sound-equipment - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Download Report

Transcript sound-equipment - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

อุปกรณ์ ในห้ องบันทึกเสียง
สุรพล บุญลือ
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี
อุปกรณ์ ในห้ องบันทึกเสียง
อุปกรณ์ เสริมแต่ งมิติ (special effects)

เป็ นอุปกรณ์ ท่ สี ร้ างมิตแิ ละปรุ งแต่ งให้ กับเสียงสัญญาณนัน้ ๆ
เพื่อทาให้ เกิดความกว้ าง ความลึก ความสูง จาลอง
สภาพแวดล้ อมของธรรมชาติของการได้ ยนิ และความรู้สึกของ
ผู้ฟัง ซึ่งมีอยู่หลายชนิดด้ วยกัน
แอคโค(echoes)

เมื่อเราร้ องตะโกนในหุบเขาเราจะได้ ยนิ เสียงสะท้ อนกลับมา เรียกว่ า แอคโค (echoes)
ซึ่งเกิดจากการที่เสียงที่เปล่ งออกมาวิ่งไปชนกับหุบเขาแล้ วสะท้ อนกลับไปมาสู่หขู อง
เรา ระยะทางระหว่ างเสียงและวัตถุท่ สี ะท้ อนเสียงมีผลต่ อระยะทางการสะท้ อนกลับของ
เสียง หากเรายืนอยู่ใกล้ หุบเขาเสียงสะท้ อนก็จะเร็วขึน้ ในทางกลับกันหากเรายืนห่ าง
ออกไปเสียงที่ว่ ิงกลับมาก็จะใช้ เวลามากขึน้ ตามไปเช่ นกัน
ดังนัน้ แอคโค (echoes) จึงถูกสร้ างขึน้ มา
เพื่อเลียนแบบการสะท้ อนในลักษณะที่ว่านี ้ หากมีการสะท้ อนกลับของ
เสียงเพียงครั ง้ เดียว เราเรี ยกว่ า สแล็ปแบ็ค (slapbacK)
 หากมีการสะท้ อนกลับมามากกว่ าหนึ่งครั ง้ เราเรี ยกว่ ามัลติเพิลดีเลย์
(multiple delay)

รีเวิร์บ(reverberation)

เวลาเราคุยกันอยู่ในโบสถ์ หรือห้ องโถงขนาดใหญ่ เราจะสังเกตุได้ ว่ามีเสียงดังก้ อง
ไปมาอยู่ตลอดเวลาในขณะที่กาลังคุยกัน ซึ่งการสะท้ อนนีเ้ ราเรี ยกว่ ารี เวิร์บ (reverb)
หลักการสะท้ อนของรีเวิร์บ

จากรูปเมื่อเสียงทีเปล่ งออกมาจากแหล่ งกาเนิดเสียง (sound source) เสียงส่ วน
หนึ่งจะวิ่งตรงสู่ผ้ ูฟัง (listener) ในขณะที่อีกส่ วนหนึ่งวิ่งสะท้ อนไปมารอบๆ ห้ อง จึงทา
ให้ เกิดการหน่ วงของเวลาของเสียงในบางส่ วนซึ่งทาให้ เกิดอาการเสียงก้ อง
รีเวิร์บนัน้ ต่ างจกาแอคโคตรงที่ว่าในแอคโคนัน้ จะมีการหน่ วงเสียงต้ นกาเนิดจน
เรารู้สึกได้ ถงึ ตัวตนของเสียง แต่ ในรีเวิร์บนัน้ เราจะไม่ ได้ ยนิ เสียงต้ นกาเนิดอย่ างชัดเจน
เพราะมันจะสัน้ มากไม่ สามารถซา้ เสียงต้ นกาเนิดได้ แต่ ส่ ิงที่เราได้ ยนิ ก็เพียงแต่ เสียง
สะท้ อนกังวาลไปมาของเสียง ซึ่งให้ ความรู้ สึกแผ่ กว้ างของโทนเสียง
หลักการใช้ รีเวิร์บ
 เนื่องจากการได้ ยน
ิ ของเราทุกวันเกี่ยวเนื่องกับรีเวิร์บอยู่
ตลอดเวลา ดังนัน้ เราจึงคุ้นเคยกับมิตขิ องเสียงที่ได้ ยนิ คุ้นเคยกับ
สถานที่ต่างๆ เช่ น ห้ องนั่งเล่ น ห้ องประชุม เป็ นต้ น
 ว่ าเสียงทีได้ ยน
ิ จะแตกต่ างไปตามลักษณะของห้ อง ดังนัน้ จึงใช้
รีเวิร์บเพื่อจุดประสงค์ เดียวคือการจาลองสิ่งต่ างๆ ให้ สมจริงให้
ได้ มากที่สุดเพื่อความรู้สึกในขณะฟั งที่สมจริงนั่นเอง
เออรี่รีเฟล็กชัน (Early Reflections)

ในขณะที่เราตบมือเสียงที่ว่ ิงชนกับผนั งแล้ ววิ่งกลับมาหาเราครั ้งแรกสุ ด
เราเรี ยกว่ าเออรี่ รีเฟลกชัน (early reflections) ซึ่งจะมีความนานไม่ เกิน
50ms และเมื่อเสียงวิ่งสะท้ อนไปมามากขึน้ และยาวขึน้ เนื่องจากห้ องที่มี
ขนาดใหญ่ ขึน้ ก็จะเริ่ มกลายเป็ นเสียงก้ อง (reverb) และหากค่ าความนาน
ของการก้ องนานขึน้ เราเรี ยกว่ าดีเคย์ (decay) และเราใช้ หน่ วยของเวลามา
เ ป็ น ตั ว วั ด ร ะ ย ะ ท า ง ข อ ง รี เ วิ ร์ บ แ ล ะ แ อ ค โ ค ทั ้ ง น า ที แ ล ะ วิ น า ที
รีเวิร์บไทม์ (Reverb Time)

หมายถึงความยาวของเสียงที่เกี่ยวเนื่องกับช่ วงเวลาที่เสียงเปล่ งออกมา
และกระทบไปมาในห้ องจนเสียงนัน้ จางหายไป ยิ่งเสียงนัน้ ๆ จางหายช้ ามาก
เท่ าไหร่ เวลาการก้ องนัน้ ก็จะยาวมากขึน้ ด้ วย ซึ่งค่ าเวลาของการเกิดรี เวิร์บจน
จากหายไปนัน้ สามารถบอกได้ ถงึ ขนาดของห้ อง (size) วัสดุในห้ อง (surfaces)
และขนาดของห้ องจะเป็ นตัวกาหนดเวลาของรี เวิร์บทัง้ นีเ้ พราะวัสดุท่ ีมีผิวแข็ง
เรี ยบจะสะท้ อนได้ ดีและเร็ว จึงทาให้ เสียงนัน้ จากหายไปช้ าตรงข้ ามกับวัสดุท่ ีมี
ผิวรู พรุ นจะกักเสียงได้ มากจึงทาให้ เสียงจากหายเร็ว ขนาดของห้ องก็เช่ นกัน
ห้ องที่มีขนาดใหญ่ เสียงจะใช้ เวลาสะท้ อนไปมามากขึน้ เช่ น ในวัดเราจะรู้ สกึ ถึง
ความก้ องของเสียงที่มีมามากกว่ าในห้ องเล็กๆ
ชนิดของรี เวิร์บ
แชมเบอร์ (Chambers)

หมายถึงการจาลองลักษณะห้ องที่มีการสะท้ อนมากๆ เช่ น ในห้ อง
สภา ทางเดินยาวๆ หรื อ ในสถานที่เล่ นสคว็อต เป็ นต้ น เราอาจใช้ การ
บันทึกเสียงโดยใช้ ไมโครโฟนเองก็ได้ เพื่อสร้ างความรู้ สกึ ที่เป็ นแบบแชม
เบอร์ (chambers) เช่ น ในขณะบันทึกเสียงกีตาร์ โปร่ ง เราจับไมค์ ท่ ีตัวกีตาร์
ในขณะที่อีกตัวจันเสียงที่สะท้ อนของห้ อง(ลองหามุมที่สะท้ อนได้ ชัดเจน
ที่สุด) ไมค์ ท่ ีจับเสียงสะท้ อนนีเ้ พื่อจับลักษณะของห้ องและของเสียงเมื่อมี
การสะท้ อนออกมา ซึ่งเมื่อเรานามารวมกับไมค์ ท่ อี ยู่ใกล้ กับกีตาร์ จะช่ วยให้
เสียงกีตาร์ ฟังดูดีมาก วิธีนีเ้ ป็ นที่นิยมมากเมื่อสมัยก่ อนและในปั จจุบันก็ยัง
มีใช้ บ้าง แต่ ลักษณะของห้ องจะมีส่วนสาคัญต่ อเสียงสะท้ อนมากอีกด้ วย
เพลรีเวิร์บ (Plate Reverb)

จัดได้ ว่าเป็ นรี เวิร์บยุคต้ นๆ ซึ่งมีใช้ กันอย่ างแพร่ หลาย และมีโทน
เสียงที่เป้นอมตะเลยทีเดียว มักนิยมใช้ กับกลอง เสียงร้ อง ซึ่งจะให้ โทน
เสียงที่ยาวและมีนา้ หนัก เพลตรี เวิร์บ (plate revervs) เกิดจากการส่ ง
สัญญาณเสียงผ่ านวงจรทางอิเล็กทรอนิกส์ แล้ วส่ งต่ อไปยังแผ่ นโลหะบางๆ
ยาวๆ หรื อบางทีกเ็ ป็ นแบบวงกลม ซึ่งจะทาให้ เสียงเกิดมีค่าความสั่นค้ าง
(vibration) และหน่ วงเวลาในการเดินทางของเสียงเพิ่มตามไปด้ วย
ขนาดของเพลต (plate)

โดยส่ วนใหญ่ ขนาดของเพลต (plate) นัน้ จะอยู่ระหว่ าง 0.15
x 1 m ไปจนถึง 4 x 5m และยังสามารถหยุดระยะการสั่นได้ ตาม
ความเหมาะสมเพื่อตัง้ ค่ า reverb time นั่นเองโดยมีอุปกรณ์ ท่ ี
เรียกว่ า แดมปิ ้ ง (damping) อยู่ท่ ตี วั เพลต (plate) ซึ่งทางานใน
ลักษณะเดียวกับเบรคในรถนั่นเอง
สปริงรีเวิร์บ (Spring Reverb)

ใช้ หลักการเดียวกับเพลตรี เวิร์บ (plate reverbs) เพียงแต่ เปลี่ยนแผ่ นโลหะ
ให้ กลายเป็ นสปริงแทนนั่นเอง ซึ่งจะมีตัง้ แต่ สปริงเดียวไปจนถึงสองและ
สามสปริง เราจะพบเห็นได้ บ่อยๆ ในตู้แอมป์กีตาร์ ซึ่งเสียงที่ออกมาจะมี
ลักษณะเหมือนเราดีดสปริงแล้ วได้ ยนิ เสียงที่ดีดออกมา มันจะใช้ ได้ ดีกับ
เสียงร้ อง เสียงกีตาร์ แต่ ไม่ ดีกับเสียงกลอง และเครื่ องดีดอื่นๆ เนื่องจาก
เสียงกลองจะมีการวิ่งของสัญญาณที่รุนแรงทาให้ การสั่นของสปริงไมคงที่
เสียงที่ออกมาจึงไม่ น่ ิง
ดิจติ อลรีเวิร์บ (Digital reverbs)
 เป็ นอุปกรณ์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ ล้วนๆ ที่จาลองการสร้ างเสียง
รีเวิร์บแบบต่ างๆ ที่กล่ าวมาข้ างต้ น มีความสะดวกต่ อการใช้ งาน
และยังสามารถตัง้ ค่ าจาลองขนาดของห้ อง ความสูง ความกว้าง
และสามารถตัง้ ค่ าดีเลย์ และอีคิวได้ ด้วย อีกทัง้ สามารถเก็บข้ อมูล
ที่เราปรับแต่ งไว้ ได้ ด้วยเพื่อการนากลับมาใช้ ใหม่
เกตรีเวิร์บ (Gate Reverb)

เกิดจากการจากัดเวลาความยาวของรีเวิร์บให้ สัน้ ลง ให้
เท่ ากับจังหวะของดนตรีด้วยการตัง้ ค่ าที่นอส์ เกต (noise gate) ซึ่ง
เราเรียกการจากัดเวลานีว้ ่ า เกตไทม์ (gate time) ซึ่งนิยมใช้ กับ
กลองเป็ นส่ วนมาก เพราะให้ ความรู้สึกถึงความมั่นคงและดุดัน
รีเวิร์สรีเวิร์บ (Reverse Reverb)

เป็ นการทาให้ เกิดการย้ อนกลับเสียงโดยแทนที่จะให้ เสียงจางหายไป
ตามปกติกลับให้ ปลายเสียงย้ อยกลับมาที่ต้นเสียงใหม่ อีกครั ง้ โดยมีความ
ดังที่เพิ่มขึน้ อย่ างรวดเร็วซึ่งความยาวของการย้ อนนี ้ (reverse) เรี ยกว่ า รี
เวิร์สไทม์ (reverse time) จะให้ ความรู้ สกึ ที่เร่ าร้ อน พุ่งทะลวง

คาศัพท์ ท่ คี วรรู้ ในดิจติ อลรี เวิร์บ
(Delay)
ดีเลย์ (delay) เป็ นเอฟเฟ็ กต์ ท่ ใี ห้ มิติ ความมีชีวิต ความกว้ าง ซึ่งดีเลย์ (delay)
สามารถให้ เสียงที่เป็ นทัง้ รีเวิร์บ (reverb) แบบสัน้ ๆ หรือ แฟลงเจอร์ (flanger) หรือ
คลอรัส (chorus) ได้ อีกด้ วย
ดีเลย์ (delay) ทาหน้ าที่ยืดเวลาของสัญญาณเสียงทีเข้ ามาตัง้ แต่ วินาทีไปจนถึง
นาทีซ่ งึ ดีเลย์ (delay) ในยุคแรกๆ นัน้ สร้ างมาจากเครื่องเล่ นเทปซึ่งติดตัง้ หัวเทปไว้
หลายหัวซึ่งจะเป็ นตัวกาหนดจานวนการเกิดดีเลย์ ของต้ นเสียง และระยะความห่ างของ
หัวเทปที่ห่างกันนัน้ ทาให้ เกิดช่ วงเวลาของการได้ ยนิ เสียงซึ่งก็คือดีเลย์ ไทม์ (delay time)
นั่นเอง
และต่ อมาในยุค 70 เริ่มมีอะนาลอกดีเลย์ (analog delay) เกิดขึน้ มาและเป็ นที่
นิยมของนักดนตรีมากเพราะมีความสะดวกในการใช้ งาน ต่ อมาในปี 72 ได้ มี ดิจติ อล
ดีเลย์ (digital delay) หรือ ในชื่อย่ อๆ ว่ า DDL (digital delay) ออกมาเป็ นเครื่องแรกและ
ได้ รับความนิยมจนถึงปั จจุบนั นี ้ เพราะเสียงที่มีคุณภาพมากขึน้ โปรแกรมในการตัง้ ที่มี
ความละเอียดมากขึน้ ด้ วยและสามารถควบคุมด้ วยระบบมิติ (midi) ได้ ด้วย
ฟี ดแบค (Feed Back)

หมายถึงการทางานด้ วยการป้อนสัญญาณที่ออกมาแล้ วส่ งย้ อนกลับเข้ าไป
ทางอินพุต (input) ใหม่ ย้อนไปมาเรื่ อยๆ จะทาให้ เกิดการซา้ ไปมาของ
สัญญาณ (regeneration)ลักษณะดีเลย์ แบบต่ างๆ
สแลปแบ็ค (Slapback)

เป็ นการตัง้ ค่ าเวลาดีเลย์ ไว้ ในช่ วงสัน้ ๆ ประมาณ 40 – 120
milliseconds (ms) และไม่ ใช้ ฟีดแบค เช่ น หากเราตบมือในห้ องนา้ เราจะได้
ยินเสียงสะท้ อนกลับมาอย่ างรวดเร็ว และหายไปเลยและถ้ าหากค่ าเวลาที่
มากกว่ านีจ้ ะให้ โทนเสียงไปทางแอคโค
สแลปแบ็ค
จากรู ปจะเห็นว่ าสัญญาณทีเข้ ามา input จะผ่ านเข้ าไปยังวงจรหน่ วง
เวลา delay และอีกส่ วนหนึ่งแยกออกไปยังวงจรผสมสัญญาณ delay mix
สัญญาณส่ วนที่เข้ าไปยังวงจรหน่ วงเวลาจะถูกหน่ วงเวลาสัน้ ๆ ไว้เพื่อให้
สัญญาณออกไปช้ ากว่ าสัญญาณจริงเล็กน้ อยเมื่อมาผสมกับสัญญาณจริงที่
ภาค delay mix ก็จะได้ สัญญาณเสียงที่สะท้ อนออกมาตามแต่ ต้องการ
มัลติแท็ปดีเลย์ (Multi – Tap Delay)

มัลติแท็ปดีเลย์ เป็ นการใช้ ดีเลย์ มากกว่ า 1 ตัวเพื่อผลทางมิตเิ สียง ซึ่ง
สามารถสร้ างโทนเสียงทีแปลกออกไปรวมทัง้ ความกว้ างของมิตอิ ีกด้ วย
เนื่องจากสามารถหน่ วงเวลาให้ ซา้ ซ้ อนกันได้ มากขึน้ นั่นเอง จากรู ปเราจะ
เห็นว่ าเมื่อสัญญาณเข้ ามาจะผ่ านวงจรดีเลย์ ท่ มี ีอยู่หลายชัน้ ซึ่งจะแยก
เอาต์ พุต (output) อิสระต่ อกัน และยังสามารถตัง้ เวลาให้ แตกต่ างกัน
ออกไปได้ อีกด้ วย
มัลติแท็ปดีเลย์ (Multi-Tap Delay) นิยมใช้ กับเครื่ องดนตรี โดยเฉพาะ
กีตาร์ ไฟฟ้าซึ่งสามารถสร้ างเสียงแปลกๆ ได้ มากมาย โดยมีอัตราส่ วนการ
หน่ วงเวลาของตัวโน้ ตที่ต่างกันออกไปเป็ นชัน้ ๆ ตามที่ต้องการ หรื อ
แม้ กระทั่งใช้ ในการสร้ างเสียงแปลกๆ เพื่อใช้ ในภาพยนตร์
ปิ งปองดีเลย์ (Ping-Pong delay)

เป็ นการโยนให้ สัญญาวิ่งไปมาจากซ้ ายไปขวาหรื อขวาไปซ้ ายเหมือน
การตีลูกปิ งปอง จากรู ปแล้ วจะเห็นการทางานเมื่อสัญญาณสะเตอริโอที
เข้ ามา จะถูกส่ งเข้ าวงจรดีเลย์ ท่ แี ยกออกมาซ้ ายและขวาและสัญญาณที่
ออกมาจะถูกป้อนกลับไปยังดีเลย์ ท่ อี ยู่ตรงข้ ามพร้ อมๆ กับสัญญาณอีก
ส่ วนก็ถูกส่ งออกไปยังเอาต์ พุต (output) โดยตรง
ปิ งปองดีเลย์

จากรู ปสัญญาณจะถูกป้อนเข้ ามา 2 input ด้ วยกันและผ่ านเข้ าไปยัง
วงจรหน่ วงเวลา delay พร้ อมๆ กัน โดยส่ วนหนึ่งเป็ นสัญญาณที่ส่งออกไป
โดยตรงหลังจากถูกหน่ วงเวลาแล้ วและอีกส่ วนหนึ่งจะถูกแยกออกมาแล้ ว
ส่ งกลับไปยังวงจรหน่ วงเวลาของอีก input เพื่อสลับสัญญาณกันแล้ วป้อน
สัญญาณกลับเข้ าไปใหม่ อีกครั ง้ ก็จะได้ สัญญาณเสียงที่ว่ งิ ไปวิ่งมาสลับกัน
อยู่ตลอด
ปิ งปองดีเลย์ (Ping-Pong delay) นิยมใช้ กับการสร้ างเสียงที่ต้องการ
ให้ มีการเคลื่อนไหวจากซ้ ายไปขวาหรื อขวาไปซ้ ายเพื่อสร้ างมิตใิ นการฟั ง
อีกรู ปแบบหนึ่ง
คลอรัส (Chorus)

เมื่อได้ ฟังนักร้ องหมู่ท่ รี ้ องพร้ อมๆ กัน เราจะรู้ สึกถึงความหนา ความกว้ าง ของ
เสียงและความนุ่มนวล ซึ่งเราเรียกว่ าคลอรัส (chorus) ซึ่งเกิดจากการที่เสียงร้ องหมู่มี
อาการซ้ อนกันทางเสียงที่เกิดจากการร้ องที่ไม่ เท่ ากัน และความโทนของเสียงที่
แตกต่ างเกิดขึน้ ในขณะร้ องหมู่
คลอรัส (Chorus)

คลอรัส (chorus) หมายถึง การจาลองธรรมชาติการเลื่อมลา้ ของเสียง และความ
เพีย้ นของเสียงที่มีไปมา จากรูปจะเป็ นแนวการทางานคร่ าวๆ ของคลอรัส ซึ่งทางาน
ด้ วยการผสมสัญญาณที่มีการหน่ วงเวลาระหว่ าง 15-35 ms แล้ วผสมด้ วยวงจรที่เรียกว่ า
LFO (low frequency oscillator) ซึ่งมีรูปคลื่นที่เรี ยกว่ า Sine , Triangle , Log เพื่อสร้ าง
การแกว่ งของเสียงไปตามลักษณะของรู ปคลื่น และยังแยกสัญญาณเดิมออกมาเพื่อ
สามารถผสมกันกับสัญญาณที่เป็ นคลอรัสแล้ ว
หลักการทางานของคลอรัส
หลักการทางาน

จากรู ปเราจะเห็นว่ าเมื่อสัญญาณเข้ ามาจะถูกหน่ วงด้ วยดีเลย์ ซ่ งึ มี
ช่ วงเวลาระหว่ าง 0.2-20ms แล้ วส่ งต่ อไปยัง depth ซึ่งควบคุมการแกว่ าง
ของสัญญาณก่ อนส่ งออกไป ซึ่งเป็ นหลักการเบือ้ งต้ น เราจะมาดูในรู ป
ต่ อไปซึ่งมีรายละเอียดที่มากขึน้ อีก
จะเห็นว่ ามีการเพิ่มวงจรขึน้ มาอีกคือฟี ดแบคเกน (feedBack gain)
และ LFO ซึ่งในคลอรั ส (chorus) ก็มีเช่ นกันซึ่ง LFO ในแฟลงเจอร์ กท็ าหน้ า
ทีเหมือนกัน ในส่ วนฟี ดแบคเกน (feedBack gain) จะทาหน้ าที่ขยาย
สัญญาณที่ออกมาจากวงจรหน่ วงเวลา delay เพื่อป้อนกลับไปใหม่ เพื่อ
สร้ างเสียงแปลกๆ
ซีเควนเซอร์ (sequencer)

เริ่มนิ ยมใช้กนั ในราวปี 1960 มีทง้ั แบบเป็ นเครื่องที่สามารถโปรแกรมลง
ไปได้เลยเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ซีเควนเซอร์ (hardware
sequencers) เช่น Roland MC500 เป็ นต้น และแบบที่เป็ น
โปรแกรมเรียกว่าซอฟต์แวร์ (soft ware) เช่น Logic,
Cakewalk เป็ นต้น โดยทัง้ สองแบบทาหน้าที่เขียนคาสัง่ ทางดนตรี จะ
รับคาสัง่ จากผูโ้ ปรแกรมแล้วถ่ายทอดเป็ นคาสัง่ ในระบบมิตเิ พือ่ ส่งต่อไปยัง
เครื่องดนตรีท่มี ีระบบมิตหิ รือเครื่องมือในสตูดิโอที่มีระบบมิตอิ น่ื ๆ และจะมี
เครื่องมือสาหรับเชื่อมต่อกันระหว่างซีเควนเซอร์และเครื่องดนตรี เรียกว่า มิติ
อินเตอร์เฟส (MIDI interface)
การวางอุปกรณ์ Equipment Setting
 เนื่ องจากอุปกรณ์ในห้องบันทึกเสียงมีหลายชนิ ดและหลายขนาดด้วยกัน การ
จัดวางที่ถกู ต้องจะทาให้งา่ ยต่อการใช้งานและแลดูเรียบร้อยในขณะเดียวกัน
โดยทัว่ ไปมิกเซอร์ (mixer) และลาโพงจะอยู่คู่กนั ซึ่งระยะความห่าง
ระหว่างลาโพงและระยะความห่างระหว่างลาโพงถึงคนฟังควรจะมีระยะทางที่
เท่าๆ กัน เช่น หากลาโพงวางอยู่หา่ งกัน 1.50 เมตร ผูท้ ่นี งั ่ ฟังก็ตอ้ งห่างจากจุด
ศูนย์กลางของลาโพงที่ 1.50 เมตรเช่นกัน ส่วนอุปกรณ์อน่ื ๆ เช่น เอฟเฟ็ กต์
ต่างๆ เครื่องขยายเสียง มักนิ ยมทาชัน้ สาหรับวางไว้ดา้ นข้างหรือไม่กด็ า้ นหลัง
เพือ่ ความสะดวกต่อการปรับใช้งาน หากเป็ น home studio เรา
สามารถจัดวางอุปกรณ์ต่างๆ ในลักษณะตามความสะดวกเป็ นหลัก
ระบบไฟฟ้ า (Laying wires)

ระบบไฟฟ้ าทุกวันนี้ มีสญั ญาณรบกวนแทรกมาตามระบบไฟฟ้ าอยู่ตลอดเวลา
หลายๆ ครัง้ มักเป็ นสาเหตุให้การอุปกรณ์ต่างๆ ในห้องบันทึกเสียงซึ่งเป็ นอุปกรณ์ท่ี
ละเอียดอ่อนและไวต่อการรบกวน มีอาการสกปรกทางเสียงโดยหาสาเหตุยาก เช่น
เสียงฮัมหรือเสียงกวนอืน่ ๆ ซึ่งปนมากกับกระแสไฟฟ้ า เราอาจพบว่าในขณะเราทางาน
บันทึกเสียงอยู่ทกุ ครัง้ ที่เครื่องปัม๊ น้ าทางานจะมีเสีงอันไม่พงึ ประสงค์แทรกมาเป็ นที่น่า
ราคาญ ปัญหาเหล่านี้ สามารถแก้ไขได้ดว้ ยการลงดินของระบบไฟฟ้ าถูกต้องซึง่ เป็ น
สิง่ จาเป็ น
สิง่ ที่ไม่ควรใช้ในห้องบันทึกเสียงสาหรับระบบไฟฟ้ าคือ เครื่องหรี่ไฟ
(dimmer) หลอดฟลูออเรสเซ็นต์แบบฮาโลเจน ซึ่งสามารถรบกวนต่อระบบ
อุปกรณ์ต่างๆ ในห้องบันทึกเสียงโดยเฉพาะเครื่องขยายเสียงหรือแม้กระทังกี
่ ตา้ ร์แอป์ และ
ตัวกีตา้ ร์ไฟฟ้ าเอง
ขนาดของสายไฟฟ้ า
 ต้องสามารถรองรับโหลดของเครื่องใช้ไฟฟ้ าได้อย่างพอเพียง เนื่ องจากมี
อุปกรณ์หลายชิ้น ดังนั้นการดึงกระแสไฟมากเป็ นช่วงๆ ตามขนาดการใช้งาน
ในขณะนั้นขนาดของสายไฟจึงต้องใหญ่พอที่จะเผื่อโหลดของไฟฟ้ าในขณะที่
ใช้กระแสสูงสุด (ควรปรึกษาช่างไฟฟ้ าโดยตรง) และควรแยกสายนาสัญญาณ
ออกจากสายไฟฟ้ าเพือ่ ลดการรบกวนกันเอง
สายไฟฟ้ ากับการต่อลงดิน

ขัว้ ของปลัก๊ ทัง้ หมดต้องมีการลงดิน เนื่ องจากอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้จะมีสาย
ดินมาให้โดยดูท่ขี ว้ั ปลัก๊ จะมีสามขา หากในกรณี ท่ไี ม่มีสายดินจาเป็ นจะต้อง
เดินสายดินจากตัวเครื่องมาเสริมโดยมากให้เรายึดสายกับตัวถังเครือ่ งได้เลย
ในส่วนของเต้าไฟต่างๆ ควรแยกจ่ายให้กบั อุปกรณ์เป็ นชุดๆ โดยชุดหนึ่ งใช้
สาหรับอุปกรณ์ท่ไี ม่มีมอเตอร์ เช่น มิกเซอร์ เอฟเฟ็ กต์ต่างๆ อีกชุดสาหรับ
อุปกรณ์ท่มี ีมอเตอร์ เช่น เครื่องเล่นเทป แอมป์ (มีพดั ลมระบายความร้อน)
การแยกเต้าสายไฟฟ้ าก็เพือ่ ป้ องกันเสียงสกปรกที่เกิดจากการทางานองมอเตอร์
ในขณะทางานหรือระบบกลไกของเทป
ยังมีเสียงฮัม (hum)

ในกรณี ท่มี ีการวางระบบสายดินไว้เรียบร้อยและอยู่ให้ลองกลบขัว้ ปลัก๊ ดู
หากยังไม่หายให้ลองหาจุดลงดิน (ground) ใหม่ ในกรณี ท่ใี ช้เครื่อง
แปลงไฟ (transformer) ควรวางไว้ให้ห่างจากอุปกรณ์ต่างๆ ให้
มากที่สดุ เนื่ องจากหม้อแปลงจะปล่อยสนามแม่เหล็กออกมารอบๆ ตัวมันซึ่ง
กระแสแม่เหล็กนี้ จะกวนอุปกรณ์ท่อี ยู่ใกล้ๆ
เครื่องรักษาระดับไฟฟ้ า (stabilizer)
 ควรจะมีใช้เพือ่ ความคงทนและการทางานอย่างมีประสิทธิภาพของอุปกรณ์หรือ
อาจใช้เครื่องควบคุมและสารองกระแสไฟฟ้ าที่เรียกว่า UPS
(uninterruptible power supply) จะมีประโยชน์
มากในกรณี ท่ไี ฟดับทาให้เรามีเวลาปิ ดอุปกรณ์หรือเซฟข้อมูลในคอมพิวเตอร์
การเลือกอุปกรณ์ทง้ั สองนี้ ควรคานวณโหลดที่จะใช้โดยปรึกษาบริษทั ผูข้ าย
หน่ วยวัดค่าความดังเสียง
 dBm
และ dBv
ตัวอักษรเหล่านี้ เป็ นหน่ วยวัดค่าความดังของเสียง เราตจะพบเห็นได้ในส
เปกคู่มือที่มากับเครื่องเสียง ความเข้าใจในคาต่างๆ เหล่านี้ จะช่วยให้เราเข้า
ใเครื่องที่เราใช้งานอยู่ได้ดีข้ ึนและช่วยให้เราสามารถเชื่อมโยงเครื่องมือต่างๆ
เข้าด้วยกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
dBm

หมายถึงการวัดค่าของของเสียง
จากสัญญาณเข้าที่เป็ นแบบ line
levels +4 dBm เราจะพบ
เห็นคานี้ ได้ในเครื่องเสียงคุณภาพสูง
หรือเครื่องมือที่ใช้ในห้องบันทึกเสียง
ซึ่งสัญญาณเข้าออก input /
output เป็ นแบบ +4 dBm
(ให้สงั เกตุลกั ษณะขัว้ ต่อสัญญาณจะมี
สามขากลมๆ XLR)
ทาไมถึงต้องเป็ น +4 dBm
 เหตุผลคือในเครื่องมือที่เป็ นแบบ professional
นั้น จะอ้างอิงค่า
มาตรฐานของสัญญาณที่เข้าออกอยู่ท่คี ่าศูนย์จากวียูมิเตอร์ (volume
units or VU Meter) ดังนั้นค่าที่ศูนย์ท่มี ิเตอร์จงึ เท่ากับ +4
dBm (O VU = +4 dBm = 1.23 volts at 600
ohms)
ดังนั้นเราจะเห็นค่าได้ว่าเมื่ออ่านค่าจากมิเตอร์ได้ศูนย์กห็ มายถึง +4
dBm หากเราอ่านค่าความแรงของสัญญาณเสียงได้ท่ี +3 +4 dB ก็
หมายถึงว่าเราจะได้ค่าความแรงเดซิเบลที่ +7 dBm หากอ่านได้ท่ี –5
dBm ที่วยี ูมิเตอร์ซ่งึ ก็หมายความว่าเราได้ค่าเดซิเบลที่ –1 dBm
dBv

หมายถึงการวัดค่าไฟฟ้ าของสัญญาณเข้าออกสาหรับเครื่องที่เป็ น semi – pro
หรือ home hi – fi โดยจะมีค่าต่อสัญญาณ input / output ที่ –
10dBv เราจะเห็นความแตกต่างได้ว่าเครื่องแบบ professional ใช้ค่าที่
+4dBm เป็ นค่ามาตรฐาน ดังนั้นความแตกต่างจึงมีมาก หากเรานาเครื่องแบบ
semi – pro ซึ่งมีค่า input / output ที่ –10dBv มาต่อเข้ากับ
เครื่องแบบ professional ที่มีค่า input / output +4dBm
สัญญาณที่เข้ามาก็จะไม่เหมาะสมกันแตกพร่าเนื่ องจากสัญญาณแรงเกินไป ดังนั้นไม่ตอ้ ง
แปลกใจเลยว่าทาไมเครื่องมือที่ใช้ input / output แบบ +4dBm ถึงให้
คุณภาพเสียงที่ดีกว่าและมีราคาแพงกว่าเครื่องแบบ
–10dBv
การอ่านค่าที่วยี ูมิเตอร์สาหรับเครื่องแบบ –10dBv
 จะแตกต่างไปจาก +4dBm
โดยค่าที่
–10dBv ที่ศูนย์ในวียู
มิเตอร์ จะเป็ น 0VU = –10dBv = 0.316volts ดังนั้นการ
อ่านค่าที่วยี ูมิเตอร์ในระบบ –10dBv นั้นหากอ่านค่าได้ท่ี +3dBv
หมายความว่าจะได้ค่าเดซิเบลที่ 7dBv หากอ่านได้ท่ี –5dBv ก็เท่ากับ
–15dBv
จะเห็นได้ว่าเครื่องเสียงต่างๆ มีค่า input /
output
 ไม่เหมือนกัน ดังนั้นการจะต่อเชื่อมโยงการใช้งานให้ได้คณ
ุ ภาพสัญญาณที่ดี
ที่สดุ นั้นต้องคานึ งถึงค่าดังกล่าวเป็ นสาคัญซึ่งมีผลต่อคุณภาพของสัญญาณ
อย่างมากและ ในปัจจุบนั เครื่องเสียงหลายรุ่นสามารถเลือกปรับค่า input
/ output มาให้ดว้ ยซึ่งเป็ นสิง่ ที่สะดวกต่อการใช้งานอย่างมาก
ตารางแสดงค่าความดังที่ควรรู ้
อัตราขยายของเครื่องมือต่างๆ
(Equipment Levels)
ขยายไมโครโฟน (อัตราMicrophone Level)

อัตราขยายของไมโครโฟนนั้นค่อนข้างตา่ เมือเ่ ทียบกับสัญญาณอืน่ ๆ
อัตราระดับสัญญาณที่ออกมาจากไมโครโฟนนั้นจะอยู่ระหว่าง –60dBv ถึง
–20dBv (ยังไม่มีไมค์บางตัวสามารถให้อตั ราขยายได้ถงึ +4dBv แต่ก็
มีราคาที่แพงมาก) ดังนั้นจาเป็ นต้องมีเครื่องมือที่เรียกว่าปรีแอมป์
(pre-amp) เพือ่ ช่วยทาการขยายสัญญาณที่ออกมาจากไมโครโฟนอีกที
หนึ่ ง ปรีแอมป์ สามารถขยายสัญญาณขึ้นถึงระหว่าง -10 dBm ถึง
+4dBm จะมากน้อยแค่ไหนก็ข้ ึนอยู่กบั ตัวปรีแอมป์
อัตราขยายของเครื่องดนตรี (Instrument Level)

สัญญาณที่ออกมาจากเครื่องดนตรีท่เี ป็ นอิเล็กทรอนิ กส์จะมีหลายแบบ เช่น หากเป็ นสัญยาณที่ออกมา
จากกีตา้ ร์ไฟฟ้ าจะอยู่ระหว่าง -30dBv ถึง -20dBv ในกรณี ท่เี ป็ นเครื่องดนตรีประเภทซินธิไซ
เซอร์ (synthesizers) จะให้อตั ราสัญญาณอยู่ระหว่าง -10dBv ถึง 0dBv ในเครือ่ งบาง
รุน่ สามารถให้สญั ญาณที่ +4dBm
สัญญาณที่ออกมาจากเครื่องซินธิไซเซอร์ ซาวด์โมดูล หรือคียบ์ อร์ดจะเป็ นแบบ line level
แต่ยงั ม่เครื่องดนตรีประเภทกึ่งอะคูศติกอิเล็กตริก (electro-acoustic keyboards)
เช่น Fender Rhodes ซึ่งให้อตั ราขยายที่ตา่ ดังนั้นการต่อเข้า line ที่มิกเซอร์โดยตรง
ย่อมทาไม่ได้เพระาอัตรขยายน้อยเกินไป หากว่าจะต่อเข้าที่ภาคไมค์ในกรณี ท่มี ีการเล่นที่ดงั มากก็มีโอกาส
ที่สญั ญาณจะแตกพร่าได้งา่ ย จาเป็ นต้องใช้เครื่องมือที่เรียกว่า D.I.Box (direct
injection) เพือ่ เปลี่ยนสัญญาณทีเข้ามาให้ได้ระดับสัญญาณที่พอเหมาะที่ +4dBm
ไลน์เลฟเวล (line level)

อัตราขยายเครื่องมือต่ างๆ มีไม่ เท่ ากันโดยจัดแบ่ งแยกตามชนิดของเครื่ องมือ
หากเป็ นแบบอาชีพ (professional) ตามห้ องบันทึกเสียงทั่วๆ ไปหรือเครื่องมือที่ใช้
สาหรับการออกอากาศวิทยุ (broadcast) ก็จะใช้ อัตราขยายมาตรฐานที่ +4dBm เป็ น
เกณฑ์ ทงั ้ ระบบ ส่ วนเครื่องมือที่เป็ นแบบ home recording ก็จะใช้ อัตราขยายมาตรฐาน
ที่ลบ 10dBv เป็ นเกณฑ์ ซึ่งรู้ กันแล้ วว่ าอัตราขยายที่ +4dBm ย่ อมให้ คุณภาพของ
สัญญาณที่ดีกว่ าอัตราขยายที่ -10dBv
ในปั จจุบันหลายๆ บริษัทพยายามเพิ่มความสะดวกในการปรั บอัตราขยายที่ line
level โดยสามารถเลือกการรับเข้ าของสัญญาณได้ ว่าจะเป็ นแบบ +4dBm หรือ -10dBv
เพื่อความสะดวกต่ อการต่ อเชื่อมโยงระหว่ างเครื่องมือที่เป็ นแบบ home recording และ
professional แต่ กย็ ังมีราคาสูงอยู่
สาหรับผูท้ ่ที าห้องบันทึกเสียงส่วนตัว
(home recording)
ส่ วนมากจะมีงบที่จากัดดังนัน้ การเลือกซือ้ เครื่ องมือจึงได้ แบบคุณภาพปาน
กลางซึ่งเครื่ องมือที่ซือ้ มักจะเป็ นแบบ line level ที่-10 dBv แต่ ยังมีหนทางที่
สามารถปรั บปรุ งอัตราการขยายแบบ line level ที่ -10 dBv ได้ ด้วยการใช้
เครื่ องมือที่เรี ยกว่ า Line Amplifiers ซึ่งทาหน้ าที่เปลี่ยนอัตราขยายจาก -10
dBv ให้ เพิ่มเป็ น +4 dBm มีจาหน่ ายไม่ ก่ ีย่ หี ้ อด้ วยกัน เช่ น Fostex Tascam
จากเครื่ องมือนีเ้ ราสามารถเปลี่ยนคุณภาพเสียงจากเครื่ องแบบ home
recording ให้ กลายมาเป็ นเครื่ อมือที่ให้
 คุณภาพเสียงที่ระดับ +4dBm ซึ่งสามารถ
 ให้ ความชัดเจนและละเอียดขึน
้ กว่ าที่ได้ ยนิ
 ในระบบแบบ -10 dBv

อัตราเสียงต่อเสียงรบกวน
(Signal To Noise Ratio)

ใช้ อักษรย่ อคือ S/N หมายถึงอัตรา
การค่ าของสัญญาณเสียงซึ่ง
เกี่ยวเนื่องกับเสียงรบกวน(noise) ที่มี
อยู่แล้ วในอุปกรณ์ นัน้ ๆ ค่ า S/N
สาหรั บการบันทึกเสียงหรื อเครื่ องมือ
ต่ างๆ หากมีค่ามากย่ อมเป็ นผลดีต่อ
คุณภาพเสียง โดยใช้ หน่ วยวัดเป็ นเด
ซิเบล(dB) ยิ่งค่ า ของdB มีมาก
เท่ าไหร่ กห็ มายความว่ าการบันทึก
นัน้ ๆ หรื ออุปกรณ์ บันทึกเสียงนัน้ ๆ
จะให้ คุณภาพเสียงที่ดีกว่ าโดยมีเสียง
รบกวน (noise) ที่น้อยลง ค่ า
มาตรฐานของ S/N จะอยู่ประมาณ
75 – 90 dB
อัตราเสียงต่อเสียงรบกวน
(Signal To Noise Ratio)

การบันทึกเสียงที่มีคณ
ุ ภาพลงในเทปนั้นจะช่วยลดเสียงนอยส์ท่มี ีอยู่แล้ว
ในเนื้ อเทปลงไปได้ การบันทึกที่ดีคอื การบันทึกสัญญาณที่แรงที่สดุ เท่าที่จะแรง
ได้โดยไม่ก่อให้เกิดอาการแตกพร่าของสัญญาณเสียก่อน ดังนั้นแสดงให้เห็น
ว่าค่า S/N ของเสียงรบกวน (noise) มีนอ้ ยกว่าสัญญาณที่ทาการ
บันทึก เราก็จะได้เสียงที่มีคุณภาพและมีระดับการรบกวนของนอยส์ตา่
ไดนามิกเรนจ์ (dynamic range)

หมายถึงอัตราค่าความแตกต่างระหว่างสัญญาณที่แรงที่สดุ หรือดังที่สดุ
เมื่อเปรียบเทียบต่อสัญญาณที่ออ่ นที่สดุ หรือเบาที่สดุ มีหน่ วยวัดเป็ นเดซิเบล
(dB)
มิเตอร์ (meters)
 มิเตอร์มีหน้าที่ช่วยนาทางให้รูถ้ งึ ความแรงเบาของสัญญาณทีเ่ ข้ามาเพือ่ ทาการ
บันทึกสัญญาณลงสูเ่ ทปหรือส่งสัญญาณไปสูอ่ ปุ กรณ์บนั ทึกเสียง มิเตอร์ช่วยให้
สามารถรูไ้ ด้ว่าเมื่อใดที่สญั ญาณมีความแรงมากเพียงพอแล้วก่อนที่จะเกิดเสียง
แตกพร่า (distrotion)
มิเตอร์มีหลายลักษณะด้วยกัน
 เช่น แบบเข็ม (moving
needle) ซึ่งเป็ นแบบในยุคแรกถึงแม้ใน
ปัจจุบนั ก็ยงั คงใช้กนั อยู่แต่มกั มีราคาสูง อีกชนิ ดหนึ่ งเรียกว่าแบบแอลอีดี
(LED) มีลกั ษณะเป็ นดวงไฟเล็กซึ่งเราสามารถพบเห็นได้ทวั ่ ไปในเครื่อง
เสียงในปัจจุบนั มักมีราคาถูก
มิเตอร์แบบ LED
 นี้ มีหลายลักษณธด้วยกันบางแบบก็ทาเลียนแบบการเคลื่อนที่แบบเข็มบางแบบ
ก็เป็ นการเคลื่อนที่ในแนวตัง้ (bargraph) และยังมีพคี มิเตอร์
(peak meter) สาหรับแสดงค่าสูงสุดของสัญญาณในขณะนั้นซึ่ง
มักจะเป็ นไฟLEDเพียงดวงเดียวมักเป็ นสีแดง หากกะพริบก็หมายความว่า
เกิดการพีคขึ้นแล้ว
ข้อแตกต่างระหว่างมิเตอร์แบบเข็มและ LED
 คือ แบบ LED
จะตอบสนองต่อสัญญาณได้รวดเร็วมากกว่าแบบเข็มซึ่งมี
ความเฉื่ อยในขณะที่เข็มวิ่งไปมา ดังนั้นแบบ LED จะให้ความแม่นยา
ดีกว่าแบบเข็มมาก
ตามหลักการแล้วสามารถมัน่ ใจได้ว่า หากการบันทึกสัญญาณอยู่ท่ี
0dB ที่ VU Meter

เราจะได้สญั ญาณที่ไม่เกิดการพร่าเพี้ยนแต่อย่างใด
ซึ่งในความเป็ นจริงนั้นเราสามารถเพิ่มสัญญาณให้
มากกว่าค่า 0dB ได้เพราะว่าในเครื่องมือแต่ละ
แบบมีค่าเฮดรูม (headroom) อยู่แล้ว เช่น
เครื่องบางรุ่นสามารถอ่านค่าสัญญาณที่ออกมาผ่าน
VU meter ได้สูงถึง +3dB โดยไม่เกิด
การแตกพร่า ในหลายๆ ครัง้ เราดูท่ี VU
meter แล้วมันแรงมากแต่เมื่อฟังดูยงั ไม่รูส้ กึ ถึง
เสียงที่แตกพร่า ดังนั้นการเช็คฟังบวกกับ
ประสบการณ์ท่ยี าวนานเป็ นหนทางเดียวที่จะบอกได้
ว่าเสียงที่เราได้ยนิ แต่กพร่าหรือยัง แต่ทง้ั นี้ และทัง้ นั้น
การต่อเชื่อมโยงระหว่างอุปกรณ์ทง้ั หมด รวมถึง
คุณภาพของอุปกรณ์ตอ้ งมีคณ
ุ ภาพเช่นกันถึงจะ
สามารถช่วยให้การตัดสินใจในขณะฟังนั้นๆ ถูกต้อง
ครอสทอร์ค (Crosstakl)

เป็ นการรัว่ ไหลของสัญญาณเสียงที่ขา้ มระหว่างวงจรไฟฟ้ าที่อยู่ใกล้กนั
จากวงจรหนึ่ งไปสูอ่ กี วงจรหนึ่ ง และหรือการรัว่ ของสัญญาณเสียงจากร่องเสียง
หนึ่ งไปสูร่ ่องเสียงข้างเคียงในเครื่องบันทึกเทปหรือตัวเทปเอง ส่วนใหญ่เราจะ
พบอาการของการเกิดครอสทอร์ค (crosstalk) ได้เด่นชัดในเครื่อง
บันทึกเสียง ตัวอย่างเช่นในขณะที่เราบันทึกเสียงในแทรคที่ 1 หากเราบันทึก
สัญญาณแรงเกินไป เมื่อเล่นกลับเราจะสามารถได้ยนิ เสียงจากแทรคที่ 1 รัว่ ไป
ยังแทรคที่ 2 ซึ่งยังไม่มีการบันทึกเสียงสัญญาณใดๆ ลงไป
ครอสทอร์ค (crosstalk)
 ก็คล้ายๆ กับลักษณะของ S/N
การวัดค่าครอสทอร์คนั้นใช้ค่าเดซิเบล
(dB) เป็ นหน่ วยวัด หากค่า dB ยิ่งมากเท่าไหร่กเ็ ป็ นผลที่ดีเท่านั้น ตาม
มาตรฐานของเครื่องบันทึกเสียงค่าครอสทอร์คที่ดีจะต้องไม่ตา่ กว่า 40dB
หากอยู่ท่ี 60dB ถือว่าดีมากสาหรับอุปกรณ์บนั ทึกเสียงเช่นมิกเซอร์ควรอยู่
ระหว่าง 50 dB - 70 dB
การเกิดครอสทอร์คนั้นไม่ได้หมายความว่าเครื่องมือนั้นขาดคุณภาพ
แม้แต่เครื่องมือที่มีราคาแพงๆ ก็สามารถเกิดการครอสทอร์คได้เช่นกัน เพราะ
มันเป็ นธรรมชาติของการบันทึกแบบแม่เหล็กนัน่ เอง
ความถี่ท่งี า่ ยต่อการเกิดอาการครอสทอร์คและควรระวังคือ
ความถี่สูงๆ
 เช่นเสียงฉาบ (cymbles)
หรือความถี่ย่านตา่ มากๆ เช่นเสียงเบส
(bass) การแก้ปญั หาเพียงอย่างเดียวและได้ผลก็คอื การลดความแรงของ
สัญญาณ (level) ลงให้อยู่ในอัตราที่เหมาะสมโดยระวังไม่ให้ค่า S/N
ตา่ เกินไปไม่อย่างนั้นจะมีนอยส์เกิดขึ้นตามมา การลองปรับลดสัญญาณแล้ว
บันทึกฟังดูหลายๆ ระดับจะช่วยให้การตัดสินใจได้ถกู ต้องและแม่นยามากขึ้น
ดังนั้นการฟังจะเป็ นตัดสินใจที่ดีท่สี ดุ หากในเครื่องบันทึกมีการเกิดอาการค
รอสทอร์คสูง แม้ว่าจะบันทึกในความแรงของสัญญาณที่ไม่มาก ขอแนะนาให้
ปรับแต่งอุปกรณ์ใหม่ตามสเปกคู่มือเครื่อง
การตอบสนองความถี่ (Frequency Response)
 เป็ นค่าการวัดค่าความสามารถในการตอบสนองของเครื่อมือที่มีต่อย่านความถี่
ต่างๆ ว่ามีความไวมากน้อยเพียงใดในขณะใช้งาน เราสามารถดูค่าการ
ตอบสนองความถี่ (frequency response) ของเครื่องมือได้
จาก
 สเปกที่มากับเครื่อง ซึ่งจะสามารถรูไ้ ด้ว่าเครื่องมือนั้นๆ มีค่าการตอบสนองต่อ
ย่านความถี่ได้ดีทกุ ย่านหรือไม่ จะเห็นได้ว่าการดูค่าตอบสนองความถี่
(frequency response) ให้เป็ นจะช่วยให้เข้าใจเครื่องมือได้
ตัง้ แต่ก่อนที่จะซื้อมาใช้งานและในขณะใช้งานก็สามารถรูถ้ งึ ข้อดีและข้อด้อยที่
มีต่อย่านความถี่ ซึ่งทาให้สามารถเลือกใช้เพือ่ ความเหมาะสมของงานได้
อิมพีแดนซ์ (impedance)
 เมื่อเราผ่านกระแสเข้าไปที่ขดลวด ขดลวดจะสร้างความต้านทาน
(resistance) ต่อกระแสทีเข้ามา ค่าความต้านทานจะมากหรือน้อยก็
ขึ้นอยู่กบั ชนิ ดของวัตถุน้นั ๆ จานวนค่าของความต้านทานที่เกิดขึ้นสามารถวัด
ได้เป็ นหน่ วยที่เรียกว่าโอห์ม (ohm) หรืออีกนัยหนึ่ งเมื่อพูดถึงค่าของ
ลาโพง เช่นลาโพงมีค่าที่ 8 X โอห์ม (ohm) หรือค่าความต้านทาน
(resistance) ของไมโครโฟนที่ 600ohm เรากาลังพูดถึงค่า
อิมพีแดนซ์(impedance)นัน่ เอง
ไลน์อมิ พีแดนซ์ (line impedance)

ไลน์อมิ พีแดนซ์ มีอยู่สองแบบคือ high-Z จะมีค่าอิมพีแดนซ์ inputที่ 10
– 150kohm และ outputที่ 2-10kohm ส่วนที่ low-Z จะมีค่า
อิมพีแดนซ์ inputที่ 600onm ถึง output 50-600ohm ใน
เครื่องแบบกึ่งโปร (personal recording) ซึ่งมีค่า
input/output ที่-10dBv จะเป็ นไลน์อมิ พีแดนซ์แบบ high-Z และ
เครื่องแบบโปรนั้นซึ่งมีค่าสัญญาณ input/output ที่+4dBm ถึง
+8dBm จะเป็ นแบบ low-Z
ค่าไลน์อมิ พีแดนซ์ของ high-Z
 นั้นจะมีขอ้ เสียหากสายสัญญาณมีความยาวเกิน 10 – 15 เมตรจะมีผลเสียต่อ
ความถี่สูง ซึ่งจะเดินทางได้ไม่ดีซ่งึ จะไม่พบปัญหานี้ ใน low-Z มีขอ้ สังเกตุ
ง่ายๆ ว่าหากแจ๊คเป็ นแบบ RCA หรือแจ๊คแบบ 1/4 ” ที่มี 2 ขัว้ จะเป็ น
high-Z ส่วนแจ๊คแบบสามชา XLR หรือแจ๊คแบบ 1/4 “ TRS จะ
เป็ น low-Z มีขอ้ ควรจาว่าหากป้ อนสัญญาณจาก low-Zเข้า highZ จะไม่เป็ นไร แต่ในทางกลับกัน high-Z ป้ อนสัญญาณเข้า low-Z
สัญญาณที่ออกมาจะไม่ดีพอ
บาลานซ์ (Balance)

ถูกออกแบบให้ลดสัญญาณรบกวนต่างๆ ที่ปนมาให้นอ้ ยที่สดุ โดยมีสายนาสัญญาณ
(conductors) สองเส้น คือ hot (+) และ cold (-) นาสัญญาณเสียง
และสายดิน ground (shield)
จากรูปสัญญาณเสียที่มารจากไมโครโฟนทางสาย hot และ cold จะถูกกลับ
เฟส (out phase) ในขณะเดียวกันนอยส์ท่ปี นมาจะไม่ถกู กลับเฟส เมื่อสัญญาณ
ออกมาจะมีการกลับเฟสด้วย phase output ที่ –10dBสัญญาณ audio
จะกลายเป็ น in phase และสัญญาณที่เป็ นนอยส์จะกลายเป็ น out phase
ซึ่งทาให้เสียงมีความสะอาดปราศจากนอยส์
อันบาลานซ์ (Unbalance)

มักใช้กบั เครื่องแบบโฮมยูส และ กึ่งโปร โดยจะมีสายนาสัญญาณหนึ่ งเส้น (hot+)
และสายดิน ground (shield) ซึ่งคุณภาพในการลดสัญญาณรบกวนจะไม่ดีเท่ากับ
แบบอันบาลานซ์
โดยทัว่ ๆ ไปอัน อันบาลานซ์ มักใชักบั สัญญาณแบบ –10dBv ซึ่งมักใช้แจ๊คลักษณะ
1/4นิ้ ว และแจ๊คแบบ RCA ส่วนบาลานซ์มกั ใช้กบั สัญญาณที่เป็ นแบบ +4dBm ใช้
แจ๊คแบบ XLR หรืออีกชื่อว่าแคนนอน (cannon)
ลักษณะการทางานแบบอันบาลานซ์จะมีการส่งสัญญาณเพียงสองสายคือ hot และ
ground (shield) ซึ่งทัง้ สัญญาณเสียงและสัญญาณที่มาจาก ground จะปน
มาพร้อมๆ กันเพราะว่าใช้สายดินร่วมกันนัน่ เอง ผลก็คอื คุณภาพของสัญญาณเสียงที่ไม่ชดั เจน
เท่าที่ควร