“บทบาทของภาคเอกชน ต่อธุรกิจการค้าชายแดน” - Tanit Sorat V

Download Report

Transcript “บทบาทของภาคเอกชน ต่อธุรกิจการค้าชายแดน” - Tanit Sorat V

“โอกาสทางการค้ าไทยในประเทศเพือ่ นบ้ าน”
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
ประธานสภาธุรกิจ GMS ประเทศไทย
1
ทาไมต้ องไปลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ าน
• ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนค่าแรงไทยสูง
– พม่า
33.4 USD/Month ไทยสูงกว่า 8.60 เท่า
– กัมพูชา
61
USD/Month ไทยสูงกว่า 4.75 เท่า
– เวียดนาม
55-60 USD/Month ไทยสูงกว่า 4.80 เท่า
– ลาว
81
USD/Month ไทยสูงกว่า 3.53 เท่า
– ไทย
290 USD/Month
2
ทาไมต้ องไปลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ าน
(1) ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนค่าแรงไทยสู งกว่าประเทศเพื่อนบ้าน
เฉลี่ย 4 เท่า
(2) ขาดแรงงานในทุกสาขา
(3) ขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติและต้นทุนวัตถุดิบสู ง
(4) อุปสรรคด้านผังเมือง
(5) พื้นที่อุตสาหกรรมและเกษตรลดน้อย
(6) ความตื่นตัวด้านสิ่ งแวดล้อม
(7) สิ ทธิประโยชน์ทางภาษี (GSP) และ NTB
(8) การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านทาให้สะดวกต่อการขยายตลาดและเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขัน
3
ทิศทางเศรษฐกิจประเทศไทย
ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ
North – South/ East – West
Economic Corridor
4
เศรษฐกิจไทยภายใต้ AEC ในปี 2015
เขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจุดเปลีย่ นประเทศไทย
การเป็ นฐานการผลิตร่ วมกัน
Customs Union & Co-Production
“ ขจัดภาษีนาเข้ าสินค้ าทุกรายการ ”
ส่ งออกสินค้ าไปอาเซียน ไม่ ต้องเสียภาษีนาเข้ า
ลดภาษีตามลาดับ
ปี 2553
อาเซียน - 6
ภาษี 0%
เวียดนาม ลาว พม่ า กัมพูชา
ที่มา: กรมเจรจาการค้ าระหว่างประเทศ
ปี 2558
ภาษี 0%
5
Offshore Factory
อุตสาหกรรมไทยทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะเคลือ่ นย้ ายไปประเทศเพือ่ นบ้ าน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Industry which use local content material.อุตสาหกรรมที่ใช้วตั ถุดิบประเภท
Local Content
Textile industry which use a lot of labor content. อุตสาหกรรมสิ่ งทอซึ่ งใช้
แรงงานมาก Labour Content
Spare part industry. อุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่ วน
Electric and electronic equipment which use the benefit from value chain
connection with foreign country. เครื่ องใช้ไฟฟ้ า และอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งถือ
เป็ นการใช้ประโยชน์การเชื่อมโยง Value Chain กับต่างประเทศ
Household furniture industry which made of natural material.
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องเรื อน เฟอร์ นิเจอร์ ที่ใช้วสั ดุธรรมชาติ
transformed agriculture industry อุตสาหกรรมเกษตรแปรรู ป
6
ข้ อจากัดการลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ าน
• ความไม่แน่นอนด้านการเมือง และกฎหมาย-ระเบียบข้อบังคับขาดความ
ชัดเจน
• ความราบรื่ นในการดาเนินธุรกิจขึ้นอยูก่ บั ความสัมพันธ์ระดับบุคคล
• ข้อจากัดด้านข้อมูลข่าวสารและด้านการสื่ อสาร
• ความพร้อมด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น ไฟฟ้ า – น้ า
• ด้านโครงสร้างพื้นฐานของภาคขนส่ งยังมีความล้าหลัง
• ด้านโลจิสติกส์มีขอ้ จากัดและต้นทุนสู ง
• วัฒนธรรมและภาษา – สภาพแวดล้อมที่ต่างไป
• ปัญหาคอรัปชัน่ และระบบภาษีที่ไม่แน่นอน
• คุณภาพและทัศนคติของแรงงาน
7
กลยุทธ์ ระดับรัฐบาลต่ อการลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ าน
•
•
•
•
•
•
นโยบายการส่ งเสริ มการลงทุนในต่างประเทศเป็ นวาระแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การเป็ นหุน้ ส่ วนทางเศรษฐกิจไทย – ประเทศเพื่อนบ้าน
บทบาทของประเทศไทยภายใต้บริ บทใหม่ของภูมิภาค
การลดการระแวงและปั ญหาชายแดน
ข้อจากัดของการเปิ ดเสรี และการลงทุนของประเทศเพื่อนบ้าน
การส่ งเสริ มและช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งด้านโครงสร้าง
พื้นฐาน การศึกษา และด้านเศรษฐกิจ
• การใช้ประโยชน์และผลประโยชน์ของประเทศผ่านเวทีระดับ
ภูมิภาค เช่น ASEAN, GMS, ACMECS, ฯลฯ
8
กลยุทธ์ ระดับธุรกิจต่ อการลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ าน
•
•
•
•
•
•
•
วิสัยทัศน์ (Vision) ของเจ้าของและผูบ้ ริ หาร
จุดแข็ง (Strong Point) ของธุรกิจที่จะเข้าไปลงทุนต่างประเทศ
ความพร้อมด้านบุคลากร และการบริ หารจัดการ
ด้านการถ่ายโอนเทคโนโลยีและนวัตกรรม
สายป่ านด้านการเงินต้องยาว
การเข้าถึงระบบอุปถัมถ์และการเมือง ทั้งในระดับประเทศและระดับพื้นที่
กลยุทธ์การสร้างเครื อข่าย รวมถึงการมีหุน้ ส่ วนที่ดี โดยเฉพาะกรณี ที่ตอ้ งมีการ
นอมินี (Nominee)
• กลยุทธ์การจัดทาแผนธุรกิจ (Business Plan) ภายใต้การใช้ประโยชน์ตาม
ข้อตกลงภูมิภาคและการเปิ ดเสรี AEC
• กลยุทธ์ดา้ นการจัดการความเสี่ ยงด้านการลงทุนครอบคลุมทุกมิติ ทั้งด้าน
การเงิน ด้านกฎหมาย และความต่อเนื่องของธุรกิจ
9
โอกาสในการค้ าการลงทุนในพม่ า
การค้ าชายแดน 153,000 ล้ านบท
• การพัฒนาตลาดของพม่ าในอนาคต
อาจจะพัฒนามากขึน้ จากการเข้ าเป็ น
สมาชิ กอาเซียน และขนาดตลาดพม่ า
มี ข นาดใหญ่ ใ กล้ เ คี ย งกั บ ตลาดของ
ไทย ซึ่งไทยสามารถใช้ พม่ าเป็ นประตู
ระบายสิ นค้ าของไทยสู่ ประเทศที่สาม
รวมทั้ ง ใช้ พม่ า เป็ นฐานในการผลิ ต
สิ นค้ าเพือ่ การส่ งออกในอนาคต
10
พม่ ากับการพัฒนาอย่ างก้ าวกระโดด
 พม่ากาลังเข้าสู่ ระบบเศรษฐกิจเปิ ด ที่พม่าใช้คาว่า “Privatization”
 ปี 2556 พม่าจะเป็ นเจ้าภาพกีฬาซี เกมส์
 พม่ากาลังพัฒนาเขื่อนขนาดใหญ่มากกว่า 10 เขื่อนทัว่ ประเทศ และจะเป็ นพลังงาน
ไฟฟ้ าของประเทศไทยในอนาคต
 10 ปี ข้างหน้า พม่าจะเป็ น Indian Ocean Open Door โดยมีท่าเรื อน้ าลึกจ๊อกพยิว
หรื อจ้าวผิว หรื อจีนเรี ยกว่า จ้าวเปี้ ยว เป็ นประตู South Gate ของประเทศจีนสู่
อ่าวเบงกอล
 พม่าได้มีแผนการลงทุนร่ วมกันเอกชนไทยในการก่อสร้างท่าเรื อน้ าลึก และนิคม
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่เมืองทวายซึ่ งจะเป็ น West Gate ของภูมิภาคสู่ มหาสมุทร
อินเดีย
11
ตัวเลข Top Ten การส่ งออก – นาเข้ า
In US $ Million
No.
Top 10 Exports
Value
1
Natural Gas
2,522.5
2
Jade
3
In US $ Million
No.
Top 10 Imports
Value
1
Petroleum Products
1,463.0
2,204.9
2
Machinery & Spare Parts
873.7
Matpe (Black Gram Bean)
458.6
3
Iron & Steel Construction Materials
430.4
4
Garment
381.1
4
Plastic Raw Materials
202.1
5
Fish
306.0
5
Palm Oil
198.8
6
Rubber
302.0
6
Vehicles & Spare Parts
197.1
7
Teak Log
292.3
7
Phamaceuticals
188.3
8
Green Mung Bean
291.3
8
Ships, Boats
180.4
9
Hardwood Log
282.0
9
Cement
167.8
10
Rice
194.4
10 Fertilizers
162.6
12
ศักยภาพของพม่ า
อนาคตและโอกาสของนักลงทุนไทย
1. เป็ นแหล่งวัตถุดิบและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์
2. เป็ นตลาดการค้าของไทย
3. เป็ นแหล่งแรงงานและแหล่งลงทุนที่สาคัญของไทยโดยเฉพาะด้าน
พลังงาน
4. เป็ นทางเชื่อมสู่จีนและอินเดีย เชื่อมทะเลอันดามันกับทะเลจีนใต้
ภายใต้โครงข่ายเชื่อมโยงเศรษฐกิจระเบียงตะวันออก-ตะวันตก
13
ศักยภาพด้านการลงทุนในประเทศพม่า
No.
Particulars
1
Power
2
Oil and Gas
3
Mining
4
Manufacturing
5
Permitted Enterprised
No.
Approved Amount
%
4
14529.742
40.91
104
13815.375
38.90
62
2395.386
6.74
137
1668.126
4.70
Hotel and Tourism
45
1064.811
3.00
6
Real Estate
19
1056.453
2.97
7
Livestock & Fisheries 25
324.358
0.91
8
Transport&Communication
10
313.272
0.88
9
Industrial Estate
3
193.113
0.54
10
Agriculture
5
96.351
0.27
11
Construction
2
37.767
0.11
12
Other Services
6
23.686
0.07
35518.44
100.00
Total
448
(US $ in million)
14
ประเทศทีเ่ ข้ าไปลงทุนในพม่ า 10 อันดับแรก
No.
Particulars
No.
1 China
32
2 Thailand
61
3 Hong Kong
36
4 Republic of Korea 45
5 U.K.
51
6 Singapore
74
7 Malaysia
36
8 France
2
9 U.S.A.
15
10 Indonesia
12
Permitted Enterprised
Approved Amount % (US $ in million)
9603.168 27.04
9568.093 26.94
5907.918 16.63
2904.106 8.18
2659.954 7.49
1778.543 5.01
898.347 2.50
469.000 1.32
243.565 0.69
241.497 0.68
15
การลงทุนในประเทศกัมพูชา
การค้ าชายแดน 67,800 ล้ านเหรียญสหรัฐ
เส้ นทางเศรษฐกิจระเบียงตะวันออกเฉียงใต้
ทางหมายเลข R48 , R5 (ไทย-พนมเปญ-โฮจิมนิ ห์ )
นัยนิงห์
มูลค่ าการลงทุน : 3,410 ล้ านเหรียญสหรัฐ
TANIT SORAT
ประเทศเวียดนาม
อุโมงค์ ไฮ-วัน
มูลค่ าการค้ า ปี 2554
ส่ งออก 95,000 ล้ านเหรียญสหรัฐ
นาเข้ า 105,000 ล้ านเหรียญสหรัฐ
เส้ นทางเชื่อมโยงท่ าเรือดานัง
ท่ าเรือดานัง
มูลค่ าการลงทุน: 8,310 ล้ านเหรียญสหรัฐ
TANIT SORAT
East Economic Corridor
เส้นทางคมนาคมเชื่อมโยง
ไทย - สปป.ลาว – เวียดนาม - จีน
ไทย – ลาว มีสะพานข้ามแม่
โขง 3 แห่ง
มูลค่าการค้าชายแดน 106,180
ล้านบาท
6
มูลค่ าการลงทุน: 9,883 ล้ านเหรียญสหรัฐ
TANIT SORAT
BIG Market
สิ นค้าไทยครองตลาดตามชายแดน
MADE in CHINA
VS
MADE in THAILAND
TANIT SORAT
ธนิต โสรัตน์
Look China…Factor of The World
การขับเคลือ่ นทางเศรษฐกิจจีนในปัจจุบัน
1.
2.
3.
4.
5.
จีนเป็ นมหาอานาจเดียวซึ่งถ่วงดุลตะวันออก-ตะวันตก
จีนเป็ นมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลก
จีนในปัจจุบนั ไม่ใช่ฐานการผลิตต้นทุนต่าอีกต่อไป
การเติบโตของชนชั้นกลาง ทาให้เพิม่ การบริ โภคขึ้นมหาศาล
ขนาดเศรษฐกิจของจีน (4.4 Trillion) ใหญ่กว่าไทย (0.333
Trillion) 13.2 เท่า
www.tanitsorat.com
20
จีนบนบริบทของโลก (3)
•
•
•
•
เศรษฐกิจจีน : ใน 10 ปี ข้างหน้าจะไกล้เคียงกับเศรษฐกิจสหรัฐ
การลงทุนของจีน : จะมีขนาดการลงทุนเพิ่มเป็ น 30% ของการลงทุนโลกในกลางทศวรรษ
นักท่ องเทีย่ วจีน : จะมีปริ มาณมากที่สุดในโลกในระยะเวลาไม่เกิน 3 ปี ข้างหน้า
จีนจะเป็ นมหาอานาจของโลก : จีนจะมีกองทัพนอกประเทศที่ใหญ่อนั ดับ 2 ของโลกรอง
จากสหรัฐในอนาคตอีก 10 ปี ข้างหน้า
www.tanitsorat.com
21
GMS + AEC
AEC: จุดเปลีย่ นประเทศไทย
จุดยืนของไทย
การค้า
เน้ นการค้าภายในภูมิภาคมากขึ้น
รุกตลาดสินค้าที่ไทยได้เปรียบและขยาย
ตลาดตามกรอบความร่วมมือใหม่ๆ
บริการ
การแข่งขันสูงขึ้น ภาคบริการเข้ามามี
บทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
มากขึ้น
เน้ นท่องเที่ยวและบริการด้านสุขภาพซึ่ง
ไทยมีจดุ แข็งหลายด้าน
FDI
การผลิตที่เริ่มสูญเสียความสามารถใน
การแข่งขันจาเป็ นต้องย้ายฐานการ
ผลิตไปต่างประเทศมากขึ้น
ลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านที่มีทรัพยากร
อุดมสมบูรณ์และพร้อมเปิดรับการลงทุน
จากต่างชาติ
แรงงาน
ข้อจากัดในการทางานของแรงงาน
ต่างชาติมีแนวโน้ มผ่อนปรนมากขึ้น
เพิ่มพูนทักษะแรงงาน โดยเฉพาะด้าน
ภาษาและการปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐาน
การทางานที่เป็ นสากล
การ
เคลื่อนย้าย
เงินทุน
เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศเข้า
ออกได้เสรีมากขึ้น ค่าเงินมีแนวโน้ ม
ผันผวน
ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัวในการ
บริหารจัดการด้านต้นทุนและปิดความ
เสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน
22
Off Shore Investment
• ศักยภาพของอุตสาหกรรมไทย
• การสนับสนุนจากภาครัฐ
• การสนับสนุนจากภาคการเงิน
โอกาส
Factory
Re-Location
23
ประเทศไทยต้ องกาหนดยุทธศาสตร์ ทชี่ ัดเจน
1.
2.
3.
4.
5.
ยุทธศาสตร์ ขีดความสามารถในการแข่ งขันการเปิ ดเสรี AEC
แผนการส่ งเสริมการลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ าน (Road Map)
ยุทธศาสตร์ เชิงพืน้ ที่ (Area Base) ภายใต้ ระเบียงเศรษฐกิจของภูมิภาค
ยุทธศาสตร์ เชิงผลิตภัณฑ์ (Product/Champion)
ยุทธศาสตร์ ชายแดน (Border Strategy) อุตสาหกรรมชายแดน/
เศรษฐกิจพิเศษชายแดน / Contract Framing / International Logistics Provider Service
6. ยุทธศาสตร์ จังหวัดแบบบูรณาการกับประเทศเพือ่ นบ้ าน
24
Area Base : ยุทธศาสตร์ เชิงพืน้ ที่
R3E
เวียงจันทน์
ร่ างกุง้
R12
R9
ทวาย/มะริ ด
ปอยเปต
โฮจิมินห์
แหลมฉบัง
เกาะกง
ปี นัง
สะเดา/ปาดังเบซาร์
ตันจุงปาราปั ส
สิ งคโปร์
25
ประเทศไทย...พร้ อมแล้ วหรือยัง???
เมื่อพรมแดนเปิ ดภายใต้ AEC การค้ าจะเปลีย่ นจาก Border to
Border แต่ จะเป็ น City to City
Local จะลดบทบาท International จะมาแทนที่
Border Trade จะถูกแทนทีด่ ้ วย Global Trade
26
END
ข้ อมูลเพิม่ เติม : www.tanitsorat.com
27