วิธีการถ่ายโอนข้อมูล

Download Report

Transcript วิธีการถ่ายโอนข้อมูล

ระบบการสือ่ สาร
โดย
ครู พบศิริ ขวัญเกื้ อ
การสือ่ สาร
 การสื่ อสารข้อมูล (Data
Communications) เป็ นส่ วนประกอบ
สาคัญในการประมวลผลโดย
คอมพิวเตอร์ในรู ปแบบต่างๆ ไม่วา่ จะ
เป็ นระบบออนไลน์ ระบบประมวลผล
ระยะไกล และระบบการประมวลผล
แบบกระจาย
องค์ประกอบของระบบสือ่ สาร
โดยปกติในการส่งข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง จะต้ องมีองค์ประกอบของระบบ
อย่างน้ อย 3 ประการ คือ
1. ผูส้ ่ ง (Source) สร้างข้อมูลและส่ งข้อมูลไป
2. ผูร้ ับ (Receiver) ปลายทางของการส่ งข่าวสาร
3. ตัวกลางในการสื่ อสาร (Transmission Medium) นา
ข้อมูลจากผูส้ ่ งไปให้ผรู้ ับ
องค์ประกอบของระบบสื่อสาร
ข้อมูล
ผู้ส่ง
ผู้รับ
ตัวกลางสื่ อสาร
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
ก่อนที่จะกล่าวถึงการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ควรศึกษาถึง
วิธกี ารถ่ายโอนข้ อมูล ซึ่งเป็ นเรื่องการส่งสัญญาณออกจากเครื่องและรับ
สัญญาณเข้ าไปในเครื่องก่อน การถ่ายโอนข้ อมูลสามารถจัดจาแนกได้ 2 แบบ
คือ การถ่ายโอนข้ อมูลแบบขนาน และการถ่ายโอนข้ อมูลแบบอนุกรม
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
การถ่ายโอนข้ อมูลแบบขนาน ทาได้ โดยการส่งข้ อมูลออกมาทีละหลายๆ บิต
พร้ อมกัน จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสองเครื่อง จึงต้ องมี
ช่องทางให้ ข้อมูลเดินทางหลายๆ ช่องทาง โดยมากจะเป็ นสายนาสัญญาณ
หลายๆ เส้ นโดยจานวนสายส่งจะต้ องเท่ากับจานวนบิตที่ต้องการส่งแต่ละครั้ง
ปกติความยาวของสายไม่ควรยาวมากเกินไป
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
เพราะอาจทาให้ เกิดปัญหาสัญญาณ
สูญหายไปกับความต้ านทานของสาย การส่ง
โดยวิธนี้จึงนิยมใช้ กบั การส่งข้ อมูลใน
ระยะทางใกล้ ๆ นอกจากการส่งข้ อมูลหลัก
แล้ วอาจมีการส่งข้ อมูลอื่นๆ อีก เช่ น บิตพาริ
ตีท่ใี ช้ ในการตรวจสอบความผิดพลาดของ
การรับสัญญาณ ที่ปลายทางหรือสายที่
ควบคุมการโต้ ตอบ
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุ กรม
ในการโอนถ่ายข้ อมูลแบบอนุกรม ข้ อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต
ระหว่างจุดส่งและจุดรับการส่งข้ อมูลแบบนี้จะช้ ากว่าแบบขนาน การถ่ายโอน
ข้ อมูลแบบอนุกรม ต้ องการตัวกลางสาหรับการสื่อสารเพียงช่องเดียว หรือสาย
เพียงคู่เดียว ค่าใช้ จ่ายจะถูกกว่าแบบขนาน สาหรับการส่งระยะทางไกลๆ
โดยเฉพาะเมื่อเรามีระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์ไว้ ใช้ งานอยู่แล้ ว ย่อมเป็ นการ
ประหยัดกว่าที่จะทาการติดต่อสื่อสารทีละ 8 ชอง เพื่อการถ่ายโอนข้ อมูลแบบ
ขนาน
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
2. การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุ กรม
การถ่ายโอนข้ อมูลแบบอนุกรมจะ
เริ่มโดยข้ อมูลจากจุดส่ง จะถูกเปลี่ยนให้ เป็ น
สัญญาณอนุกรมเสียก่อน แล้ วค่อยทยอยส่ง
ออกทีละบิต ไปยังจุดรับและที่จุดรับจะต้ อง
มีกลไกในการเปลี่ยนแปลงข้ อมูลที่รับมาทีละบิต
ให้ เป็ นสัญญาณแบบขนานซึ่งลงตัวพอดี เช่น บิตที่
1 ลงที่บัสข้ อมูลเส้ นที่ 1
การส่ งข้ อมูล
การติดต่ อสื่ อสารเพื่อส่ งข้ อมูลระหว่ างผ้ ูส่งและผ้ ูรับโดยผ่ านตัวกลางนั้น ปกติทาได้ 3
ลักษณะคือ การสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ ฮาล์ ฟดเู พล็กซ์ และฟลดู เู พล็กซ์
1.การสื่ อสารแบบซิ มเพล็กซ์ หรื อการสื่ อสาร
แบบทางเดียว (One-way communication) ตัวกลางใน
การส่ งข้ อมู ล นั้ น อาจจะพู ด ได้ ว่ าประกอบด้ ว ย
ช่ องสั ญญาณ (Channel) ซึ่ งอนุญาตให้ ข้อมูลผ่ านได้
ช่ องทางเดียว
ตัวอย่างการสือ่ สารแบบซิมเพล็กซ์
 การกระจายเสียงของสถานีวท
ิ ยุ
 การแพร่ ภาพโทรทัศน์
 การส่งข้ อความผ่านทางเพจเจอร์ เป็ นต้ น
การส่ งข้ อมูล
การติดต่ อสื่ อสารเพื่อส่ งข้ อมูลระหว่ างผ้ ูส่งและผ้ ูรับโดยผ่ านตัวกลางนั้น ปกติทาได้ 3
ลักษณะคือ การสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ ฮาล์ ฟดเู พล็กซ์ และฟลดู เู พล็กซ์
2.การสื่ อสารแบบฮาล์ ดูเพล็กซ์ หรื อ
การสื่ อ สารแบบทางใดทางหนึ่ ง (Either-way
commumnication) การส่ งข้ อ มู ล ผ่ า นช่ องทาง
เดียวนั้นจะสามารถส่ งไปได้ ทั่งสองทาง แต่ ต้อง
สลับกัน จะส่ งในทางเดียวกันไม่ ได้
2.การสื่ อสารแบบฮาล์ ดเู พล็กซ์
 แต่จะใช้ วธิ กี ารสลับกันรับส่งข้ อมูล จึงทาให้ การสื่อสารในรูปแบบนี้สามารถเปลี่ยน
สภาวะจากผู้ส่งให้ กลายเป็ นผู้รับ หรือจากผู้รับกลายเป็ นผู้ส่งได้ ด้วยการกดสวิสต์
ซึ่งการกดสวิสต์ในแต่ละครั้ง ก็คอื การสับสวิสต์เพื่อให้ อยู่ในสถานการณ์รับข้ อมูลไป
เป็ นการส่งข้ อมูล หรือสับสวิสต์ เพื่อให้ อยู่ในสถานการณ์ส่งข้ อมูลไปเป็ นการรับ
ข้ อมูล ตัวอย่างการสื่อสารแบบฮาร์ฟดูเพล็กซ์ เช่น วิทยุส่อื สารแบบที่ตารวจนามาใช้
สาหรับสื่อสารด้ วยกัน เป็ นต้ น
2.การสื่ อสารแบบฮาล์ ดเู พล็กซ์
การส่ งข้ อมูล
การติดต่ อสื่ อสารเพื่อส่ งข้ อมูลระหว่ างผ้ ูส่งและผ้ ูรับโดยผ่ านตัวกลางนั้น ปกติทาได้ 3
ลักษณะคือ การสื่อสารแบบซิมเพล็กซ์ ฮาล์ ฟดเู พล็กซ์ และฟลดู เู พล็กซ์
3.การสื่ อสารแบบฟลูดูเพล็อกซ์ หรื อการสื่ อสาร
แบบสองทาง Both-way communication) การ
สื่ อ สารแบบดั ง กล่ า วจะมี ช่ องสั ญญาณในการ
สื่ อสาร 2 ช่ อง และอุปกรณ์ ปลายทางสามารถส่ ง
และรั บข้ อมู ล พร้ อมๆกั น ได้ การส่ งข้ อมู ล
สามารถส่ งได้ สองทิศทางพร้ อมกัน
องค์ประกอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 เครื่ อข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยโหนด 2 (node) คือโหนดที่ทาหน้าที่ประมวลผล
ข้อมูล หรื อ คอมพิวติงโหนด และโหนดที่ทาหน้าที่ส่งข้อมูล หรื อ สวิตชิงโหนด
ตัวอย่าง เช่น โฮสต์ โดยที่ขอ้ มูลเหล่านั้นจะผ่านสวิตชิงโหนดต่างๆ ซึ่ งจะส่ งข้อมูล
ไปให้ยงั ปลายทาง และหลังจากที่โฮสต์ประมวลผลเสร็จก็จะส่ งผลผ่านสวิตชิงโหนด
ต่างๆกลับมาให้ผใู้ ช้
 ดังนั้นจึงมักแบ่งเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ออกเป็ น 2 ส่ วนใหญ่ๆ
ตามหน้าที่ของโหนดนั้นๆ คือ แบ่งเป็ น
 1. เครื อข่ายย่อยส่ วนของผูใ้ ช้
 2. เครื อข่ายย่อยส่ วนของการสื่ อสาร
องค์ประกอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คานิยาม
 โหนด คือ เนื้ อที่ในหน่วยความจาที่ประกอบด้วยอย่างน้อย 2 ฟิ ลด์
คือ INFO ฟิ ลด์และ LINK ฟิ ลด์ และจะเขียนที่อยู่ (address) ของโหนด
นี้ไว้ขา้ งหน้าโหนด
 โฮสต์ คือ พื้นที่ส่วนหนึ่ งของเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย (Server) ซึ่ งผู ้
ให้บริ การโฮสติ้ง (Hosting Service Provider) ได้ทาการจัดสรรมาให้เช่า
บริ การ โดยส่ วนใหญ่จะให้บริ การเป็ น รายเดือน หรื อ รายปี
 เทอร์ มนัล คือ จอภาพพร้อมอุปกรณ์ป้อนข้อมูลที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
เครื่ องหลัก ทาหน้าที่รับข้อมูลและแสดงผล
องค์ประกอบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 1. เครื อข่ายย่อยส่ วนของผูใ้ ช้ ผูใ้ ช้ตอ้ งการส่ งข้อมูลไปประมวลผลแล้วแสดงผล
ลัพธ์ออกมาให้ทราบ เครื อข่ายส่ วนนี้ประกอบด้วยโฮสต์คอมพิวเตอร์
เทอร์มินอล และตัวควบคุมเทอร์มินลั โดยที่โฮสต์จะมีทรัพยากรต่างๆ เช่น
ฐานข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ใช้ที่ผใู้ ช้สามารถใช้งานได้ เช่น Word Excel
 2. เครื อข่ายย่อยส่ วนของการสื่ อสาร จะมีโหนดหลายโหนดติดต่อสื่ อสารกัน
ผ่านสายส่ ง เพื่อจะส่ งข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้องและ
รวดเร็ ว เช่นเครื อข่ายโทรศัพท์ เครื อข่ายดาวเทียม
แวน-แมน-แลน
 แวน (Wide Area Networks)เป็ นเครื อข่ายที่มีเครื อข่ายกว้างไกลครอบคลุมทัว่
ประเทศและระหว่างประเทศมีอตั ราการส่ งข้อมูลไม่สูงนัก ซึ่งมักจะอาศัย
เครื อข่ายโทรศัพท์ในการส่ งข้อมูล ซึ่งทาให้ถูกจากัดความสามารถในการส่ ง
ข้อมูล รวมทั้งมีอตั ราความผิดพลาดการส่ งข้อมูลสูง
 แมน (Metropolitan Area Networks) เป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมทั้งตัวเมือง ด้วย
ระบบเคเบิลทีวี หรื อการส่ งข้อมูลด้วยคลื่นวิทยุ ลักษณะของเครื อข่ายแบบ
แพร่ กระจายข้อมูลคล้ายกับดาวเทียม
 แลน (Local Area Networks)ครอบคลุมเครื อข่ายไม่กว้างหนัก ไม่กี่กิโลเมตร
เช่น เครื อข่ายภายในอาคารหนึ่งๆ
กิจกรรมท้ ายบท
1.ในชีวติ ประจาวันของนักเรี ยนมีความสัมพันธ์กบั ระบบสื่ อสารอะไรบ้าง ?
2.การติดต่อสื่ อสารเพื่อส่ งข้อมูลระหว่างผูส้ ่ งและผูร้ ับโดยผ่านตัวกลาง
นั้น ปกติทาได้ กี่ลกั ษณะอะไรบ้าง
3.วิธีการถ่านโอนข้อมูลแบบขนานกับแบบอนุกรรมแตกต่างกันอย่างไรให้อธิบาย
4.โหนด /โฮสต์ / เทอร์มนัล หมายถึงอะไร
5.ให้นกั เรี ยนยกตัวอย่างระบบการสื่ อสารมาคนละ 1 ตัวอย่าง
พร้อมอธิ บายว่ามีการสื่ อสารอย่างไร
6. นักเรี ยนคิดว่าเครื อข่ายแบบใดใช้งานได้ดีที่สุด แวน แมน แลน เพราะอะไร