นางสาวชนินทร รัตนเวชสิทธิ เลขที่ 10

Download Report

Transcript นางสาวชนินทร รัตนเวชสิทธิ เลขที่ 10

โดย
นางสาวชนินทร รัตนเวชสิทธิ
ชัน้ ม.4/1 เลขที่10
เสนอ
อาจารย์ ชัยสิทธิ์ พงษ์ พฒ
ั น
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก
จาคอบ เบอร์ นลู ี่ (Jacob Bernulli) เขาสร้ างวิธีไว้ โดย
เป็ นสูตรอยูใ่ นรูปของความน่าจะเป็ น
Number_s
จานวนครัง้ ที่การทดลองได้ รับผลสาเร็จ
Trials
จานวนครัง้ ของการทดลองที่เป็ นอิสระต่อกัน
Probability_s ความน่าจะเป็ นที่จะได้ รับผลสาเร็จในการทดลองแต่ละครัง้
Cumulative ค่าตรรกะที่กาหนดรูปแบบของฟั งก์ชนั ถ้ า cumulative เป็ น TRUE แล้ ว
BINOM.DIST จะส่งกลับฟั งก์ชนั การแจกแจงสะสม ซึง่ เป็ นความน่าจะ
เป็ นที่มี ความสาเร็จไม่เกิน number_s ครัง้ และถ้ าเป็ น FALSE จะ
ส่งกลับฟั งก์ชนั มวลของความน่าจะเป็ น ซึง่ เป็ นความน่าจะเป็ นที่มี
ความสาเร็จ number_s ครัง้
ฟั งก์ชนั่ ของ
ไมโครซอฟท์เอกซ์เซล
ตัวอย่ าง โอกาสที่เหรี ยญบาทจะออกก้ อยอย่างน้ อย 10 ครัง้ ในการโยน
เหรี ยญทังหมด
้
20 ครัง้ จะเป็ นเท่าใด
ปั ญหาลักษะนี ้สามารถใช้ ฟังก์ชนั นี ้ในการแก้ ปัญหา โดยเพียงป้อน
คาสัง่ ในเอกเซลล์ด้วย
=binomdist (9,20,50%,true)
ซึง่ หมายความว่าโอกาสที่เหรี ยญจะออกก้ อยไม่เกิน 9 ครัง้ ใน 20
ครัง้ ซึง่ ผลลัพธ์ที่ได้ เมื่อป้อนค่านี ้ลงไปจะได้ เท่ากับ 0.41 ดังนัน้ โอกาสที่
เหรี ยญจะออกก้ อยอย่างน้ อย 10 ครัง้ ขึ ้นไป = 1-0.41 = 0.59
หากต้ องการทราบ จานวนแขกที่มาในงานเลี ้ยงก็สามารถที่จะใช้ สตู ร
นี ้ได้ เช่นกัน เพราะแขกที่มาในงานเลี ้ยง จะมาหรื อไม่นนั ้ ก็เปรี ยบเหมือนกับ
การโยนเหรี ยญ สมมุติวา่ ถ้ าแจกบัตรเชิญแขกไปทังสิ
้ ้น 200 ใบ และ
คาดการณ์วา่ แขกจะมาร่วมงานอยู่ 70% ด้ วยกัน ดังนันน่
้ าจะจองที่นงั่ ไว้
140 ที่ (เพราะคิดว่า 70% ของ 200 คือ 140)
ในตัวอย่างนี ้เราลองมาหาความน่าจะเป็ นที่ แขกจะมาร่วมงาน
เกิน 140คน ดังนันเราจะใช้
้
สตู ร คือ
1-binomdist (140,200,70%,true)
ซึง่ ผลลัพธ์ที่ออกมาจะมีคา่ เท่ากับ
47% แสดงว่าจะมี
โอกาสที่แขกนัน้ จะมาล้ นงานถึง 47% ซึ่ง
นับว่ าสูงมาก และถือว่าเป็ นความที่เสี่ยงที่สงู เกินไป
ดังนัน้ หากเราต้ องการที่ลดความเสี่ยงที่มีโอกาสจะเกิดขึน้ มีวิธีท่ ี
สามารถทาได้ อย่ างไร
เราสามารถลดความเสี่ยงลงได้ หากเราเพิ่มที่นงั่ ให้ มากขึ ้น
จากเดิม ดังนันจึ
้ งเกิดคาถามต่อไปว่า ควรจะเพิ่มที่นงั่ เท่าไร
จานวนที่นงั่ จะเหมาะสมกับจานวนแขกที่มางาน ซึง่ ผลการ
คานวณจากตัวอย่างที่แล้ ว เมื่อทาการจองที่นงั่ ไว้ 140 ที่ จานวน
แขกที่จะมาล้ นงานสูงถึง 47% ซึง่ หากทาการเพิ่มค่าที่นงั่ ให้ มาก
ขึ ้น ความน่าจะเป็ นที่แขกมาล้ นงานจะมีคา่ ดังนี ้
1) เมื่อเพิ่มที่นงั่ เป็ น 145 จะต้ องป้อนค่า =1-binomdist(145,200,70%,true) = 20%
2) เมื่อเพิ่มที่นงั่ เป็ น 150 จะต้ องป้อนค่า =1-binomdist(150,200,70%,true) = 5%
3) เมื่อเพิ่มที่นงั่ เป็ น 155 จะต้ องป้อนค่า =1-binomdist(155,200,70%,true) = 0.5%
จากผลการคานวณจะเห็นว่า
ควรจองที่นงั่ เท่ากับ 155 ที่ เพราะ
โอกาสที่แขกจะมาล้ นงานนันมี
้ คา่
น้ อยที่สดุ และไม่เป็ นการเผื่อที่มาก
เกินไปอีกด้ วย...
http://vcharkarn.com/varticle/316
http://niyomtutor.blogspot.com/2011/10/blog-post_26.html