดเจน ผิวผืน่ แห้ง ชา ชัดเจน ขนร่วง
ผืน่ มักไม่เป็ นตามผิวหนังที่มอี ณ
ุ หภูมสิ งู กว่า เช่น หนังศีรษะ รักแร้ ฝ่ า
มือฝ่ าเท้า อวัยวะเพศชาย เส้นประสาทบริเวณใกล้เคียงอาจโต 1 เส้น
ผลการกรีดตรวจเชือ้ ที่ผวิ หนัง (Slit Skin Smear, SSS) มักเป็ นลบ
ลักษณะโรค
2.1 Borderline tuberculoid (BT)
BT มีภมู ติ า้ นทานค่อนข้างสูง โรคไม่หายเอง ภูมติ า้ นทานมีการ
เปลี่ยนแปลงได้upgrade เป็ น TT หรือ downgrade เป็ น BLรอยโรคมักเป็ น
ขอบผืน่ มักเอียงลาดไปด้านนอกผิวผืน่ แห้งและชาไม่มากเท่า TT ผืน่ อาจมี
ขนาดใหญ่มากกว่า10 ซม. อาจมีผนื่ เดียวหรือหลายผืน่ แต่อยู่ใกล้เคียง
กันเส้นประสาทบริเวณใกล้เคียงผืน่ อาจโต 1 - 2 เส้นผล SSS ผูป้ ่ วย
ครึ่งหนึง่ มีผลเป็ นลบ อีกครึ่งหนึง่ เป็ นบวกตา่ ๆ 1+, 2+
ลักษณะโรค
2.2 Borderline borderline (BB)
BB มีภมู ติ า้ นทานอยู่ตรงกลาง spectrum ไม่คงที่เปลี่ยนแปลงเป็ นชนิดอื่น
ได้งา่ ย จึงมีโอกาสพบโรคเรื้อนชนิดนีไ้ ด้นอ้ ย มักมีผนื่ จานวนมากกระจาย
ทัง้ ตัว มีอาการชาเล็กน้อย เส้นประสาทโตหลายเส้น ผล SSS มักให้ผล
บวก 2+, 3+
ลักษณะโรค
2.3 Borderline lepromatous (BL)
BL มีภมู ติ า้ นทานค่อนข้างตา่ ไม่เพียงพอที่จะควบคุมการแพร่กระจาย
ของเชือ้ แต่มากพอที่จะทาให้เกิด acute inflammation โดยเฉพาะใน
เส้นประสาท BL มีรอยโรคผิวหนังเหมือน BB แต่มจี านวนมาก ผืน่ มัก
แดงเป็ นมัน ไม่ชาเส้นประสาทโตและสูญเสียหน้าที่หลายเส้น ผล SSS มัก
ให้ผลบวก 3+, 4+
ลักษณะโรค
3. Lepromatous (LL)
ผูป้ ่ วย LL ไม่มี CMI ต่อ M.leprae มีระดับแอนติบอดีสงู มาก รอยโรค LL
ที่พบบ่อยที่สดุ ผืน่ นูนแดงเป็ นมัน ไม่ชา บางรายมีหหู นา หน้าสิงโต คิ้ว
ร่วงขนตาร่วง นิว้ มือบวม
ลักษณะโรค
4. Indeterminate (I)
เป็ นโรคเรื้อนในระยะต้นก่อนที่ CMI จะเข้ามากาหนดการดาเนินโรคที่
แน่นอนต่อไปพบโรคเรื้อนในระยะนีน้ อ้ ยมาก 3 ใน 4 ของผูป้ ่ วยหายได้
เองลักษณะรอยโรคเป็ น hypopigmented หรือ faint erythematous
macule อาจชาหรือไม่ชาก็ได้ ส่วนมากไม่พบ AFB ถ้าพบก็จานวนน้อย
มาก ลักษณะทางจุลพยาธิมกั พบ nonspecific perivascular, perineural
lymphocytic infiltrate
ลักษณะโรค
ในทางปฏิบตั ิเพื่อประโยชน์ในการวางแผนรักษาจะ
จาแนกผูป้ ่ วยเป็น 2 ประเภท คือ
1. โรคเรื้อนประเภทเชือ้ น้อย (Paucibacillary: PB)
หมายถึง โรคเรื้อนชนิด I ,TT ,BT ที่ตรวจไม่พบเชือ้
2. โรคเรื้อนประเภทเชือ้ มาก (Multibacillary : MB)
หมายถึง โรคเรื้อนชนิด BT ที่ตรวจพบเชือ้ BB ,BL ,และ
LL
ลักษณะโรค
การวินิจฉัย : ทาได้โดย
1.ใช้อาการและอาการแสดงทางคลินกิ (ตรวจพบรอยโรค
ผิวหนังที่มลี กั ษณะเฉพาะของโรคเรื้อน ,มีอาการชาที่รอย
โรค , พบว่ามีเส้นประสาทโต)
2. ใช้วิธีกรีดผิวหนัง (slit skin smear) ไปทาการย้อมด้วย
สีทนกรด (acid fast stain)
3. ใช้วิธีตดั ชิน้ เนือ้ ไปดูพยาธิสภาพ(biopsy)
เชื้อก่อโรค
Mycobacterium Leprae
การเกิดโรค
มีผปู้ ่ วยลงทะเบียนรักษาโรคเรื้อน 286,063 ราย คิดเป็ น
อัตราความชุก 0.45:10,000 ประชากร
ค.ศ. 2005 เหลือเพียง 9 ประเทศเท่านัน้ ซึ่งกระจายอยู่ใน
ทวีปแอฟริกา อเมริกาใต้ ในทวีปเอเชียยังคงเหลือประเทศ
ที่มคี วามชุกโรคสูงคือ อินเดีย และเนปาลเท่านัน้
การเกิดโรค
ประเทศไทย พ.ศ. 2548 มีผปู้ ่ วยมาลงทะเบียน 1306 ราย
คิดเป็ นอัตราความชุกโรค 0.21:10,000 ประชากร มี
ผูป้ ่ วยพบใหม่ในปี 2548 จานวน 638 ราย ซึ่งผูป้ ่ วย
เหล่านีก้ ระจายอยู่ทวั ่ ประเทศและยังมี 34 อาเภอ ใน 21
จังหวัด ที่ยงั คงมีอตั ราความชุกมากกว่า 1:10,000
ประชากร ส่วนใหญ่ (49%) อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แหล่งรังโรค
• คนเป็นแหล่งที่สาคัญที่ส ุด
• มีการศึกษาแสดงว่า โรคเรื้อนสามารถส่งผ่าน
ไปยังมน ุษย์ได้โดยอาร์มาดิลโล (ตัวนิ่ม)
• พบการติดเชื้อในลิงซิมแปนซีและลิง Mangabey
วิธีการแพร่เชื้อ
• จัดเป็ น Air borne disease มีการแพร่โรคคล้ายคลึง
กับวัณโรคซึ่งผูป้ ่ วยในระยะแพร่เชือ้ จะขับเชื้อที่มชี วี ิตจาก
Nasal mucosa การแพร่เชื้อผ่านบาดแผลอาจเป็นได้
• โรคเรื้อนเป็ นโรคที่ตดิ ต่อจากคนไปสูค่ นเท่านัน้ โดย
แหล่งแพร่เชือ้ ที่สาคัญคือ ผูป้ ่ วยโรคเรื้อนในระยะ
Lepromatous ที่ยงั ไม่ได้รบั การรักษา
• เชือ้ เหล่านีส้ ามารถมีชวี ิตอยู่ภายนอกร่างกายผูป้ ่ วยได้
ถึง 7 วันในนา้ มูกแห้ง
ระยะฟักตัว
ตัง้ แต่ 9 เดือน-20 ปี
(เฉลี่ย 2 - 5 ปี สาหรับชนิด Tuberculoid
และ 8 - 12 ปี สาหรับชนิด Lepromatous)
ระยะติดต่อของโรค
ผูป้ ่ วยที่สามารถแพร่เชื้อได้ คือ ผูป้ ่ วยโรคเรื้อน
ประเภทเชื้อมากที่ยงั ไม่ได้รบั การรักษา เชือ้ โรค
อาศัยอยู่บริเวณใต้ ผิวหนัง เส้ นประสาทส่ วนปลาย
และ เยื่อบุจมูกของผู้ป่วย
ความไวต่อการรับเชื้อ
• ส่วนใหญ่จะมีภมู ติ า้ นทานต่อโรค เมือ่ ได้รบั เชื้อโรคเรื้อน
โอกาสที่จะป่วยเป็นโรคมีประมาณ 5% เท่านัน้
• เด็กมีโอกาสติดโรคมากกว่าผูใ้ หญ่เนือ่ งจากมีภมู ิ
ต้านทานโรคน้อยกว่า
• ผูส้ มั ผัสโรคร่วมบ้านกับผูป้ ่ วยมีความเสี่ยงต่อการ
เป็ นโรคสูงกว่าคนทัว่ ไป
• อายุ พบได้ในทุกกลุม่ อายุ
• เพศ ในผูใ้ หญ่ เพศชายจะป่วยเป็นโรคเรื้อนมากกว่า
เพศหญิง ส่วนในเด็กจะไม่พบความแตกต่างระหว่างเพศ
วิธีการป้องกัน
• ที่ได้ผลและมีประสิทธิภาพ คือ ให้การรักษา
ผูป้ ่ วยให้เร็วที่ส ุด
• การให้สขุ ศึกษาแก่ผปู้ ่ วยและผูส้ มั ผัสให้ตรวจรักษา
อย่างต่อเนือ่ ง
• วัคซีน BCG มีประสิทธิภาพในการป้องกันการเป็ นโรค
เรื้อน 34 - 80% แตกต่างกันตามแต่ละประเทศ
เพราะฉะนัน้ การฉีดวัคซีน BCGในเด็กจึงได้ประโยชน์ใน
การป้องกันทัง้ วัณโรคและโรคเรื้อน
การรายงานและการสอบสวน
• เป็ นโรคที่จาเป็ นต้องรายงานในหลายประเทศ
• ระดับการรายงาน Class 2
• สอบสวนผูป้ ่ วยและผูส้ มั ผัส
การรักษาเฉพาะ
การรักษาโรคเรื้อนหากผูป้ ่ วยได้รบั การวินจิ ฉัยและรักษา
โดยเร็วตัง้ แต่แรกก็จะสามารถป้องกันผูป้ ่ วยจากความ
พิการได้ การรักษาโรคเรื้อนใช้ Multi-Drug Therapy (MDT)
การรักษาเฉพาะ
1. ผูป้ ่ วยประเภทเชือ้ น้อย (Paucibacillary Leprosy)
ระยะเวลารักษานาน 6 เดือน โดยใช้
1.1 Refampicin 600มก. เดือนละครัง้ (กินต่อหน้า
เจ้าหน้าที่)
1.2 Dapsone 100 มก. ต่อวันทัง้ เดือน
การรักษาเฉพาะ
2. ผูป้ ่ วยประเภทเชือ้ มาก (Multibacillary : MB)
ระยะเวลาการรักษานาน 2 ปี โดยใช้
2.1 Refampicin 600 มก. เดือนละครัง้ (กินต่อหน้า
เจ้าหน้าที่)
2.2 Dapsone 100 มก. ต่อวันทัง้ เดือน
2.3 Clofazimine 300 มก. เดือนละครัง้ (กินต่อหน้า
เจ้าหน้าที่) และทานต่อที่บา้ น 50 มก.ต่อวันทัง้ เดือน
หนองใน (Gonorrhea, Gonococcal Urethritis)
ลักษณะทางคลินิก (Clinical Description)
ชาย: ปั สสาวะแสบขัด มีหนองหรือมูกหนองจากท่อ
ปั สสาวะ บางรายอาจไม่มอี าการ
หญิง: ตกขาวเป็ นหนอง หรือมูกปนหนอง อาจมี
ปั สสาวะแสบขัด ปวดท้องน้อย บางรายอาจไม่มอี าการ
เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
• มีประวัตเิ สี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ภายใน
3 เดือน ร่วมกับมีอาการอย่างน้อยหนึง่ อาการ
ดังต่อไปนี้
• มีหนองหรือมูกหนองจากท่อปั สสาวะในผูห้ ญิงอาจมี
ตกขาวเป็ นหนอง หรือมูกปนหนอง
• มีปัสสาวะแสบขัด
เกณฑ์ทางห้องปฏิบตั ิการ (Laboratory Criteria)
ทัว่ ไป
• Gram’s stain ของหนอง มูกหนอง หรือสิ่งที่สง่ เก็บ
จากท่อปั สสาวะหรือปากมดลูก พบ intracellular gram
negative diplococci
จาเพาะ
• ผลการเพาะเชือ้ ด้วย Modified Thayer Martin Media
หรือ media อื่นๆ ที่สามารถเพาะเชือ้ N. Gonorrhoeae
ภายใต้ CO2 พบเชือ้ N.Gonorrhoeae
การรักษา (Treatment)
1. ให้การรักษาอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี้
• Ceftriaxone 250 mg. ฉีดเข้ากล้ามครัง้ เดียว
• Spectinomycin 2 mg. ฉีดเข้ากล้ามครัง้ เดียว
2. ติดตามผูท้ ี่มเี พศสัมพันธ์กบั ผูป้ ่ วยภายใน 3 เดือนก่อนมี
อาการมาตรวจรักษา
3. ให้ความรู้ ให้การปรึกษา และแนะนาการใช้ถงุ ยาง
อนามัยที่ถกู ต้อง
4. ตรวจโลหิตเพื่อค้นหาโรคซิฟิลิส ให้การปรึกษาการตรวจ
HIV และนัดตรวจโลหิตซา้ อีก 3 เดือน
หนองในเทียม (Non-Gonococcal Urethritis: NGU)
ลักษณะทางคลินิก (Clinical Description)
ชาย : มีอาการปั สสาวะแสบขัด หรือคันในท่อปั สสาวะ
อาจมีมกู ใส หรือขุน่ จากท่อปั สสาวะ บางรายอาจไม่มี
อาการ
หญิง : ส่วนใหญ่ไม่มอี าการ แต่อาจมีอาการตกขาว
ผิดปกติ มีหนองหรือมูกหนองจากปากมดลูก หรือคัน
บริเวณปากช่องคลอดได้
เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
ชาย : มีประวัตเิ สี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ภายใน 3 เดือน ร่วมกับอาการอย่างน้อยหนึง่ อาการ
ดังต่อไปนี้
• มีมกู ใส หรือมูกขุน่ จากท่อปั สสาวะ
• มีปัสสาวะแสบขัด หรือคันในท่อปั สสาวะ
หญิง : มีประวัตเิ สี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ภายใน 3 เดือน ร่วมกับมีมกู หรือมูกหนองจากปาก
มดลูก หรือมีเพศสัมพันธ์กบั ผูป้ ่ วยโรคหนองในเทียม
โดยไม่ได้ป้องกัน
เกณฑ์ทางห้องปฏิบตั ิการ (Laboratory Criteria)
• ทัว่ ไป
ชาย: ย้อม gram’s stain จากมูกหรือสิ่งที่เก็บจากท่อ
ปั สสาวะ ไม่พบ intracellular gram negative diplococci แต่พบ
เม็ดเลือดขาว PMN > 5 ตัว/oil field
หญิง: ไม่มเี กณฑ์ที่ชดั เจน
• จาเพาะ
เพาะเชือ้ จากมูก หรือสิ่งที่เก็บจากท่อปั สสาวะ พบเชือ้
Chlamydia trachomatis โดยไม่พบการติดเชือ้
N. gonorrhoeae
การรักษา (Treatment)
ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
•Doxycycline
กินครัง้ ละ 100 mg. วันละ 2 ครัง้ นาน 14 วัน
•Tetracycline
กินครัง้ ละ 500 mg. วันละ 4 ครัง้ นาน 14 วัน
•Erythromycin
กินครัง้ ละ 100 mg. วันละ 4 ครัง้ นาน 14 วัน
•Azithromycin
กินครัง้ ละ 1 g. ครัง้ เดียว
•Minocycline
กินครัง้ ละ 100 mg. วันละ 1 ครัง้ นาน 14 วัน
•Roxithromycin
กินครัง้ ละ 150 mg. วันละ 2 ครัง้ นาน 14 วัน
ซิฟิลิส (Syphilis)
ลักษณะทางคลินิก (Clinical Description)
ระยะที่ 1 ระยะแผลริมแข็ง (Primary syphilis)
แผลบริเวณอวัยวะเพศ มักมีแผลเดียว แผลสะอาดไม่เจ็บ
บริเวณก้นแผลแข็งคล้ายกระดุม
ลักษณะทางคลินิก (Clinical Description)
ระยะที่ 2 ระยะออกผื่น (Secondary syphilis) มีผนื่
ได้ทวั ่ ตัว มักมีผนื่ ที่ฝ่ามือ-ฝ่ าเท้าร่วมด้วย ลักษณะผืน่
ส่วนใหญ่จะแดง อาจนูน มีสะเก็ด ไม่คนั อาจมีผมร่วง
คิ้วร่วง หรือต่อมนา้ เหลืองโตทัว่ ตัวร่วมด้วย
ลักษณะทางคลินิก (Clinical Description)
ระยะแฝง (Early latent syphilis) ไม่ปรากฏอาการ
ใด ตรวจพบโดยการตรวจโลหิต
เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
มีประวัตเิ สี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร่วมกับ
อาการอย่างน้อยหนึง่ อาการ ดังต่อไปนี้
•แผลบริเวณอวัยวะเพศ มักมีแผลเดียว แผลสะอาดไม่
เจ็บ บริเวณก้นแผลแข็งคล้ายกระดุม
•มีผนื่ ได้ทวั ่ ตัว มักมีผนื่ ที่ฝ่ามือ-ฝ่ าเท้าร่วมด้วย
ลักษณะผืน่ ส่วนใหญ่จะแดง อาจนูน มีสะเก็ด ไม่คัน
•ผมร่วง หรือคิ้วร่วง
•ต่อมนา้ เหลืองโต
เกณฑ์ทางห้องปฏิบตั ิการ (Laboratory Criteria)
ตรวจพบข้อใดข้อหนึง่ ดังต่อไปนี้
• ตรวจนา้ เหลืองจากก้นแผล ด้วย dark field
microscope พบ เชือ้ Treponema pallidum
• ตรวจนา้ เหลืองจากเลือด VDRL (Venereal Disease
Research Laboratory) หรือ RPR (Rapid Plasma
Reagin) ได้ผล reactive
การรักษา (Treatment)
1. ใช้ Benzathine penicillin G 2.4 ล้านยูนติ ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว
(ให้แบ่งฉีดเข้ากล้ามที่สะโพกข้างละ 1.2 ล้านยูนติ )
2. หากผูป้ ่ วยแพ้ยา penicillin ให้ใช้ยาต่อไปนีอ้ ย่างใดอย่างหนึง่
•Tetracycline กินครั้งละ 500 มก. วันละ 4 ครัง้ นาน 15 วัน
•Erythromycin กินครั้งละ 500 มก. วันละ 4 ครัง้ นาน 15 วัน
•Doxycycline กินครั้งละ 100 มก. วันละ 2 ครัง้ นาน 15 วัน
แผลริมอ่อน (Chancroid)
ลักษณะทางคลินิก (Clinical Description)
เป็ นแผลบริเวณอวัยวะเพศ เริ่มต้นด้วยตุม่ แดง ลุกลาม
เป็ นตุม่ หนอง และมักแตกเป็ นแผล อาจมีแผลเดียวหรือ
หลายแผล ลักษณะแผลจะมีขอบนิ่ม ก้นแผลมีเศษ
เนื้อยย่ ุ สีเหลือง แผลนี้หากสัมผัสจะรส้ ู ึกเจ็บ อาจพบ
ต่อมนา้ เหลือง บริเวณขาหนีบบวมโต หรืออักเสบเป็ น
เป็ นฝี ร่วมด้วย
เกณฑ์ทางห้องปฏิบตั ิการ (Laboratory Criteria)
•ทัว่ ไป
•ย้อม gram’s stain หรือ Unna Papenheim พบ gram
negative coccobacilli ซึ่งเรียงตัวเป็ นแนวยาวคล้ายฝูง
ปลา (school of fish)
การรักษา (Treatment)
ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึง่ ดังต่อไปนี้
•Ofloxacin 400 mg. กินครัง้ เดียว
•Ciprofloxacin 500 mg. กินครัง้ เดียว
•Erythromycin 500 mg. กินวันละ 4 ครัง้ นาน 7 วัน
•Ceftriaxone 250 mg. ฉีดเข้ากล้ามครัง้ เดียว
ฝีมะม่วง (Lymphogranuloma venereum)
ลักษณะทางคลินิก (Clinical Description)
ตุม่ หรือแผลตืน้ ๆ บริเวณอวัยวะเพศซึ่งมักไม่เป็ นที่
สังเกต ต่อมาเชือ้ ลุกลามเข้าต่อมนา้ เหลืองบริเวณขา
หนีบ ทาให้เกิดอาการปวด บวมโต อาจอักเสบกลายเป็ น
ฝี หนอง และแตกเป็ นหนองในที่สดุ โดยไม่มแี ผลอักเสบ
บริเวณขา เท้า หรือ ทวารหนัก
เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria)
มีประวัตเิ สี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ภายใน
3 เดือน และไม่มแี ผลอักเสบบริเวณขา เท้า หรือ ทวาร
หนัก ร่วมกับอาการอย่างน้อยหนึง่ อาการ ดังต่อไปนี้
•ต่อมนา้ เหลืองบริเวณขาหนีบบวมโต อาจอักเสบ
ลุกลามกลายเป็ นฝี หนอง
•มีแผลเล็ก ๆ ตืน้ ๆ ซึ่งหายได้เอง โดยไม่ตอ้ งทาการ
รักษา แต่พบได้นอ้ ยมาก
การรักษา (Treatment)
ใช้ยาต่อไปนี้ อย่างใดอย่างหนึง่ ได้แก่
•Doxycycline กินครั้งละ 100 mg. วันละ 2 ครัง้ นาน 14 วัน
•Tetracycline กินครั้งละ 500 mg. วันละ 4 ครัง้ นาน 14 วัน
•Erythromycin กินครั้งละ 100 mg. วันละ 4 ครัง้ นาน 14 วัน