ของเสีย

Download Report

Transcript ของเสีย

White Camp
การจัดการที่ยงั่ ยืน
ด้ านการผลิตและการดาเนินงาน
1
กระบวนการแปลงสภาพ
INPUT
วัตถุดิบ
OUTPUT
สิ นค้ า
คน
เงิน
ธุรกิจของเรา
เครื่องมือ,เครื่องจักร
การจัดการ , ข้ อมูล
บริการ
ผลพลอยได้
ข้ อมูลย้ อนกลับ
การควบคุม
2
Environment
Ethic
Safety
Morale
Quality
Delivery
Efficiency
3
ความเสื่ อมโทรมของสิ่ งแวดล้อม
ความเสื่ อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
มลพิษ ทางน้ า อากาศ เสี ยง กลิ่น ของเสี ย ฯลฯ
4
สาเหตุ
•
•
•
•
•
การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ ว
การเปลี่ยนจากระบบเกษตรกรรมเป็ นอุตสาหกรรม
นาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เป็ นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต
ความจากัดของทรัพยากรธรรมชาติและความสามารถในการ
รองรับและบาบัดของเสี ยจากกระบวนการผลิต
การขาดความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการ
5
ผลิตภัณฑ์สีเขียว
คือผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อย
 ลดการปล่อยสารเคมี หรื อกากสารพิษออกสู่ สิ่งแวดล้อม
 ประหยัดพลังงานและทรัพยากร ทั้งในระหว่างการผลิต
การขนส่ ง และการใช้งาน
 ไม่เป็ นภาระในการกาจัดหลังหมดอายุใช้งานแล้ว
 ไม่ก่อให้เกิดขยะมากนัก

6
การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design)
โดยคานึงถึงปั จจัยต่างๆ ดังนี้
 ใช้ทรัพยากรให้คุม้ ค่า
 ออกแบบให้เหมาะสมกับการใช้งาน
 ออกแบบที่ทนทาน
 ใช้การผลิตที่สะอาด ลดมลภาวะ
 พยายามใช้วสั ดุที่มีการนามาใช้ใหม่ได้
 หลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
 ออกแบบที่ใช้พลังงานที่ประหยัด
7
การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ(Eco-Design)
Economical + Ecology Requirement
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ส่งผลกระทบต่อพลังงานและสิ่ งแวดล้อม
น้อยที่สุด โดย
ออกแบบเพื่อประหยัดการใช้ทรัพยากร
ออกแบบเพื่อประหยัดพลังงาน
ออกแบบเพื่อการรี ไซเคิล การนามาใช้ใหม่
ออกแบบเพื่อการถอดออกที่ง่าย
ออกแบบเพื่อการบรรจุภณั ฑ์ที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม ฯลฯ
8
การประเมินวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์
(Life Cycle Assessment : LCA)
คือ การประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นจริ งและสิ่ งที่อาจจะเกิดขึ้น
ต่อสิ่ งแวดล้อมทั้งที่มีชีวติ และไม่มีชีวติ ตั้งแต่ข้ นั ตอนการได้มา
ซึ่งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต กระบวนการผลิต บรรจุภณ
ั ฑ์
การจัดเก็บ กระบวนการทางการตลาด การขนส่ ง การใช้และการซ่อม
การเลิกใช้ การทิ้งและทาลาย
9
โครงสร้างของขั้นตอน LCA
10
ฉลากเขียว
(GREEN LABEL or ECO LABEL)
คือ ฉลากที่มอบให้แก่ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และมีผลกระทบต่อ
สิ่ งแวดล้อมน้อยกว่า เมื่อนามาเปรี ยบเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทาหน้าที่
อย่างเดียวกัน ฉลากเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลักษณะอื่นๆ เช่น
Green Dot
Eco-Label
GMOs (Genetically Modified Organisms)
FSC (Forest Stewardship Council)
Green Label
11
เครื่ องหมายฉลากเขียว
เป็ นเครื่ องหมายสื่ อถึงความเป็ นหนึ่งเดียวกันของ
มนุษย์ ประกอบด้วย รู ปหน้าเด็กกาลังยิม้ รู ปนก
ต้นไม้ และโลก
เพื่อสื่ อให้ตระหนักว่า การช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ในวันนี้เท่ากับช่วยให้ลูกหลานของเราได้อาศัยอยูใ่ น
โลกอย่างมีความสุ ขตลอดไป
12
ประโยชน์ของฉลากเขียว
ช่วยป้ องกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ลดมลพิษโดยรวม
ภายในประเทศ ทาให้มีการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
ทาให้ผบู ้ ริ โภคทราบว่าผลิตภัณฑ์น้ นั เน้นคุณค่าของสิ่ งแวดล้อม
ผลักดันให้ผผู ้ ลิตใช้วิธีการผลิตที่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อย
เป็ นทางเลือกให้ผบู ้ ริ โภคในการเลือกซื้ อสิ นค้าที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
สร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์และเป็ นเครื่ องมือในการแข่งขัน
สร้างกาไรในระยะยาวให้ผผู ้ ลิต
13
ประเภทต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ฉลากเขียว
•
•
•
•
•
•
•
กระดาษชาระ กระดาษสานักงาน
หลอดไฟฟลูออเรสเซนซ์
ตูเ้ ย็น เครื่ องปรับอากาศ มอเตอร์
คอมพิวเตอร์ เครื่ องซักผ้า
เครื่ องถ่ายเอกสาร
ก๊อกน้ า อุปกรณ์ในห้องน้ า ชักโครก
ผลิตภัณฑ์ที่ทาจากยางพารา จากผ้า
จากพลาสติกใช้แล้ว
•
•
•
•
•
•
•
สี ทาบ้าน ถ่านไฟฉาย
สเปรย์ น้ ายาทาความสะอาด
น้ ายาล้างจาน สบู่ แชมพู
ฉนวนกันความร้อน
เครื่ องเรื อนโลหะ
น้ ามันหล่อลื่น
ฯลฯ
14
Organic Products
–
–
–
–
–
ไม่ใช้สารเคมีในการเพาะปลูก/เลี้ยงสัตว์
ใช้ระบบชีวภาพในการควบคุมคุณภาพในการผลิต
ไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยา โดยควบคุมการดาเนินงาน
ด้วยระบบปิ ด
บาบัดของเสี ยด้วยระบบธรรมชาติ และ ก่อนปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม
ไม่ใช้การทดสอบกับสัตว์ (Animal Test)
15
สู ตรจากธรรมชาติ สกัดจากพืช เช่น มะนาว สับปะรด และน้ ามันหอมระเหย
ไม่มีสารที่ก่อให้เกิดมะเร็ ง หรื อสารพิษตกค้างที่กระทบต่อคน สัตว์และพืช
เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมได้รับสัญลักษณ์ฉลากเขียว
16
Green Credit
พิจารณาการอนุมตั ิสินเชื่อ โดยขึ้นอยูก่ บั เกณฑ์ทางด้าน
•
•
ผลประโยชน์ต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม เช่น สร้างความมัง่ คัง่
ต่อชุมชน พัฒนาสภาพแวดล้อมรอบๆกิจการ
ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ/มลพิษต่อสิ่ งแวดล้อม เช่น ไม่ทาลาย
ป่ าชายเลน ทรัพยากรธรรมชาติ
17
ตัวอย่างการจัดการด้านสิ่ งแวดล้อม
ระบบบาบัดน้ าเสี ยของโรงงาน/โรงแรม
การบาบัดคราบน้ ามันในน้ าทิ้งจากสถานีบริ การด้วยแบคทีเรี ย
การกาจัดขยะชุมชนโดยผลิตก๊าซชีวภาพและปุ๋ ย
การกาจัดขยะโดยใช้ไส้เดือนดิน
ระบบบาบัดน้ าเสี ยในอุตสาหกรรมฟอกย้อมเพื่อนาน้ ากลับมาใช้ใหม่
การปรับปรุ งคุณภาพอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน
18
การจัดการด้านสิ่ งแวดล้อมในกระบวนการผลิต
สิ่งนาเข้ า
Input
วัตถุดบิ
 วัตถุดิบ/ชิ้นส่ วน
 สารเคมี
 แรงงาน/พลังงาน
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 วัสดุที่นากลับมาใช้
ใหม่
การแปลงสภาพ
Transformation
การผลิต/การดาเนินงาน
 การใช้เครื่ องจักรเทคโนโลยี
 การใช้ที่ดิน
 การซ่ อมบารุ ง
สิ่งนาออก
Output
ผลิตภัณฑ์
 ผลิตภัณฑ์หลัก
 ผลพลอยได้
 วัสดุนากลับมาใช้
ของเสี ย
 น้ าเสี ย
 ของเสี ยอันตราย
 การนากลับมาใช้ใหม่
การปล่อยมลพิษ
 มลพิษทางอากาศ
 มลพิษทางน้ าและดิน
 เสี ยง ความร้อน การ
19
สั่นสะเทือน
วัตถุดบิ
อากาศที่ระบายออก
สารเคมี
นา้ /อากาศ
พลังงาน
หน่ วยการผลิต
ใช้ ซา้
หมุนเวียนใช้ ใหม่ ในกระบวนการอื่น
ผลิตภัณฑ์
ผลพลอยได้
(รวมของเสียสาหรับ
นากลับมาใช้ ใหม่ )
นา้ ทิง้
ของเสีย/สารเคมีท่ นี าไปกาจัด
วัสดุเหลือใช้
จาก Audit and Reduction Manual for Industrial Emission and Wastes, UNIDO
20
ปัจจัยนาเข้า (Input)
ควรคานึงถึงการใช้วตั ถุดิบและทรัพยากรอย่างประหยัด
เช่น ผลิตเฟอร์นิเจอร์ ต้องมีการใช้ไม้อย่างประหยัด และควรส่ งเสริ ม
การปลูกป่ าทดแทน หรื อใช้ทรัพยากรอื่นที่ทดแทนไม้ รวมทั้งการ
คานึงถึงการนาวัสดุที่ใช้แล้วนามาใช้อีก
21
การผลิตและการดาเนินงาน(Process)






ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
มีการซ่อมบารุ งโดยใช้ระบบป้ องกัน(Preventive Maintenance)
จัดสรรการใช้พ้นื ที่อย่างเหมาะสม
ใช้หลักการผลิตที่สะอาด ลดผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อม
ในการผลิตควรคานึงถึง
O การประหยัดพลังงาน
O การนาพลังงานมาใช้ใหม่
O การประหยัดน้ า
O การลดของเสี ย
เมื่อมีของเสี ยจากการผลิตก็นากลับมาใช้ใหม่ (Recycled Material)
22
• โตโยต้ า :
กระบวนการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ควบคุมการปล่อยมลภาวะ
ลดต้นทุน และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการดาเนิ นงาน Zero Defect
มุ่งเน้นที่กิจกรรมหลักที่เพิ่มมูลค่า
• วอลมาร์ ท :
– หี บห่อ ถุง และวัสดุในร้านใช้พลาสติกที่ยอ่ ยสลายได้ดว้ ยแสงอาทิตย์ และ สามารถ
นากลับมาใช้ใหม่ได้
– คัดเลือกซัพพลายเออร์ อย่างเข้มงวด โดยเน้นที่ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
• เทสโก้ :
– กรี นสโตร์ ลดการปลดปล่อยคาร์ บอน
– Smart Building ลดการใช้พลังงาน
– ลดอุบตั ิเหตุและเพิ่มความปลอดภัยในร้าน
23
เทคโนโลยีสะอาด
Clean Technology : CT
กระบวนการผลิตที่มีการใช้ Input : วัตถุดิบ พลังงานและทรัพยากร
ธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย์ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ให้เปลี่ยนเป็ นของเสี ยน้อยที่สุดหรื อไม่มีเลย
เป็ นการลดมลพิษที่แหล่งกาเนิด
การเปลี่ยน/ลดวัตถุดิบ การใช้ซ้ า(Reuse) และการนากลับมาใช้ใหม่
(Recycle) ซึ่ งจะช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และลดต้นทุนในการผลิต
24
แรงผลักดันของ Clean Technology
ลูกค้ า
ระบบมาตรฐาน
การลดต้ นทุน
พนักงาน
กฎหมาย
พัฒนาประสิทธิภาพ
องค์ กรเอกชน
คุณภาพสิ่งแวดล้ อม
ภาคการเงิน
ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม
25
สิ่ งนาออก (Output)
สิ่ งที่ออกจากกระบวนการผลิต ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เช่น ตูเ้ ย็น ทีวี บะหมี่
สาเร็ จรู ป หรื อบริ การ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร สปา ฯลฯ นอกจาก
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ ยังมีของเสี ยต่างๆ ได้แก่
O น้ าเสี ย
O ของเสี ยอันตราย
O ของเสี ยทัว่ ไป
26
จุดที่สามารถหาโอกาสในการลดของเสี ย
ประเภทและลักษณะของวัตถุดิบ
 การรับวัตถุดิบ การตรวจสอบคุณภาพ/ปริ มาณ
 การใช้งาน และการเก็บรักษาวัตถุดิบ
 การขนส่ งวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ (ในรู ปของแข็ง ของเหลว ก๊าซ) ใน
กระบวนการผลิต
 การควบคุมขั้นตอน และกระบวนการผลิต
 การใช้น้ าล้าง การชะ และการหล่อเย็น
 การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์

27
ตัวอย่างการเกิดของเสี ยในกระบวนการผลิตน้ าปลา
ปลาสด
นา้ ล้ าง
เกลือ
ขวด/กล่ อง/ถัง
รับปลา
หมัก/กรอง
บรรจุ
จัดเก็บ
นา้ ปลา
ของคัดทิง้
นา้ ทิง้ จากการล้ าง
กลิ่น/กาก/นา้ ทิง้
สินค้ าสูญเสีย
บรรจุภัณฑ์ เสียหาย
สินค้ าเสียหาย
28
การจัดการด้านสิ่ งแวดล้อม
การลดของเสี ยให้เหลือน้อยที่สุด
การใช้ซ้ า/การนากลับมาใช้ใหม่
Clean
Technology
การบาบัด
การทิ้ง
ทาลาย
29
3Rs`
30
ตัวอย่างการจัดการสิ่ งแวดล้อม
ระบบบาบัดน้ าเสี ยอุตสาหกรรมเกษตร
การบาบัดคราบน้ ามันในน้ าทิ้งจากสถานีบริ การด้วยแบคทีเรี ยท้องถิ่น
การกาจัดขยะชุมชนโดยผลิตก๊าซชีวภาพและปุ๋ ย
การกาจัดขยะโดยใช้ไส้เดือนดิน
เทคโนโลยีสะอาด (Cleaner production) ในโรงงานเยือ่ กระดาษ
การสร้างตะกอนจุลินทรี แบบเม็ดในระบบบาบัดน้ าเสี ยแบบไร้อากาศ
ระบบบาบัดน้ าเสี ยจากอุตสาหกรรมฟอกย้อมเพื่อการนาน้ ากลับมาใช้ใหม่
การปรับปรุ งคุณภาพอากาศที่ระบายออกจากปล่องหม้อไอน้ า
31
การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
“Green Procurement” การจัดซื้อจัดจ้างสี เขียว
= คุณภาพ + ราคา + การส่ งมอบ + ปั จจัยสิ่ งแวดล้อม





พิจารณาตลอดทั้งวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์
ช่วยทาให้เกิดตลาดผลิตภัณฑ์สีเขียว
กระตุน้ ให้ผผู ้ ลิตหันมาใส่ ใจผลิตผลิตภัณฑ์ที่ลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
ผูผ้ ลิตแข่งขันกันปรับปรุ งคุณภาพสิ นค้า หรื อ บริ การของตนเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของตลาด
เป็ นการสร้างโอกาสให้ผบู ้ ริ โภคเข้ามามีส่วนร่ วมในการรักษาสิ่ งแวดล้อม
ผ่านกลไกทางการตลาดจากการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
32
จัดซื ้อที่ดี ต้ องมี “8R”








Right Item
Right Quality
Right Price
Right Quantity
Right Supplier
Right Service
Right Time
Right Place
33
การจัดการสิ นค้าคงคลัง






ปริ มาณการจัดเก็บ : วัตถุดิบ งานระหว่างทา สิ นค้าสาเร็ จรู ป
การเคลื่อนย้ายสิ นค้า : ยก หยิบ เคลื่อน เข็น ลาก
วิธีการขนส่ งสิ นค้า : รถบรรทุก มอเตอร์ไซค์
การบรรจุหีบห่อ : กล่อง ลัง ถุง
การเก็บรักษาสิ นค้า : วางซ้อนกันใน-นอกโกดัง ห้องเย็น
ข้อมูลข่าวสาร : รับคาสัง่ ซื้อ สัง่ ผลิต พยากรณ์ยอดขาย
34
Green Policy ของกลุม่ ปตท.
•
•
•
•
•
Green Plant
Green Process
Green People
Green Product
Green Project
35
บริ ษทั นิธิฟดู้ จากัด
ผลิตภัณฑ์เครื่ องเทศและสิ นค้าเกษตรแปรรู ปโดยมี
นโยบาย คือ "บริ ษทั มุ่งมัน่ ผลิตอาหารที่มีคุณภาพ
ถูกสุ ขลักษณะ ปลอดภัย และเป็ นที่พอใจของลูกค้า
โดยเน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทุกหน่วยงาน
36
ปัจจัยแห่งความสาเร็ จ
 คุณภาพตรงตามต้องการ
 ผลิตจานวนเหมาะสม
 ต้นทุนต่า
 การจัดซื้ อ/จัดหา
 ความรวดเร็ วในการจัดส่ ง
่
 ความยืดหยุน
37
คุณภาพ (Quality)
คุณภาพที่สมั ผัสได้ เช่น ความสวยงาม นุ่มนวล กลิ่น รส เสี ยง
 สมรรถนะของสิ นค้า เช่น ความรวดเร็ ว ความถูกต้องแม่นยา ความ
สม่าเสมอ
 ความทันสมัย
 ความคงทน
 บริ การที่ให้แก่ลูกค้า ความจริ งใจ เอื้อเฟื้ อ ยิม
้ แย้มแจ่มใส
 ภาพพจน์ของสิ นค้า หรื อภาพพจน์ของกิจการ

38
การควบคุมคุณภาพ
Feedforward
Quality Control
Concurrent Quality
Control
Feedback
Quality Control
39
ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จในการจัดการที่ยั่งยืน
1. ด้านเศรษฐกิจพอเพียง
O ความพึงพอใจของลูกค้า
O ความพึงพอใจของผูจ้ ดั จาหน่าย
O ความพึงพอใจของพนักงาน
O ภาพลักษณ์ของธุรกิจ
O อัตราการใช้งานของโรงงาน
O ผลตอบแทนจากการลงทุน
O ความเสี่ ยงของธุรกิจ
40
ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จในการจัดการที่ยั่งยืน
2.ด้านสิ่ งแวดล้อม
O การใช้ทรัพยากร
O มลภาวะ
O การปฏิบตั ิตามข้อบังคับตามกฎหมาย
O อัตราของเสี ย
3.ด้านสังคม
O ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์และบริ การที่จะมีผลกระทบ
O ความรับผิดชอบต่อสังคม
O การมีส่วนช่วยเหลือพัฒนาสังคม/ชุมชน
41
ISO 26000
อนุกรมคุณภาพเพื่อการดาเนินงานที่ยงั่ ยืนและเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม
• บังคับใช้ 2551
• ครอบคลุม 5 ประเด็นที่สาคัญ
– หลักจริ ยธรรม : ความโปร่ งใส ความเป็ นธรรม
– หลักสุ ขภาพ : สภาวะแวดล้อมในการทางาน
– หลักสิ่ งแวดล้อม: มลภาวะที่ปลดปล่อย
– หลักความปลอดภัย: ลดอุบตั ิเหตุการทางาน การป้ องกัน
– หลักการใช้แรงงาน: พื้นฐานมนุษยชน
42