- สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร

Download Report

Transcript - สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร

ประชาคมอาเซียน
และความท้าทายของผู้บริหาร กศน.
ดร. ประพัฒน์พงศ์ เสนาฤทธิ์
ที่ปรึกษาสานักความสั มพันธ์ ต่างประเทศ สป.ศธ.
ทีป่ รึกษาฝ่ ายวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ประเด็นที่จะกล่ าวถึง
1. การก้ าวเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน
#ทิศทางของกระแสโลก
#เป้าหมายหลักของประชาคมอาเซียน
#บทบาทของการศึกษา
2. ความท้ าทายต่ อระบบการศึกษาไทย
#การศึกษาโดยรวม
#การศึกษานอกโรงเรี ยน
3. ข้ อคิดและความคาดหวังจากผู้บริหารการศึกษายุคใหม่
ทิศทางของกระแสโลก
(Globalization)

โลกจะขับเคลือ่ นโดยกระแสเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
–โลก(เสมือน)ไร้ พรมแดน
–ในโลกนีจ้ ะมีตลาดเดียว ฐานการผลิตเดียว
–ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีทาให้ เกิดการเชื่อมโยง
(Connectivity)ทั่วโลก
Internet, Facebook
 CDs DVDs, MP3,
 Mobile Phone, Blackberry, etc.

ทิศทางของกระแสโลก
(Globalization)
ภาษาอังกฤษจะมีความสาคัญมากขึน้
– Internet( 80% ของ Websites ใช้ ภาษาอังกฤษ)
–การค้ าระหว่ างประเทศใช้ ภาษาอังกฤษเป็ นหลัก
–เพลง, ภาพยนตร์ , กีฬา, การศึกษา ใช้ ภาษาอังกฤษ
 วัฒนธรรมตะวันตก(Anglo-American Culture) จะ
แผ่ ขยายอย่ างรวดเร็ว
–เงินตรา, เพลง, ภาพยนตร์ , CNN

– McDonald, Coca Cola
ลักษณะเด่ นของเศรษฐกิจในอนาคต
1. อิงความรู้ และพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร์ (Knowledge-Based,
Science-Based Economy)
-การเกษตรแผนใหม่
-การแพทย์ และสุ ขภาพ
2. คานึงถึงความคุ้มค่ าของทรัพยากร (ResourceChallenged) และการั กษาสิ่ งแวดล้ อม
-การพัฒนาที่ยงั่ ยืน สิ่ งแวดล้ อม เงื่อนไขการส่ งออก
-Reduce;
Re-use; Recycle
ลักษณะเด่ นของเศรษฐกิจในอนาคต
3. มีความเชื่อมโยงทัว่ โลก(Interdependent Economy)
-อีก 30 ปี จีน อินเดีย และญีป่ ุ่ นจะมี GDP มูลค่ า
รวมกันเป็ น 50%ของ GDP โลก( ปี 2004 มี 18%)
-ตาแหน่ งงาน 1 ใน 5 จะเกีย่ วข้ องกับการค้ าระหว่ างประเทศ
--การเติบโตทางธุรกิจจะพึง่ พาตลาดต่ างประเทศเป็ นหลัก
ลักษณะเด่ นของเศรษฐกิจในอนาคต
4. ครอบคลุมกลุ่มประชากรทีห่ ลากหลาย (Demographically
Diverse)
-ตลาดโลกมีความหลากหลายทางประชากรและวัฒนธรรม
@ในจานวนประชากรโลก 100 คน แบ่ งเป็ น
เอเชีย 61 อาฟริกา 13 ยุโรป 12 อเมริกา 5
ออสเตรเลีย 1 และอืน่ ๆ 8 คน
@ในจานวนนี้ พูดภาษาจีน 22
อังกฤษ 9 และฮินดี 8 คน
-การจ้ างงานเปิ ดเป็ นระดับโลก
ลักษณะเด่ นของเศรษฐกิจในอนาคต
5. พึง่ พานวัตกรรม (Innovation-Driven)
-มีการวิจย
ั และพัฒนาสิ นค้ าใหม่ อย่ างกว้ างขวางและ
หลากหลาย
-ความได้ เปรี ยบทางธุรกิจขึน
้ อยู่กบั นวัตกรรม
*โทรศัพท์ 3G
*Hybrid Car
*อุปกรณ์ กฬ
ี า
*ยารักษาโรค อาหารบารุ งสุ ขภาพ
เศรษฐกิจทีจ่ ะประสบผลสาเร็จ
เศรษฐกิจทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพสู ง
คนมี
ประสิ ทธิภาพสู ง
หน่ วยงานมี
ประสิ ทธิภาพสู ง
รัฐบาลมี
ประสิ ทธิภาพสู ง
ผลกระทบต่ อการศึกษา
เศรษฐกิจ
กระแสโลกาภิวัตน์
สั งคมและ
วัฒนธรรม
การศึกษา
คุณภาพชีวติ
ประชากร
เปรียบเทียบอันดับของ Globalization Index
ประเทศ
2544
2546
2548
สิ งคโปร์
1
มาเลเซีย
อินโดนีเซีย
20
30
34
38
4
18
47
52
58
1
19
46
32
60
จีน
48
51
54
ไทย
ฟิ ลิปปิ นส์
ทักษะที่จาเป็ นสาหรับระบบเศรษฐกิจโลก
ความรู้ (Literacy) ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
 ความคิดเชิงวิเคราะห์ และการพัมนาแบบยัง่ ยืน
 สมรรถนะสากล (Global Competencies)
 ภาวะผู้นาและความเข้ าใจในวัฒนธรรมทีห
่ ลากหลาย
 ความสามารถในการปรั บตัวในสถานการณ์ ที่เปลีย
่ นแปลง

(Adaptability to Change)
Global Knowledge and Skills
บริษทั RAND Corporation ทาการสารวจ พบว่ า นักศึกษา
อเมริกนั เก่ งด้ านเทคนิค แต่ มีความอ่ อนด้ อยด้ านประสบการณ์
ต่ างวัฒนธรรมและภาษา
ทีบ่ ริษทั Price Waterhouse พบว่ ามีคนงานเพียง 6%
(1,700 คน) ทีพ่ ูดภาต่ างประเทศได้
Global Knowledge and Skills
บริษทั Microsoft มีรายได้ จากตลาดต่ างประเทศถึง 60%
และเพิม่ ขึน้ เร็วกว่ ารายได้ ในอเมริกา
 การออกแบบผลิตภัณฑ์ จาเป็ นต้ องใช้ พนักงานที่สามารถ
ผสมผสานมิตทิ างวัฒนธรรมเข้ าไปในตัวสิ นค้ าด้ วย
 ความรู้ ความเข้ าใจในวัฒนธรรมต่ างประเทศของพนักงานจึงมี
ความสาคัญมาก

คุณลักษณะของพนักงาน
ที่บริษัท UPS ต้ องการ
“พนักงานในฝัน”
–มีความร้ ูเรื่ องการค้ าต่ างประเทศ(Global Trade Literate)
–ตระหนักในวัฒนธรรมต่ างประเทศ (Foreign Cultures)
–รอบร้ ูหลากหลายภาษา
–เชี่ยวชาญในเทคโนโลยี
–สามารถบริหารจัดการงานที่ซับซ้ อนได้
–มีจริยธรรม(Ethical value)
การลงทุนใน
Global Skills
 ภาษา:
–นักเรียนในประเทศยุโรปส่ วนใหญ่ เริ่มเรียน
ภาษาต่ างประเทศในระดับประถมศึกษา
–จีนเริ่มสอนภาษาอังกฤษในชั้น ป. 3
–ร้ อยละ 25 ของนักเรียนในออสเตรเลียเรียนภาษาเอเชีย
การลงทุนใน Global Skills

International Benchmarking:
–ผู้นาและผู้บริหารการศึกษาของจีนมีประสบการณ์ ทาง
การศึกษาในต่ างประเทศ
–ครู ได้ รับการสนับสนุนให้ ไปศึกษาหรือทางานใน
ต่ างประเทศ
–โรงเรียนได้ รับการสนับสนุนให้ ตดิ ต่ อสั มพันธ์ กบั โรงเรียน
ในต่ างประเทศ(Sister School Partnerships)
การลงทุนใน Global Skills

Technology:
–ประเทศเกาหลีใต้ สิ งคโปร์ และไต้ หวัน ได้ จดั ทาแผนแม่ บท
ที่จะจัดหา High-speed computers ให้ โรงเรียนเพือ่ ให้
นักเรียนสามารถติดต่ อได้ ทั่วโลก

Study Abroad:
–ในปี 2000 มีนักเรียนอเมริกนั เพียง 0.5% ไปศึกษาใน
ต่ างประเทศ ในขณะทีน่ ักเรียนฝรั่งเศสและจีนมี 3% ไอ
แลนด์ มี 16% และสิ งคโปร์ มีถงึ 30%
ประเด็นสาหรับนักการศึกษาไทย
 มุมมองของกระแสโลกาภิวต
ั น์
–บทบาทภาครัฐจะลดลง ต้ องปรับตัวและปรับปรุง
ประสิ ทธิภาพ
–อิทธิพลของทุนนิยมตะวันตกจะมากขึน้
–จะเกิดการแบ่ งกลุ่มประเทศ (Globalization
Stratification) ในภูมิภาคต่ าง ๆของโลก
EU
 ASEAN
 NAFTA

ประเด็นสาหรับนักการศึกษาไทย
 ประเด็นเพือ
่ พิจารณา
–รัฐจะผูกขาดการจัดบริการสาธารณะ เช่ น การศึกษา ต่ อไป
อีกหรือ
–ประสิ ทธิภาพของการศึกษาในระบบ และนอกระบบ
–บทบาทของรัฐมี 2 แนวทาง คือ
ทาแข่ งกับเอกชน(Competitive State)
ส่ งเสริ มเอกชนเป็ นคนทา(Evaluative State)
ประเด็นสาหรับนักการศึกษาไทย

แนวโน้ มการบริหารจัดการศึกษาของโลก
-Learning Focus
มากกว่ า Teaching Focus
โดยเฉพาะ Lifelong Learning
-การบริหารในลักษณะของ Corporatization จะมีมากขึน้
-Privatization: ให้ ภาคเอกชนดาเนินการมากขึน
้
-Marketization: บริ หารงานโดยอาศัยหลักการตลาดมาก
ขึน้
ประเด็นสาหรับนักการศึกษาไทย
 ทางเลือกของไทย
–คุณภาพการศึกษาและการเรียนฟรี 15 ปี
–ประสิ ทธิภาพการใช้ ทรัพยากร/ขนาดโรงเรียน
–การกระจายอานาจ และการมีส่วนร่ วมของชุมชน/ท้ องถิน่
–การศึกษาในระบบและการศึกษาตลอดชีวติ (Real Time
Education)
–การใช้ เทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรู้
อาเซียน:
ประชาคมเพือ่ ประชาชน
จุดเริ่มต้ นของอาเซียน
Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ
(Bangkok Declaration) เมือ่ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
วัตถุประสงค์ ของอาเซียน

ส่ งเสริมความเข้ าใจอันดีระหว่ างประเทศสมาชิก
ธารงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง

เสริมสร้ างเศรษฐกิจและความอยู่ดกี นิ ดีของประชาชน

พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม

ส่ งเสริมความร่ วมมือกับภายนอก (อาเซียน)

และองค์ การระหว่ างประเทศต่ างๆ
เสาหลักความร่ วมมือของอาเซียน
๑. ด้านการเมืองและความมันคง
่
๒. ด้านเศรษฐกิจ
๓. ด้านสังคมและวัฒนธรรม
๔. ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศภายนอก
เสาการเมือง ความมั่นคง
เสาเศรษฐกิจ
เสาสั งคม วัฒนธรรม
ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
 เพือ
่ ให้ ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสั นติสุข
และแก้ ไขปัญหาโดยสั นติวธิ ี
 ร่ วมกันเผชิ ญหน้ าภันคุกคามรู ปแบบใหม่ เช่ น การ
ก่ อการร้ าย ยาเสพติด การค้ ามนุษย์
 ส่ งเสริมความร่ วมมือทางทะเล
ประชาคมเศรษฐกิจ
เพือ่ ให้ ภูมิภาคมีความมั่งคัง่ มั่นคงทางเศรษฐกิจ และสามารถ
แข่ งขันกับภูมิภาคอืน่ ได้
 ทาให้ อาเซียนเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
 ให้ เกิดการไหลเวียนอย่ างเสรี ของสิ นค้ า บริ การ การลงทุน และ
เงินทุน
 พัฒนาฝี มือแรงงาน และให้ มีการเคลือ
่ นย้ ายแรงงานฝี มืออย่ างเสรี

ประชาสั งคมและวัฒนธรรม
เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน
 เสริ มสร้ างอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรมของอาเซียน
 สร้ างประชาสั งคมที่เอือ
้ อาทร
 ส่ งเสริ มความยัง่ ยืนเรื่ องสิ่ งแวดล้ อม
 ส่ งเสริ มความเข้ าใจระหว่ างประชาชนในระดับรากหญ้ า

จีน
พม่ า
ลาว
EWEC
ไทย
กัมพูชา
มาเลเซีย
สิ งคโปร์
อินโดนีเซีย
่ งแคบซุนด้า
ชอ
่ งแคบลอมบ็อค
ชอ
แหล่งทีม
่ าของข ้อมูล :
www.thai-canal.com
ASEAN External
Relations
ASEAN
Centrality
ASEAN at the Centre
ASEAN + 3
Japan
(ญี่ปุ่น)
ROK
(เกาหลีใต้ )
China
(จีน)
ประเทศคู่เจรจาของอาเซียน
สหรัฐอเมริกา
แคนาดา
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
อินเดีย
ปากีสถาน (คู่เจรจา
เฉพาะด้าน)
จี น
เกาหลีใต้
ญีป่ นุ่
รัสเซีย
สหภาพยุโรป
โครงการเพือ่ การพัฒนาแห่ ง
สหประชาชาติ (UNDP)
บทบาทของการศึกษา: ปฏิญญาชะอา-หัวหิน
 ด้ านการเมืองและความมัน
่ คง
– สร้ างความเข้ าใจและความตระหนักเรื่องกฎบัตรอาเซียน
– เน้ นประชาธิปไตย สิ ทธิมนุษยชนและสั นติภาพในหลักสู ตร
– เข้ าใจและตระหนักในความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ประเพณีและความเชื่อ
– ประชุ มผู้นาโรงเรียน (Southeast Asia School
Principals’ Forum) อย่ างสม่าเสมอ
บทบาทของการศึกษา: ปฏิญญาชะอา-หัวหิน
 ด้ านเศรษฐกิจ
–พัฒนากรอบทักษะ (Skill Framework) ในแต่ ละ
ประเทศ
–แลกเปลีย่ นนักเรียนนักศึกษา
–สนับสนุนการเคลือ่ นย้ ายแรงงานมีฝีมือ (Skilled
Labors)
–พัฒนามาตรฐานด้ านอาชีพเพือ่ นาไปสู่ การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์
บทบาทของการศึกษา: ปฏิญญาชะอา-หัวหิน

ด้ านสั งคมแลวัฒนธรรม
– พัฒนาเนือ้ หาสาระร่ วมเกีย่ วกับอาเซียนสาหรับโรงเรี ยน
– ให้ มีหลักสู ตรปริญญาด้ านศิลปวัฒนธรรมอาเซียน
– ให้ มีภาษาอาเซียนเป็ นวิชาเลือกในโรงเรียน
– ส่ งเสริมกิจกรรมเยาวชน เช่ น การทัศนศึกษา การแลกเปลี่ยน
ประกวดสุ นทรพจน์ โรงเรียนสี เขียวอาเซียน เฉลิมฉลองวัน
อาเซียน( 8 สิ งหาคม) ร้ องเพลงอาเซียน (ASEAN
Anthem)
– จัดประชุ มวิจัยการศึกษาอาเซียน
สรุปผลการสารวจ
ทัศนคติและการตระหนักรู้เกีย่ วกับอาเซียน
สารวจนักศึกษา 2,170 คน
จากมหาวิทยาลัยชั้นนาในประเทศสมาชิกอาเซียน
ถามว่ า คุณรู้สึกว่ าคุณเป็ นประชาชนอาเซียนมากน้ อย
เพียงใด ตอบว่ า มาก ถึง มากทีส่ ุ ด
LAOS*
96.0%
2. Cambodia
92.7%
3. Vietnam
91.7%
1.
4. Malaysia
86.8%
5. Brunei
82.2%
6. Indonesia
73.0%
7. Philippines
69.6%
8. THAILAND
67.0%
9. Myanmar
59.5%
10.Singapore*
49.3%
ถามว่ า โดยทัว่ ไปคุณคุ้นเคยเกีย่ วกับอาเซียนแค่ ไหน
ตอบว่ า ค่ อนข้ างมาก ถึง มาก
1.
Vietnam
88.6%
2.
84.5%
68.3%
5.
Laos
Indonesia
THAILAND
Malaysia
6.
Philippines
7.
Cambodia
Brunei
58.8%
53.8%
Singapore
10. Myanmar*
50.3%
3.
4.
8.
9.
68.0%
65.9%
59.6%
9.6%
ถาม ความรู้เกีย่ วกับวัน/เวลาก่ อตั้งอาเซียน
1.
Laos
68.4%
2.
Indonesia
65.6%
3.
Vietnam
64.7%
4.
Malaysia
53.0%
5.
Singapore
47.8%
6.
Brunei
44.3%
7.
Philippines
37.8%
8. Cambodia
36.6%
Myanmar
32.5%
9.
10. THAILAND
27.5%
ถาม ความรู้เกีย่ วกับธงอาเซียน
1.
Brunei
98.5%
2.
Indonesia
92.2%
3.
Laos
87.5%
4.
Myanmar
85.0%
5.
Singapore
81.5%
6.
Vietnam
81.3%
7.
Malaysia
80.9%
8.
Cambodia
63.1%
9.
Philippines
38.6%
10.THAILAND
38.5%
ถามว่ า อยากรู้ เกีย่ วกับประเทศอาเซียนอืน่ ๆมากแค่ ไหน
ตอบว่ า อยากรู้ มาก ถึง มากทีส่ ุ ด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
Laos
Cambodia
100%
99.6%
Vietnam
Philippines
98.5%
Malaysia
Indonesia
THAILAND
Brunei
Singapore
10. Myanmar
97.2%
92.9%
90.8%
87.5%
86.8%
84.2%
77.8%
ความท้ าทายต่ ออาเซียน
ภายใน
@ กระบวนการหลอมรวม( Integration) ใช้ เวลานาน
มาก
@ ช่ องว่ างในการพัฒนาของประเทศสมาชิกยังกว้ าง
@ ไม่ มีกลไกในการบังคับสมาชิกให้ ปฎิบัตติ ามข้ อตกลง
@ กระบวนการตัดสิ นใจใช้ หลักการฉันทามติ
ความท้ าทายต่ ออาเซียน
ภายนอก
@ กระแสโลกาภิวตั น์ จะผลักดันให้ แต่ ละประเทศในอาเซียน
ต้ องปรับปรุงและพัฒนาตัวเอง
@ การแข่ งขันทางเศรษฐกิจระหว่ างภูมิภาคจะรุนแรงขึน้ การ
รวมกันของอาเซียนจะเพิม่ อานาจการต่ อรอง
@ ภูมิภาคต่ างๆของโลกจะพึง่ พากันมากขึน้
ความท้ าทายต่ อการศึกษาไทย
 การสร้ างความตระหนักและความเข้ าใจของคนในวงการศึกษาไทย
เกีย่ วกับประชาคมอาเซียน
 การเตรียมความพร้ อมในการรวมตัวเป็ นประชาคมในปี พ.ศ. 2558
 ระบบ ระเบียบ กฎหมาย กระบวนการ
 สถาบัน หน่ วยงาน สถานศึ กษา
 บุคลากร เจ้ าหน้ าที่ ประชาชน
 การประเมินผลกระทบด้ านต่ าง ๆ และแนวทางการแก้ ไขปั ญหา
 ระบบข้ อมูลข่ าวสารและองค์ ความรู้
เงือ่ นไขภายในระบบการศึกษาไทย
 ๑. ความท้ าทายเดิม ๆ
 ๒. การปฏิรูปการศึกษารอบสอง
ความท้ าทายเดิม ๆ ของการศึกษาไทย
 โอกาส
การศึกษาขั้นพืน้ ฐานเป็ นภาระหลักของประเทศ
 การศึ กษาสาหรั บผู้ด้อยโอกาสยังมีปัญหา
 คุณภาพ
 คุณภาพผู้เรี ยนและศั กยภาพในการแข่ งขันตา
่
 ประสิ ทธิภาพ
 การออกกลางคัน

โอกาสทางการศึกษา 2550
ระดับการศึกษา
ช่ วงอายุ(ปี ) จานวนนักเรียน ประชากรใน
(พันคน)
กลุ่มอายุเดียวกัน
ร้ อยละ
ทีไ่ ด้ เรียน
ก่อน
ประถมศึกษา
3-5
1,770
2,392
74%
ประถมศึกษา
6-11
5,371
5,123
105%
มัธยมต้ น
12-14
2,794
2,922
96%
มัธยมปลาย
15-17
1,975
2,898
68%
อุดมศึกษา
18-21
1,196
3,654
60%
ผู้ทขี่ าดโอกาส 2550
 ก่ อนประถมศึกษา จานวน
622,000 คน
 ประถมศึกษา เกิน จานวน -248,000 คน
 มัธยมต้ น จานวน
128,000 คน
 มัธยมปลาย จานวน
923,000 คน
รวม จานวน 1,425,000 คน
การเรียนต่ อชั้นมัธยมปลาย
ปี การศึกษา
จานวนนักเรียน
(พันคน)
ประชากรกลุ่มอายุ
เดียวกัน
ร้ อยละ
2544
1,722
2,905
59.3
2546
1,651
2,823
58.5
2548
1,706
2,877
59.3
2550
1,975
2,898
68.1
ผลการสอบ O-NET ของนักเรียน ม.6
วิชา
2548
2550
สั งคมศึกษา
42.64
37.76
ภาษาอังกฤษ
29.81
30.93
คณิตศาสตร์
28.46
32.49
วิทยาศาสตร์
34.01
34.62
ความสามารถในการแข่ งขันของไทย 2550
เศรษฐกิจ
1 อเมริกา
วิทยาศาสตร์
การศึกษา
ภาพรวม
1 อเมริกา
1 ไอซ์ แลนด์
1 อเมริกา
2 จีน
2 ญี่ปุ่น
3 อิสราเอล
2 สิ งคโปร์
4 สิ งคโปร์
6 ไต้ หวัน
11 สิ งคโปร์
3 ฮ่ องกง
13 อเมริกา
15 จีน
10 อินเดีย
13 สิ งคโปร์
12 มาเลเซีย
26 อินเดีย
18 ไต้ หวัน
23 มาเลเซีย
15 ไทย
31 มาเลเซีย
31 มาเลเซีย
27 อินเดีย
16 ไต้ หวัน
43 อินโดนีเซีย
46 ไทย
29 เกาหลี
22 ญี่ปุ่น
49 ไทย
52 ฟิ ลิปปิ นส์
33 ไทย
สั ดส่ วนกาลังแรงงานไทยตามระดับการศึกษา 2549
ระดับการศึกษา
ภาพรวม
ในเทศบาล
นอกเทศบาล
ไม่ จบประถม
37.8
24.5
43.6
ประถมศึกษา
21.7
16.1
24.2
มัธยมต้ น
14.0
15.1
13.6
มัธยมปลาย
12.0
16.3
10.1
อุดมศึกษา
13.9
26.9
8.3
อืน่ ๆ
0.5
1.0
0.2
ประสิ ทธิภาพของการจัดการศึกษา
ประสิ ทธิภาพภายใน
 อัตราการจบการศึกษาตามหลักสู ตร
เวลาทีน่ ักเรียนใช้ เรียนเฉลีย่ นานกว่ าทีห่ ลักสู ตรกาหนด
 อัตราการออกกลางคัน(ประมาณ 2-5% ต่ อปี )
 อัตราการเหลือรอดถึงชั้ นประโยค(ป. 5)ประมาณ 89-91%
 อัตราการซ้าชั้ น(ป.1 สู งสุ ด(ประมาณ 6%) ป.2 ประมาณ 2%
ป.3-6 ประมาณ 1%
ประสิ ทธิภาพของการจัดการศึกษา
ประสิ ทธิภาพภายนอก
-อัตราการมีงานทา
-การผลิตกาลังคนในสาขาขาดแคลน
-ความพึงพอใจของนายจ้ าง
-ความเป็ นผู้ประกอบการ
-จานวนการจดสิ ทธิบัตรผลิตภัณฑ์
การปฏิรูปการศึกษารอบสอง(2552-2561)
 วิสัยทัศน์
คนไทยได้ เรียนรู้ ตลอดชีวติ อย่ างมีคุณภาพ
 เป้าหมาย ( ๓ เสา)
1. พัฒนาคุณภาพ
2. เพิม่ โอกาสทางการศึกษา
3. ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมในการบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์ การปฏิรูป 4 ประการ
( ๔ ใหม่ )
1.
2.
3.
4.
พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
พัฒนาคุณภาพครู ยุคใหม่
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่ งเรียนรู้ ยุคใหม่
พัฒนาระบบบริหารจัดการใหม่
การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
 พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู้
-จัดระบบการเรียนรู้และการประเมินผล สอบ NT ปี สุ ดท้ าย
-แก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็ก
-ปฏิรูปอุดมศึกษา เน้ นความเป็ นเลิศ
 ผลิตและพัฒนากาลังคนทีม
่ ีคุณภาพ
-พัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
-ต่ อยอดหลักสู ตรวิชาชีพจากการศึกษาภาคบังคับ
การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่
 พัฒนาระบบการผลิต
-จูงใจให้ คนดีคนเก่งเรียนครู
-ตั้งสถาบันทีม่ ีความเป็ นเลิศในการผลิตครู
 พัฒนาครู ประจาการ
-จัดตั้งกองทุน
-Site-based training
 ปรับปรุ งการใช้ ครู
-ปรับปรุงเกณฑ์ กาหนดอัตราครู
การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่ งเรียนรู้ยคุ ใหม่
 รณรงค์ ให้ คนไทยมีนิสัยรักการอ่ าน
 พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
 พัฒนาห้ องสมุดชุ มชนและแหล่ งเรียนรู้ รูปแบบต่ าง ๆ
 ระดมทรัพยากรในชุ มชนและท้ องถิน
่
โรงเรียนดีประจาตาบล
 มี 3 ประเภท
กลุ่ม เอ มีนักเรียนตั้งแต่ 720 คน ขึน้ ไป
 กลุ่ม บี มีนักเรี ยนตั้งแต่ 480-720 คน
 กลุ่ม ซี มีนักเรี ยนตั้งแต่ 240-480 คน
 โรงเรี ยนทีอ
่ ยู่ในข่ ายจะได้ รับการพิจารณา จะต้ องมีความ
พร้ อม เช่ น ด้ านอาคารสถานที่ ห้ องสมุด ศูนย์ กฬ
ี า
สระว่ ายนา้ อุปกรณ์ ดนตรี ศิลปะ ฯลฯ

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
 กระจายอานาจให้ สถานศึกษาและเขตพืน
้ ทีก่ ารศึกษา Area-based
 พัฒนาระบบ ทบทวนระบบการบริหารโดยองค์ คณะบุคคล
ใช้ หลักธรรมาภิบาล
 เพิม
่ โอกาสทางการศึกษา ยืดหยุ่น เทียบโอน ผู้ด้อยโอกาส
 ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วม การศึกษาทางเลือก อปท.
 จัดการทรัพยากรให้ มีประสิ ทธิภาพ Demand-side
Budgeting
-จัดงบรายหัวกลุ่มพิเศษ
ความท้ าทายของผู้บริหารการศึกษา
 โอกาสและเงือ่ นไขภายนอก
-กระแสโลกาภิวตั น์
-ประชาคมอาเซียน
 จุดอ่ อนและจุดแข็งภายใน
-ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการ
-นโยบายการปฏิรูปรอบสอง
เงื่อนไขหลักของความสาเร็จ
 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพของการบริหารจัดการคือเงือ่ นไขหลัก
ของความสาเร็จ
-เพือ่ แก้ ไขความท้ าทายเดิม ๆ
-เพือ่ ให้ บรรลุพนั ธกิจใหม่ ตามแนวปฏิรูป
 ผู้บริหารคือปัจจัยการผลิตทีส
่ าคัญทีส่ ุ ด
-ต้ องผลิตอย่ างดี มีคุณภาพ
-ต้ องมีระบบรักษาที่เหมาะสม
-ต้ องพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
ความท้ าทายสาหรับผู้บริหาร กศน.
 การสร้ างความตระหนักและให้ คนไทยเข้ าใจประชาคมอาเซียน
กลุ่มป้าหมายนอกระบบโรงเรียน
 วิธีการ
• การเรียนรู้ ตลอดชีวติ
• นวัตกรรมและเทคโนโลยี เช่ น ศรช. Khan Academy
 ศั กยภาพของบุคลากร กศน.
• องค์ ความรู้
• ฐานข้ อมูล

ความท้ าทายสาหรับผู้บริหาร กศน.
 การกาหนดบทบาท (Positioning) ของ กศน. ในการเพิม
่ ขีด
ความสามารถของคนไทย
 บทบาทของการศึ กษานอกโรงเรี ยน
• เติมเต็มการศึกษาในระบบ หรือ Rebranding?
• Lifelong Learning, E-Learning for
E-Commerce,
• M-Learning

Interest and Commitment
• ความสนใจ และความทุ่มเทของผู้บริหาร
ความท้ าทายสาหรับผู้บริหาร กศน.
 การสร้ างเครือข่ ายความร่ วมมือกับประเทศสมาชิกอาเซียน
การสารวจและทาฐานข้ อมูลความเชี่ยวชาญ หรือความสนใจ
 การกาหนดยุทธศาสตร์
 การสร้ างระบบและกลไกความร่ วมมือ
 การพัฒนาบุคลากร
 ฯลฯ

ปัจจัยชี้นาความสาเร็จ
 ภาวะผู้นาของผู้บริหาร
วิสัยทัศน์
 การบริ หารจัดการ
 ศักยภาพของบุคลากร
 ภาษา
 องค์ ความรู้ (Know How)
 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
 ขีดความสามารถในการปรับตัวให้ ทน
ั ต่ อการเปลีย่ นแปลง

ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่
 ผู้บริหารสมัยก่ อนคือ “นักยิงปื นเป้ านิ่ง”
-เป้าหมายคงที่
-บริบทเปลีย่ นช้ า
-คู่แข่ งมีน้อย
 ผู้บริหารยุคใหม่ คอื “นักยิงปื นเป้ าบิน”
-เป้าหมายเคลือ่ นไหวตลอดเวลา
-บริบทเปลีย่ นเร็ว
-คู่แข่ งมีมาก
อภิปราย/ซักถาม
?
ขอบคุณและสวัสดี
มีนาคม 2553