Transcript ooo1

ระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
รหัส 3128-2003
1
2
ผู้สอน
อ.ณัฏฐ์ จีรา ประมาพันธ์
3
จุดประสงค์ รายวิชา
1.
2.
3.
4.
เพื่อให้นกั ศึกษาเข้าใจหลักการ มาตรฐานของระบบเครื อข่าย
และการใช้งาน
เพื่อให้สามารถออกแบบติดตั้งและวางระบบเครื อข่าย
เพื่อให้สามารถติดตั้ง และ เซตอัพอุปกรณ์เนตเวิร์กต่างๆ และ
ดูแลบารุ งรักษาระบบเครื อข่าย
เพื่อให้มีกิจนิสยั ในการทางานด้วยความประณี ต รอบคอบและ
ปลอดภัย ตะหนักถึงคุณภาพของงาน และมีจริ ยธรรมในงาน
อาชีพ
4
มาตรฐานรายวิชา
1.
2.
3.
4.
5.
เข้าใจหลักการ มาตรฐานของระบบเครื อข่ายและการใช้งาน
จาแนกคุณสมบัติมาตรฐานระบบเครื อข่าย
ออกแบบติดตั้งระบบเครื อข่าย
เชื่อมต่อระบบเครื อข่าย แบบต่างๆ
ทดสอบการทางานของอุปกรณ์เนตเวิร์ก ตรวจสอบและการ
บารุ งรักษาระบบเครื อข่าย
5
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการ มาตรฐานการออกแบบและวาง
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ การทางานของ Network
Topology, Protocol, OSI Model, LAN,
WAN, VLAN, WLAN (Wireless Lan),
VPN (Virtual Private Network), ATM
(Asynchronous Transfer Mode),
6
คาอธิบายรายวิชา (ต่อ)
FDDI (Fiber Distributed Data Interface), ISDN,
ADSL มาตรฐาน IEEE802.X, มาตรฐาน
EIA/TIA 568 อุปกรณ์เนตเวิร์ก Hub, Switching
Hub, Bridge, Router, Server, Fiber Optics,
Modem, Cable
7
เกณฑ์ การให้ คะแนน




คะแนนเก็บระหว่ างภาค
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
กิจนิสัย



- สนใจเรียน
- เวลาเรียนตลอดปี
- เวลาเรียน
35 %
15 %
20 %
30 %
10 %
10 %
10 %
8
CHAPTER 1
การสื่ อสารข้อมูลเบื้องต้น
9
การสื่ อสารข้อมูล
คือการโอนถ่ายหรื อแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน
ระหว่างผูร้ ับกับผูส้ ่ ง โดยผ่านทางสื่ อกลาง
10
การสื่ อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
คือการโอนถ่ายหรื อแลกเปลี่ยนข้อมูล
(Data Transmission) กันระหว่างต้นทางและ
ปลายทางโดยผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
11
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่ อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

ผูส้ ่ ง หรื อ อุปกรณ์ส่งข้อมูล(Sender)และผูร้ ับหรื ออุปกรณ์รับข้อมูล ( Receiver )



ผู้ส่งหรืออุปกรณส
มีหน้าทีเ่ ตรียม สราง
้ ล
้
์ ่ งขอมู
ขอมู
้ ล
ผูร้ ับหรื ออุปกรณ์รับข้อมูลมีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมา
อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับ – ส่ ง มี 2 ชนิด คือ
 DTE ( Data Terminal Equipment ) คืออุปกรณ์ที่เป็ นแหล่งต้นกาเนิ ด
ข้อมูลและรับข้อมูลเช่น เทอร์ มินลั คอมพิวเตอร์ เครื่ องพิมพ์ หรื อตัวควบคุม
 DCE (Data Communication Equipment ) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่ อสาร
รับ – ส่ ง ข้อมูล โดยทัว่ ไป ได้แก่ โมเด็ม จานไมโครเวฟ จานดาวเทียม
12
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่ อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

โปรโตคอล (Protocol) และ ซอฟท์แวร์ ( Software)
 โปรโตคอล(Protocol) เป็ นวิธีการ กฎระเบียบ หรื อข้อตกลงที่ใช้ในการ
สื่ อสารข้อมูลผูส
้ ่ งหรืออุปกรณส
์ ่ งขอมู
้ ลให้ผรู ้ ับและผูส้ ่ ง
สามารถเข้าใจกัน
 ซอฟต์แวร์ ทาหน้าที่ในการดาเนิ นงานในการสื่ อสารข้อมูลเป็ นไป
ตามที่โปรแกรมกาหนดไว้
13
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่ อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

ข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปใน
ระบบสื่ อสาร ประกอบด้วย 4 รู ปแบบ คือ




เสี ยง (Voice) การส่ งข้อมูลจะส่ งด้วยความเร็ วต่า
ข้อมูล (Data) คือ ข้อมูลที่ถกู สร้างขึ้นด้วยคอมพิวเตอร์ มีรูปแบบที่แน่นอน ( เป็ น
รหัสบิต) คาดการณ์จานวนได้ การส่ งข้อมูลจะส่ งด้วยความเร็ วสู ง
ข้อความ (Text) ไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ส่ วนใหญ่เป็ นรู ปของอักขระ
หรื อเอกสาร การส่ งข้อมูลจะส่ งด้วยความเร็ วปานกลาง
ภาพ ( Image ) อยูใ่ นรู ปของกราฟฟิ กแบบต่างๆ ใช้หน่วยความจามาก ต้องส่ ง
ข้อมูลด้วยความเร็ วสูง
14
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่ อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

สื่ อกลาง (Medium) เป็ นเส้นทางการสื่ อสารเพื่อนาข้อมูลจาก
ต้นทางไปยัง ปลายทาง สื่ อกลาง อาจเป็ นเส้นลวดทองแดง
สายไฟทองแดง คลื่นวิทยุ คลื่นดาวเทียม หรื อ คลื่นโทรศัพท์
15
ชนิดของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์
 สัญญาณอิเล็กทรอนิ กส์ที่ใช้ในการสื่ อสาร สามารถแบ่งออกเป็ น


2 ประเภทคือ สัญญาณอนาล็อก และ สัญญาณดิจิตอล
สัญญาณอนาล็อก ได้แก่ สัญญาณเสี ยง และ สัญญาณในธรรมชาติ
ทั้งหมด
ปัญหาที่สาคัญของสัญญาณ อนาล็อกก็คือเรื่ องสัญญาณรบกวน
ซึ่งในบางครั้งอาจทาให้ระบบไม่สามารถใช้งานได้เลย ดังนั้นจึงมีการ
นาสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแทนที่
16
สัญญาณแบบอนาล็อก (Analog Signal)


เป็ นสัญญาณแบบต่อเนื่องที่ทุกๆ ค่า ที่เปลี่ยนแปลงไปของระดับ
สัญญาณ จะมีความหมาย
การส่ งสัญญาณแบบนี้จะมีการรบกวนทาให้เกิดการแปลความหมาย
ผิดพลาดได้ง่าย เนื่องจากค่าทุกค่าถูกนามาใช้งาน ซึ่งสัญญาณแบบ
อนาล็อกนี้ จะเป็ นสัญญาณ ที่สื่อกลางในการสื่ อสารส่ วนมากใช้อยูเ่ ช่น
สัญญาณเสี ยงในสายโทรศัพท์ ช่องสัญญาณของสถานีวิทยุโทรทัศน์
17
สัญญาณแบบดิจิตอล (Digital Signal)

ประกอบขึ้นจากสัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณระดับสู งสุ ด
และสัญญาณระดับต่าสุ ด ดังนั้นจะมีประสิ ทธิภาพ และความน่าเชื่อถือ
สูงกว่าแบบอนาล็อก เนื่องจากมีการใช้งานค่าสองค่า เพื่อนามาตี
ความหมายเป็ น on/off หรื อ 0/1 เท่านั้น ซึ่งเป็ นสัญญาณที่
คอมพิวเตอร์ใช้ในการติดต่อสื่ อสารกัน
ตัวอย่างเช่น สัญญาณของเมาส์ หรื อ คียบ์ อร์ด
18
รู ปแบบการสื่ อสารข้ อมูล
What is a picture
Single Duplex
Half Duplex
Full Duplex
19
นิยามการส่ งข้อมูล

องค์ประกอบของการสื่ อสารอย่างน้อยต้องประกอบด้วย ผูส้ ่ ง ผูร้ ับ และ
ตัวกลาง ซึ่ งในการติดต่อสื่ อสารเพื่อส่ งข้อมูลระหว่างผูส้ ่ งและผูร้ ับโดย
ผ่านตัวกลางนั้น ปกติทาได้ 3 ลักษณะคือ การสื่ อสารแบบซิ มเพล็กซ์
(Simplex) ฮาล์ฟดูเพล็กซ์ (Halfduplex) และฟูลดูเพล็กซ์
(Full-duplex)
20
การสื่ อสารแบบซิมเพล็กซ์ หรือการสื่ อสารแบบทาง
เดียว (One-way communication)

ตัวกลางในการส่ งข้อมูลนั้น อาจจะพูดได้วา่ ประกอบด้วยช่องสัญญาณ
(channel) ซึ่ งอนุญาตให้ขอ้ มูลผ่านได้ช่องเดียวหรื อหลายช่อง
ช่องสัญญาณนี้คล้ายกับท่อน้ า โดยจะไหลผ่านแหล่งกาเนิดน้ าไปยังแหล่ง
รับน้ า การส่ งข้อมูลจะเป็ นลักษณะที่ขอ้ มูลถูกส่ งไปทางเดียวหรื อ Oneway communication เช่น การกระจายเสี ยงของสถานีวทิ ยุ
ต่าง ๆ การแพร่ ภาพทางโทรทัศน์ การส่ งน้ าตามท่อ หรื อการจราจรระบบ
ทางเดียว
21
การสื่ อสารแบบฮาล์ฟดูเพล็กซ์ หรื อ การสื่ อสารแบบทางใดทางหนึ่ง
(Either-way communication)

การส่ งข้อมูลผ่านช่องสัญญาณเดียวนั้นจะสามารถส่ งไปได้ท้ งั สองทาง แต่ตอ้ ง
สลับกันจะส่ งในเวลาเดียวกันไม่ได้ การส่ งข้อมูลแบบนี้เรี ยกว่า “การสื่ อสารแบบ
ฮาล์ฟดูเพล็กซ์” เช่น วิทยุสื่อสารในรถตารวจ ซึ่ งเมื่อเวลาผูพ้ ดู พูดจบ มักจะต่อท้าย
ด้วยคาว่า ”เปลี่ยน” ทั้งนี้เพื่อให้ผรู ้ ับสามารถทราบได้อย่างรวดเร็ วว่าข้อมูลที่ส่งมานั้น
หมดแล้ว สามารถส่ งข้อมูลตอบกลับมาได้ ผูร้ ับจะใช้ระยะเวลาหนึ่งในการตีความ
และทราบว่าข้อมูลจากผูส้ ่ งหมดแล้ว และพร้อมที่จะตอบกลับไป ซึ่ งช่วงเวลานี้เรี ยก
กว่า reaction time และเมื่อผูร้ ับต้องการส่ งข้อมูลตอบกลับข้อมูลจะมีการกด
สวิตซ์ (switch) ซึ่ งต้องใช้เวลาในการที่จะเปลี่ยนสภาวะจากผูร้ ับเป็ นผูส้ ่ ง
ช่วงเวลาที่กดสวิตช์น้ ีเรี ยกว่า line turnaround time ดังนั้นการ
เปลี่ยนแปลงการส่ งข้อมูลจากด้านหนึ่งจะต้องเสี ยเวลาไป ซึ่ งเวลานี้ประกอบด้วย
reaction time และ line turnaround time รวมเรี ยกว่า
system turnaround time
22
ความหมายของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
หมายถึง การนาเครื่ องคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่ อง มา
เชื่อมต่อกันเป็ นเครื อข่าย โดยการเชื่อมต่อนั้นจะมีแผงวงจร
เครื อข่าย (Network Interface Card : NIC ) เป็ นตัว
เชื่อมต่อ ทาให้สามารถติดต่อสื่ อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลและ
ใช้อุปกรณ์ร่วมกันได้
23
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
 สามารถใช้ ทรัพยากรทีม
่ รี าคาสู งร่ วมกันได้
 สามารถนาระบบเครือข่ าย (Network)
ไปเชื่อม
ต่ อเป็ นประตูทางผ่ าน
 ประหยัดค่ าใช้ จ่ายในด้ านซอฟท์ แวร์
 User สามารถใช้ ข้อมูลร่ วมกันได้
 สามารถใช้ งานโปรแกรม ประเภท Multiuser ได้
24
จากที่กล่ าวมาประโยชน์ ของระบบเครือข่ าย
คอมพิวเตอร์ แบ่ งเป็ น
 การใช้
Hardware ร่ วมกัน
 การใช้ Software ร่ วมกัน
 การเชื่อมต่ อกับระบบอืน
่
 การใช้ ระบบ Multiusers
25
ประเภทของเครื อข่าย




การแบ่งเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ตามหน้าที่เครื อข่ายย่อของผูใ้ ช้ และ
เครื อข่ายย่อยส่ วนของการสื่ อสาร แต่หากจะแบ่งเครื อข่ายออกตามอาณา
เขตที่ครอบคลุมแล้ว อาจจะแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ
แวน (WAN; Wide Area Networks)
แมน (MAN; Metropolitan Area Networks)
แลน (LAN; Local Area Networks)
26
ประเภทของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
Satellite
Satellite dish
Satellite dish
ประเทศไทย
WAN
ประเทศญี่ปุ่น
27
แวน (WAN; Wide Area Networks)

แวน เป็ นเครื อข่ายซึ่ งมีขอบเขตกว้างไกลครอบคลุมทัว่ ประเทศและ
ระหว่างประเทศมีอตั ราการส่ งข้อมูลไม่สูงนัก โดยปกติแล้วการส่ งข้อมูล
แวนนั้นจะอาศัย Switched Network ในการส่ งข้อมูลระหว่าง
โหนด ยกเว้นเครื อข่ายดาวเทียมซึ่ งทะงานในด้านการแพร่ กระจายข้อมูล
เนื่องจากแวนมีขอบเขตกว้าง จึงมักจะต้องอาศัยเครื อข่ายโทรศัพท์
(Public Teleplone Network) ในการส่ งข้อมูล ซึ่ งทาให้
ถูกจากัดความสามารถในการส่ งข้อมูล (bandwidth)
28
ประเภทของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
Radio Tower
อาเภอศรีราชา
อาเภอพานทอง
MAN
29
แมน (MAN; Metropolitan Area Networks)

แมน เป็ นเครื อข่ายที่ครอบคลุมทั้งตัวเมือง เช่น การแพร่ ขอ้ มูลภาพด้วย
ระบบเคเบิลทีวี หรื อการส่ งข้อมูลด้วยคลื่นวิทยุ ซึ่ งการส่ งข้อมูลจะเป็ น
ลักษณะของเครื อข่ายแบบแพร่ กระจายข้อมูลคล้ายกับดาวเทียม
30
ประเภทของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ตึก 10
ตึก 9
LAN
31
รูปแบบของเครือข่ ายแบบ LAN
Laser printer
PEER-TO-PEER
32
รูปแบบของเครือข่ ายแบบ LAN
Server
Client
Client
Client
Client
Client/Server
33
โครงสร้ างเครือข่ าย (Network Topology)
หมายถึง รูปแบบการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดิน
สายสั ญญาณคอมพิวเตอร์ ในเครือข่ าย
รวมถึงหลักการไหลเวียนข้ อมูลในเครือข่ าย
34
โครงสร้ างเครือข่ ายแบบบัส
Terminator
35
โครงสร้ างเครือข่ ายแบบบัส
SERVER
36
โทโปโลยีแบบบัส(Bus Topology)
 จะเป็ นการเชื่อมต่อสายแบบเส้นตรง
โดยสถานีงานต่างๆ
จะใช้บสั หรื อ ถนนข้อมูลนี้ร่วมกัน ซึ่ งเปรี ยบเสมือน
ถนนของข้อมูล (Highway) เป็ นแกนหลัก แต่ถา้ หาก
กรณี ที่มีเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดไป ก็จะทาให้ระบบ
เครื อข่ายนี้ หยุดการทางานทันที
37
โครงสร้ างเครือข่ ายแบบริง
38
โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
 จะเป็ นการเชื่อมต่อกันเป็ นลูป (Loop)
ซึ่งประกอบด้วย
สถานีหลายๆ สถานีเชื่อมต่อกันโดยสถานีสุดท้ายจะต่อ
กับสถานีแรก ทาให้มีรูปแบบของระบบเป็ นแบบวง
แหวน(Ring) โดยข้อมูลที่ส่งจากสถานีหนึ่งไปยังสถานี
หนึ่ง จะเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
39
โครงสร้ างเครือข่ ายแบบดาว
HUB
40
โทโปโลยีแบบดาว (Ring Topology)
 เป็ นรู ปแบบการเชื่อมต่อโดยนาสถานี ต่างๆ
หลายๆ
สถานีนามาเชื่อมต่อรวมกันกับอุปกรณ์ต่อเชื่อมตัวกลาง
HUB หรื อ SWITCH โดยอุปกรณ์เชื่อมตัวกลางนี้ จะ
ทาหน้าที่รับส่ งข้อมูลจากสถานีหนึ่ง แล้วส่ งไปให้กบั
สถานีน้ นั ๆ
41