cdckorat/UserFiles/files/AEFI - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา

Download Report

Transcript cdckorat/UserFiles/files/AEFI - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา

นางสาววลีรตั น์ รักแต่งาม
นักวิชาการสาธารณส ุขชานาญการ
สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดนครราชสีมา
วัตถ ุประสงค์

อธิบายความสาคัญ ความหมาย และสาเหต ุของการเกิด
อาการภายหลังได้รบั การสร้างเสริมภูมิคม้ ุ กันได้
 อธิบายถึงอาการผิดปกติที่สาคัญภายหลังได้รบ
ั การสร้าง
เสริมภูมิคม้ ุ กันโรคและวิธีการด ูแลรักษาที่จาเป็น
 อธิบายขัน
้ ตอนในการเตรียมการให้บริการเพื่อรองรับกรณี
เกิดอาการภายหลังได้รบั การสร้างเสริมภูมิคม้ ุ กันโรคและ
การดาเนินการเมื่อพบผูป้ ่ วย AEFI
วัตถ ุประสงค์ (ต่อ)
 อธิบายวิธีการตรวจสอบการได้รบ
ั วัคซีนร่วมขวดและ
ร่วม lot number เดียวกับผูป้ ่ วย AEFI
 อธิบายวิธีการสื่อสารเกี่ยวกับอาการภายหลังได้รบ
ั
การสร้างเสริมภ ูมิคม้ ุ กันโรค
ความสาคัญ ประโยชน์ ของการสร้ างเสริม
ภูมคิ ้ ุมกันโรคทั้งบุคคลและชุมชน
การป้ องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ (ด้วยวัคซี น) ลดการเจ็บป่ วย การเสี ยชีวิต และ
ส่ งเสริ มสุ ขภาพขั้นพื้นฐานให้แก่บุคคลและชุมชน
o ลดความสู ญเสี ยทางด้านเศรษฐกิจ (ค่ารักษา/การควบคุมโรค)
o ลดการระบาด/แพร่ กระจายของโรค เมื่อบุคคลไม่ป่วย ไม่สามารถแพร่ เชื้อไปยัง
ผูอ้ ื่นที่อยูใ่ กล้เคียงและชุมชน (ทาให้เกิดภูมิตา้ นทานโรคในกลุ่มประชากรในสังคม
นั้น : Herd immunity)
o ถ้าสามารถให้วคั ซี นครอบคลุมกลุ่มเป้ าหมายที่ถึงระดับที่ทาให้เกิด Herd immunity
ได้ จะช่วยให้ป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ดว้ ยวัคซี นในกลุ่มที่ไม่ได้รับวัคซี น
ด้วย และอาจถึงขั้นสามารถกาจัดหรื อกวาดล้างโรคนั้นให้หมดไปได้
o
Herd immunity หรือ Community immunity
หมายเหตุ Herd immunity จะเกิดขึ้นกับโรคติดต่อจากคนสู่คนเท่านั้น/ไม่มีรังโรคอื่น
HERD IMMUNITY THRESHOLD
โรค
การถ่ายทอดโรค
R0
คอตีบ
ทางระบบทางเดินหายใจ
6-7
Herd
immunity
threshold
85%
หัด
ทางระบบทางเดินหายใจ
12-18
83-94%
คางทูม
ทางระบบทางเดินหายใจ
4-7
75-86%
ไอกรน
ทางระบบทางเดินหายใจ
12-17
92-94%
โปลิโอ
ผ่านเข้ าทางปาก (fecal-oral route)
5-7
80-86%
หัดเยอรมัน
ทางระบบทางเดินหายใจ
5-7
80-85%
ไข้ทรพิษหรือฝี ดาษ
สัมผัสผูป้ ่ วย
6-7
83-85%
ท๊ อกซอยด์ (Toxoid)
o
o
วัคซี นที่ทาจากพิษ (Toxin) ของแบคทีเรี ย โดยนาพิษมาผ่านกระบวนการให้
สิ้ นพิษ แต่ยงั สามารถกระตุน้ ให้ร่างกายสร้างภูมิคุม้ กันได้ ใช้สาหรับโรคที่เกิด
จากพิษของเชื้อโรค เช่น โรคบาดทะยัก โรคคอตีบ
(ทัว่ ไป) มักมีไข้หรื อปฏิกิริยา เฉพาะที่เล็กน้อย หากได้รับการฉี ดมาหลายครั้ง
หรื อร่ างกายมีภมู ิคุม้ กันอยูแ่ ล้ว อาจเกิดปฏิกิริยามากขึ้น ทาให้เกิดอาการ บวม
แดง เจ็บบริ เวณที่ฉีดและมีไข้ได้ เช่น วัคซี นบาดทะยัก (Tetanus
toxoid) วัคซี นคอตีบ (Diphtheria toxoid)
คุณล ักษณะ

ี ชนิดแขวนลอย (Suspension) สเี ทาออกขาว
เป็นว ัคซน

ผลิตจาก Purified Diphtheria Toxoid และ Purified
Tetanus Toxoid

ั ัคซน
ี : Aluminium Phosphate
มีสารดูดซบว

ี เป็น Thimerosal
มีว ัตถุก ันเสย

ไม่ม ี horse serum protein
ี
ความแรงของว ัคซน

ี 1 โด๊ส ขนาด 0.5 ml ประกอบด้วย
ในว ัคซน

Diphtheria Toxoid (d) < 5 Lf (> 2 IU); (D) > 30 IU)

Tetanus Toxoid (T) > 5 Lf (> 40 IU)

Aluminium Phosphate (Adsorbed) < 1.25 mg

Thimerosal 0.01%
ี
ขนาดบรรจุและการเก็บว ัคซน

Multiple dose

1 ขวด, บรรจุ 10 โด๊ส

ี ส
เก็บทีอ
่ ณ
ุ หภูม ิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซย
ี ทีไ่ วต่อความเย็น ห้ามแชแ
่ ข็ง!!!
เป็นว ัคซน
การเก็บวัคซีน หลังเปิ ดขวด/ ผสมแล้ วให้ ใช้ ภายในเวลา (ชั่วโมง)
วัคซีนทุกชนิดให้ เก็บในตู้เย็นช่ องธรรมดาที่ +2 ถึง +8 0C ยกเว้ น OPV เก็บในช่ องแช่ แข็ง
วัคซีนทุกชนิดทีผ่ สมนา้ ยาละลายแล้ ว ให้ เก็บที่ +2 ถึง +8 0C
ขนาดและวิธีการให้ วคั ซีน
ฉีดเข้ าใต้ ผวิ หนัง (SC) :
0.5 ml
MMR JE
ใช้ เข็ม No.26 ยาว ½ นิว้
ฉีดเข้ าในหนัง (ID) : BCG
ใช้ เข็ม No.26 ยาว ½ นิว้
ให้ ทางปาก 2-3 หยด:
OPV
ฉีดเข้ ากล้ามเนือ้ (IM):
HB DTP-HB DTP dT TT
ใช้ เข็ม No.23-26 ยาว 1 ½ นิว้
0.5 ml
1. กลไกการตอบสนองทางภูมคิ ้ ุมกันของร่ างกาย (สร้ าง
เอง)
1st injection
เมื่อร่ างกายได้รับแอนติเจน (Antigen) หรื อวัคซี นเป็ นครั้งแรก ระบบภูมิคุม้ กันจะตอบสนอง โดยการสร้าง
แอนติบอดี (Antibody) เรี ยกว่า Primary response
o ระยะเวลาตั้งแต่ร่างกายได้รับแอนติเจน จนกระทั้งมีแอนติบอดี ที่ตรวจพบเรี ยกว่า Lag period ใช้เวลา 1 – 30
วัน หรื อมากกว่า ขึ้นกับชนิด ปริ มาณ ทางเข้าของแอนติเจน
o หลังผ่าน Lag period ร่ างกายจะสร้างแอนติบอดีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ส่ วนมากเป็ น IgM ซึ่ งอยูไ่ ด้ระยะหนึ่ งแล้ว
ลดต่าลง แล้วตามด้วย IgG เพิ่มมากขึ้นอยูไ่ ด้ระยะหนึ่งแล้วลดต่าลง แต่ร่างกายได้จดจาแอนติเจนไว้แล้วโดย
Memory cell
o
กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของร่ างกาย (ต่ อ)
2nd injection
ถ้าร่ างกายได้รับแอนติเจนชนิดเดิมอีก จะตอบสนองได้อย่างรวดเร็ ว ผลิตแอนติบอดีมากกว่าครั้งแรกมาก
แอนติบอดีที่เกิดขึ้นครั้งหลังเรี ยกว่า Secondary response ซึ่ งอยูไ่ ด้นานกว่าและมีประสิ ทธิ ภาพในการจับ
แอนติเจนได้ดีกว่า
o Secondary response มีแอนติบอดี ชนิ ด IgG มากกว่า IgM
o หลักการนี้ สามารถนาไปใช้ในการวัคซี นหลายครั้ง เพื่อให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีที่ก่อให้เกิดภูมิคุม้ กันโรคได้
นานหลายปี
o
(ประยุกต์ ) การ ได้ รับวัคซีน ก่อน/หลัง กาหนดนัด หรือวัคซีน กระตุ้น
o
o
การที่ร่างกาย (Memory cell) สามารถจดจาแอนติเจนที่ได้รับเข้าไปครั้งแรกได้ ดังนั้นถ้าผูม้ ารับ
บริ การมารับวัคซีนล่าช้ากว่ากาหนด จึงไม่จาเป็ นต้องเริ่ มต้นให้ใหม่ (ไม่วา่ ล่าช้านานเท่าใด) เพราะ
Memory cell ยังอยูแ่ ละยังจาได้ จึงสามารถสร้างภูมิคุม้ กันได้ทนั ที
(ในทางตรงข้าม) หากผูร้ ับบริ การ มารับวัคซีนก่อนกาหนดหรื อใกล้กนั เกินไป อาจทาให้เกิด
ภูมิคุม้ กันต่ากว่าที่ควรจะเป็ น เนื่องจากแอนติบอดี ที่เกิดจากการได้รับวัคซี นครั้งแรกยังสูงอยู่ จึงเข้า
ไปจับกับแอนติเจนในวัคซีนที่ได้รับใหม่ (Neutralization) ทาให้แอนติเจนนั้นสู ญเสี ยประสิ ทธิภาพ
ในการกระตุน้ ภูมิคุม้ กัน
o ร่ างกายจะต้ องมีภูมิคุ้มกันโรคในระดับทีส่ ู งพอ (ต้องมีทหารทีม่ ากพอ) จึงจะ
สามารถป้องกันโรคได้ ทั้งนีข้ นึ้ กับการได้ รับวัคซีนในช่ วงเวลาที่เหมาะสม
และครบทุกครั้ง
o วัคซีนบางชนิด ถ้าร่ างกายได้รับเร็ วเกินไป ร่ างกายจะไม่สร้าง
ภูมิคุม้ กัน/สร้างได้ไม่ดี เช่น วัคซีนหัด (แนะนาให้ฉีดในเด็กอายุต้ งั แต่
9 เดือนขึ้นไป)
o วัคซีนบางชนิด เมื่อเข้าสู่ร่างกาย จะมีระดับภูมิคุม้ กันสูงขึ้นระดับ
หนึ่ง แล้วจะลดลง ต้องได้รับการกระตุน้ ตามจานวนครั้งที่กาหนด จึง
จะมีภูมิคุม้ กันสูงพอที่จะป้ องกันโรคได้
ี dT ภูมค
้
ว ัคซน
ิ ม
ุ ้ ก ันทีเ่ กิดขึน

ั
ภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันเริม
่ เกิด ~1-2 สปดาห์
หล ังฉีดโด๊สแรก

ี บาดทะย ัก 2 เข็ม ห่างก ันอย่าง
ในผูใ้ หญ่ทไี่ ด้ร ับว ัคซน
ี จะมีภม
น้อย 1 เดือน ~80% ของผูร้ ับว ัคซน
ู ต
ิ า้ นทาน
โรคสูงเพียงพอต่อการป้องก ันโรค และคงสูงได้นาน
ไม่นอ
้ ยกว่า 3 ปี

หากได้เข็ม 3 ห่างจากเข็ม 2 อย่างน้อย 6 เดือน
ี จะมีภม
พบว่า ~95% ของผูไ้ ด้ร ับว ัคซน
ู ต
ิ า้ นทานโรค
สูงเกินกว่าระด ับทีป
่ ้ องก ันโรคได้ และคงอยูไ่ ด้นานไม่
น้อยกว่า 5-10 ปี
AEFI คืออะไร
 ย่อมาจาก Adverse
Events Following
Immunization
 หมายถึง ความผิดปกติทางการแพทย์ที่
เกิดขึ้นภายใน 4 สัปดาห์หลังได้รบั วัคซีนและ
สงสัยว่าภาวะนัน้ เกิดจากการได้รบั วัคซีน
AEFI จาแนกได้ 2 ลักษณะ

อาการที่ไม่ร ุนแรง
mild, common
vaccine reaction
•Local reaction
•Systemic reaction
อาการที่ร ุนแรง
(most serious, rare
vaccine reaction)
• เช่น อาการชัก หน้ามืด
เป็นลม กรีดร้องนาน เป็น
ต้น
อาการผิดปกติที่สาคัญภายหลังได้รบั ภ ูมิคม้ ุ กันโรค
 อาการเฉพาะที่ (local adverse events) เกิดอาการ
ภายใน 5 วัน
 Injection site abscess, Sterile abscess
 อาการเฉพาะที่ที่เกิดขึน
้ รุนแรง (severe local reaction)
มีอาการบวม แดง บริเวณที่ฉีดร่วมกับ อาการบวมลาม
ไปที่ขอ้ ที่ใกล้ที่สดุ หรือ ปวด บวม แดงนานเกิน 3 วัน
อาการผิดปกติที่สาคัญภายหลังได้รบั ภ ูมิคม้ ุ กันโรค

อาการทางระบบประสาทส่วนกลาง (CNS adverse events)
Acute paralysis
Vaccine-associated paralytic poliomyelitis
Gullian-Barre syndrome
Encephalopathy
Seizure
Brachial neuritis
Febrile Seizure
Afebrile Seizure
Encephalitis
Meningitis
อาการผิดปกติที่สาคัญภายหลังได้รบั ภ ูมิคม้ ุ กันโรค
อาการอื่นๆ (other adverse events)
Hypotensive-hyporesponsive episode
Toxic shock syndrome
Persistent screaming
Thrombocytopenia
Osteomyelitis
Lymphadenitis
Athralgia
Sepsis
fever
อาการผิดปกติที่สาคัญภายหลังได้รบั ภ ูมิคม้ ุ กันโรค

อาการแพ้ (Acute hypersensitivity reaction)
Allergic reaction
Anaphylactoid reaction
จะเกิดขึน้ อย่างรวดเร็วหลังได้รบั วัคซีน
Anaphylactic shock
ร้ อยละของอาการทีไ่ ม่ รุนแรง จาแนกตามชนิดของวัคซีน
ทีม่ า คู่มอื หลักสู ตรเชิงปฏิบัติการสาหรับเจ้ าหน้ าทีส่ ร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สถาบันวัคซีนแห่ งชาติ
อัตราการเกิดอาการรุ นแรงต่ อล้ านโด๊ ส จาแนกตามชนิดของวัคซีน
ทีม่ า คู่มอื หลักสู ตรเชิงปฏิบัติการสาหรับเจ้ าหน้ าทีส่ ร้ างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สถาบันวัคซีนแห่ งชาติ
ผลข้างเคียงของ dT Vaccine ทีพ
่ บได้... บ่อยๆ

อาการบวม แดง เจ็บเฉพาะที่ พบได้บอ
่ ย

ไม่คอ
่ ยมีไข้ และอาจพบเป็นตุม
่ ไตทีผ
่ วิ หน ัง (ฉีดไม่ลก
ึ
ั้
้ )
ถึงชนกล้
ามเนือ

อาการบวมเจ็บรุนแรง (Arthus-like reaction) อาจ
พบได้บา้ ง อาการบวมเจ็บจากห ัวไหล่ไปถึงศอก
 พบอาการแสดงภายใน 2-8 ชม.หล ังฉีด
 พบในผูท
้ ม
ี่ ภ
ี ม
ู ต
ิ า้ นทานต่อ Tetanus และ/หรือ
Diphtheria ในร่างกายสูงมาก
 ด ังนน...ควรงดเข็
ั้
มถ ัดไป หรืองด booster (ภายใน
10 ปี )
สาเหต ุของการเกิด AEFI
 สาเหต ุจากวัคซีน (vaccine reaction)
 สาเหต ุจากการบริหารจัดการ (programmatic error)
 สาเหต ุจากความกังวลหรือกลัวต่อการฉีดวัคซีน
(injection reaction)
 สาเหต ุจากได้รบ
ั วัคซีนพร้อมกับเหต ุการณ์รว่ มอื่น
โดยบังเอิญ (coincident events)
 ไม่ทราบสาเหต ุ
ปฏิกิรยิ าของระบบภ ูมิคม้ ุ กันที่ตอบสนองต่อวัคซีน
สาเหต ุจากวัคซีน
(vaccine reaction)
การแพ้สารที่เป็นส่วนประกอบของวัคซีน
*ตัวเชื้อ
*ยาปฏิชีวนะ
*สารเพิ่มประสิทธิภาพวัคซีน
*สารกันเสีย
*เนื้อเยื่อที่ใช้ในกระบวนการผลิต
การเตรียมวัคซีน
การปนเป้ ื อน
การฉีด
สาเหต ุจากการบริหารจัดการ
การเก็บ
(programmatic error)
การละเลยในรายที่มีขอ้ ห้าม
การขนส่ง
เกิดจากความผิดพลาดในการบริหารจัดการ
(programmatic error)
การฉีดที่ไม่ สะอาด
- ใช้ เข็ม/กระบอกฉีดซา้
- ใช้ เข็ม/กระบอกฉีดปนเปื ้ อน
เชือ้
- วัคซีนหรื อตัวทาละลาย
ปนเปื ้ อนเชือ้
- ใช้ วัคซีนที่ผสมตัวทาละลาย
แล้ ว และทิง้ ไว้ เกินกาหนดเวลา
อาการไม่ พงึ ประสงค์
ที่อาจเกิดขึน้
เกิดการติดเชือ้ เช่ น
- เกิดฝี หรื อเนือ้ เยื่ออักเสบ
(cellulitis) ตาแหน่ งที่ฉีด
- โลหิตเป็ นพิษ
- toxic shock syndrome,
- ติดเชือ้ ทางกระแสเลือด
เกิดจากความผิดพลาดในการบริหารจัดการ
(programmatic error)
การเตรียมวัคซีนผิดวิธี
อาการไม่ พงึ ประสงค์
ที่อาจเกิดขึน้
- ผสมวัคซีนกับตัวทาละลาย - เกิดฝี ในตาแหน่ งที่ฉีด
ไม่ ดีพอ/ ไม่ ถูกต้ อง
- ใช้ ยา แทนวัคซีนหรือตัวทา - อาการจะเกิดตามชนิดของ
ละลาย
ยาที่นามาใช้ แทน
เกิดจากความผิดพลาดในการบริหารจัดการ
(programmatic error)
การฉีดวัคซีนผิดตาแหน่ ง
อาการไม่ พงึ ประสงค์
ที่อาจเกิดขึน้
- ฉีด BCG ใต้ ผิวหนัง
- เกิดอาการเฉพาะที่หรื อเกิดฝี
จากเชือ้ BCG ในตาแหน่ งที่ฉีด
- ฉีด DTP / dT / TT ตืน้ เกินไป
- เกิดอาการเฉพาะที่ หรื อ sterile
abscess จาก DTP / dT / TT
- ฉีดที่สะโพก
- เกิดการทาลาย sciatic nerve
เกิดจากความผิดพลาดในการบริหารจัดการ
(programmatic error)
ความผิดพลาด
ในการบริหารจัดการ
อาการไม่ พงึ ประสงค์
ที่อาจเกิดขึน้
การขนส่ งและการเก็บวัคซีนไม่
ถูกต้ อง
- เกิดอาการเฉพาะที่จากการใช้
วัคซีนแช่ แข็ง
การฉีดวัคซีนในรายที่มีข้อห้ าม
การฉีดวัคซีน
- เกิดอาการไม่ พงึ ประสงค์ ท่ ี
รุ นแรง
Breath-holding
Fainting
สาเหต ุจากการความกลัวหรือกังวล
(injection reaction)
hyperventilation
Mass hysteria
เกิดจากความกังวลหรือความกลัวต่ อการฉีดวัคซีน
(injection reactions)
เกิดจากการกลัวเข็ม กลัวเจ็บ วิตกกังวล และคิดไปก่ อน
ล่ วงหน้ าเกี่ยวกับการฉีดวัคซีน โดยไม่ มีสาเหตุเกี่ยวข้ องกับสาร
ในวัคซีน
• Fainting เป็ นลม (vasovagal
syndrome) พบบ่อยที่สดุ ระวัง
อันตรายจากการล้ ม
เกิดจากความกังวลหรือความกลัวต่ อการฉีดวัคซีน
(injection reactions) (ต่ อ)
 Hyperventilation
รู้สึกตัวเบา มึน งง วิงเวียนศีรษะ
หน้ ามืด เป็ นลม รู้สึกคัน (tingling) รอบๆ ปาก และปลาย
มือ ชาตามแขนขาปลายมือปลายเท้ า
 เด็กอายุน้อยอาจมีอาการอาเจียน กลัน้ หายใจ ร้ องไห้
เพื่อหลีกเลี่ยงการฉีดวัคซีน
เกิดจากความกังวลหรือความกลัวต่ อการฉีดวัคซีน
(injection reactions) (ต่ อ)
 Breath-holding
การกลัน้ หายใจหรือมีอาการเกร็ง /
กระตุกระยะสัน้ ๆ
เกิดจากความกังวลหรือความกลัวต่ อการฉีดวัคซีน
(injection reactions)(ต่ อ)

Mass hysteria อาจเกิดในการรณรงค์ ให้ วัคซีน มักเกิดกับคนที่
ได้ รับวัคซีนก่ อน เช่ น เป็ นลม ชัก แล้ วเกิดตามกันหลายคน
เด็กอาย ุหนึ่งเดือนฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีเมื่อตอนเย็นที่
คลินิกแล้วพบว่านอนเสียชีวิตตอนเช้าวันรงุ่ ขึ้น
ข้อเท็จจริง วัคซีนที่ใช้ฉีดให้เด็กคนนัน้ ได้ฉีดให้กบั เด็กสองคน อีกคน
ปรกติไม่มีปัญหา ผลการตรวจศพพบว่าไม่เกี่ยวกับวัคซีน เด็กตาย
ด้วยโรค Sudden Infant Death Syndrome (SIDS)
หรือ Sudden Unexpected Death in Infancy
(SUDI) ตรงตาแหน่งที่ฉีดวัคซีนไม่มีอาการบวมหรือแม้แต่
เลือดออก โรคSIDS นี้พบในเด็กอาย ุ 1 เดือน ถึง 1 ปี แต่ทีพบ
บ่อยส ุดคืออาย ุ 1 ถึง 4 เดือน ซึ่งเป็นอาย ุที่เด็กเริม่ ฉีดวัคซีนพอดี
สาเหต ุจากการการเกิดเหต ุการณ์รว่ มอื่น
(coincident events)
เกิดขึน้ โดยบังเอิญ(coincidental events)
 ตัวอย่ าง
: พ.ศ. 2539 หลังจากการรณรงค์ ให้ วัคซีน
โปลิโอ (National Immunization Days) ในประเทศหนึ่ง
พบว่ ามีรายงานผู้ป่วยอัมพาตหลังจากได้ รับวัคซีน OPV
เมื่อมีการตรวจพิสูจน์ ทางห้ องปฏิบัตกิ ารแล้ ว พบ wild
polio virus ซึ่งแสดงว่ าผู้ป่วยคนนีม้ ีการติดเชือ้ wild polio
virus มาก่ อนที่จะได้ รับวัคซีน OPV จึงสรุ ปได้ ว่าการเกิด
อัมพาตในกรณีนีไ้ ม่ ได้ เกิดจากวัคซีน แต่ เป็ นเหตุการณ์
ร่ วมโดยบังเอิญ (coincidental event)
ไม่ ทราบสาเหตุ (unknown)
 ผลการสอบสวนหาสาเหตุของการ
เกิดอาการภายหลังได้ รับการสร้ าง
เสริมภูมิค้ ุมกันโรคในทุกด้ านแล้ ว
ไม่ สามารถระบุสาเหตุของการเกิด
ได้
การด ูแลรักษาผูป้ ่ วยที่มีอาการแพ้ร ุนแรง
(anaphylaxis)

แนะนาให้ผร้ ู บั บริการสังเกตอาการนา เช่น คันที่ผิวหนัง มีผื่นและบวม
รอบบริเวณที่ฉีด รูส้ ึกร้อนผ่าว ปากบวม หน้าบวม ผิวหนังแดงและคัน
เสียงแหบ คลื่นไส้อาเจียน บวมในลาคอ หายใจไม่ออก หายใจลาบาก
มีเสียง wheezing หรือ stridor ชีพจร เบา เร็ว และจะนาไปสูภ่ าวะหมดสติ
ไม่รส้ ู ึกตัว
การด ูแลรักษาผูป้ ่ วยที่มีอาการแพ้ร ุนแรง
(anaphylaxis)
 ให้นอนราบ ด ูแลทางเดินหายใจ clear airway และให้
ออกซิเจน
 ตรวจการหายใจ วัด BP, Pulse ถ้า carotid pulse แรง
และช้า ไม่ใช่ anaphylaxis
 ถ้าพบว่าผูป
้ ่ วย shock
ให้ทา CPR
การด ูแลรักษาผูป้ ่ วยที่มีอาการแพ้ร ุนแรง
(anaphylaxis)
 ให้ adrenaline 1:1000 ขนาด 0.01 mg/kg (สูงส ุด 0.5 mg) IM
ควรเป็นข้างเดียวกับที่ได้รบั วัคซีน เพื่อให้วคั ซีนที่คาดว่าจะแพ้มี
การด ูดซึมช้าลง
 เมื่อได้รบ
ั adrenaline แล้วผูป้ ่ วยรส้ ู ึกตัว ให้ด ูแลร่างกายให้อบอนุ่
และให้นอนศีรษะต่า
การด ูแลรักษาผูป้ ่ วยที่มีอาการแพ้ร ุนแรง
(anaphylaxis)
หลังให้ adrenaline แล้วไม่ดีข้ ึนภายใน 10-20 นาที ให้ฉีดซ้ าขนาดเดิมได้ไม่เกิน
3 ครั้ง หากต้องให้ต่อสามารถฉีด dose ต่อไปได้ภายใน 5 นาที นับจาก dose
ก่อน
 บันทึกสัญญาณชีพอย่างต่อเนื่ องจนกว่าจะเข้าสู่ ภาวะปกติ
 หากผูป
้ ่ วยมีอาการดีข้ ึนและอาการคงที่ ให้ยาต้านฮีสตามีนชนิดกิน และยา
ในกลุ่ม corticosteroid เช่น prednisolone ขนาด 1.5-2.0 mg/kg/day นาน
24-48 ชม.
หากไม่มีศกั ยภาพในการด ูแลผูป้ ่ วยให้รบี ส่งต่อหลังให้ adrenaline
การเตรียมการให้บริการเพื่อรองรับกรณีเกิดAEFI
การกาหนดลาดับที่ขวดวัคซีน
การบันทึก lot number และลาดับที่ขวด
วัคซีน
การเก็บวัคซีนส่งตรวจวิเคราะห์ค ุณภาพ
การเฝ้าระวังและสอบสวนอาการ AEFI
ี
การกาหนดลาด ับทีข
่ วดว ัคซน
ี แห่งชาติ กรมควบคุมโรค;หลักสูตร
ทีม
่ า: สถาบันวัคซน
เชงิ ปฏิบต
ั ก
ิ ารสาหรับเจ ้าหน ้าทีส
่ ร ้างเสริมภูมค
ิ ุ ้มกันโรค
การเก็บวัคซีนส่งตรวจวิเคราะห์คณ
ุ ภาพ
 หลังการให้บริการ เก็บขวดวัคซีนไว้ใน
ตเ้ ู ย็นเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 7 วัน
 เก็บขวดวัคซีนหลังใช้ ในตเ้ ู ย็นอ ุณหภูมิ
2-8 C ปราศจากเชื้อ
การดาเนินการเมื่อพบผูป้ ่ วย AEFI
 แจ้งผูร้ บ
ั ผิดชอบงานระบาดวิทยา
 ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT)
ทาการ
สอบสวนภายใน 24 ชม. บันทึกข้อมูลในแบบฟอร์ม
AEFI 1
 หากผูป
้ ่ วยเสียชีวิต /ต้องเข้ารับการรักษา/ พบผูป้ ่ วย
เป็นกลมุ่ / ประชาชนมีความเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับวัคซีน
ต้องสอบสวนเพิ่มเติมและบันทึกข้อมูลใน AEFI 2
การดาเนินการเมื่อพบผูป้ ่ วย AEFI
 การส่งวัคซีนตรวจเพื่อวิเคราะห์ค ุณภาพ
 การพิสจู น์ศพ
 สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเรือ
่ งที่เกิดขึ้น ต่อ
ผูป้ กครองและช ุมชน
การตรวจสอบการได้รบั วัคซีนร่วมขวดและ
ร่วม lot number เดียวกับผูป้ ่ วย
 ตรวจสอบจากทะเบียนและบัญชี
 ตรวจสอบผูท
้ ี่ได้รบั วัคซีน ชนิดเดียวกันและขวด
เดียวกัน
 ตรวจสอบว่ามีผใ้ ู ดที่ได้รบ
ั วัคซีนต่างขวดแต่ lot
number เดียวกัน
 ติดตามอาการผูท
้ ี่ได้รบั วัคซีนขวดหรือ lot number
เดียวกันต้องเฝ้าระวังต่อจนครบ 4 สัปดาห์
การสื่ อสารก่อนได้ รับการสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค
ข้ อมูล ก่ อน การให้ บริการสร้ างเสริมภูมคิ ้ ุมกันโรค
 โรคที่ต้องได้ รับการสร้ างเสริมภูมคิ ้ ุมกันโรค
 สาเหตุ การติดต่ อ และ ความรุ นแรงของโรค
 ประโยชน์ ที่ได้ รับเมือ่ สร้ างเสริมภูมคิ ้ ุมกันโรค
 อาการข้ างเคียงที่อาจเกิดขึน
้ ได้ หลังการได้ รับภูมคิ ุ้มกันโรค
 อาการข้ างเคียงที่พบได้ บ่อยหลังได้ รับภูมคิ ้ ุมกันโรคมีอะไรบ้ าง
 แนวทางการป้ องกันและการดูแลรักษาเบือ้ งต้ นเมือ่ เกิดอาการ
ข้ างเคียง
ข้ อดี ของการสื่อสาร
ก่ อน ให้ บริการสร้ างเสริมภูมิค้ ุมกันโรค
มีข้อมูลในการตัดสิ นใจรับบริการ
สร้ างความตระหนักให้ มกี ารเฝ้ าระวัง AEFI
 การค้ นพบผู้ป่วย AEFI ได้ อย่ างรวดเร็ว
 การดูแลรักษาอย่ างรวดเร็ว ทันเวลา และปลอดภัย
 ลดปัญหาข้ อร้ องเรียน การฟ้ องร้ องผู้ให้ บริการ
 ความครอบคลุมของการได้ รับการสร้ างเสริม
ภูมคิ ุ้มกันโรค
ข้ อมูล หลัง การให้ บริการสร้ างเสริมภูมคิ ้ ุมกันโรค
1.การสั งเกตอาการทีส่ ถานบริการหลังการให้ วคั ซีน
อย่ างน้ อย 30 นาที
2.อาการทีไ่ ม่ รุนแรง เช่ น ปวด บวม แดง ร้ อน ไข้ สามารถดูแล
รักษาเบือ้ งต้ นและดูแลต่ อทีบ่ ้ านได้
กรณีทเี่ กิดอาการแพ้ อย่ างรุนแรงอาจต้ องได้ รับการ
ส่ งต่ อเพือ่ รับการดูแลรักษาจากแพทย์ อย่ างใกล้ ชิด
ข้ อมูล หลัง การให้ บริการสร้ างเสริมภูมคิ ้ ุมกันโรค
3.อาการทีต่ ้ องพามารับการดูแลรักษาโดยเร็วทีส่ ุ ด เช่ น ไข้ สูง
ผืน่ หายใจลาบาก
ข้ อมูล หลัง การให้ บริการสร้ างเสริมภูมคิ ้ ุมกันโรค
4.กรณีทพี่ บ AEFI ซึ่งมีอาการรุนแรงและ/หรือ รับไว้ รักษาใน
โรงพยาบาล ทีมผู้ดูแลให้ ข้อมูลทีช่ ัดเจนตามจริงแก่ ผ้ ูมารับ
บริการ
5.การรายงานข้ อมูล AEFI ทีเ่ กิดขึน้ ให้ SRRT โดยเร็วทีส่ ุ ด
และสามารถให้ ข้อมูลทีถ่ ูกต้ องแก่ ชุมชนและสื่ อได้
ข้ อดีของการสื่อสาร
หลังให้ บริการสร้ างเสริมภูมิค้ ุมกันโรค
ผู้มารับบริการมีความตระหนักในการเฝ้ าระวัง AEFI
 ทัศนคติทดี่ ตี ่ อการมารับวัคซีน
 ลดความเข้ าใจผิด ข่ าวลือ
สวัสดีคะ