ภาพนิ่ง 1 - โครงการผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
Download
Report
Transcript ภาพนิ่ง 1 - โครงการผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
•คาดการณ์วา่ หลังสหัสวรรษใหม่โลกจะ
เปลี่ยนไป กระบวนทัศน์ทางสังคมและ
การศึกษายุคใหม่ ชี ้ว่า โลกอนาคตก้ าวสู่
สังคมแห่งการเรี ยนรู้ที่ “ความรู้เป็ นพลัง”
ของปั จเจกบุคคลมากยิ่งขึ ้น ในขณะที่
เทคโนโลยีและวิทยากรใหม่ๆ ก็จะส่งผล
กระทบต่อรูปแบบการใช้ ชีวิตผู้คนอย่าง
มาก
•ย ้ากระแสสังคมทางเลือก แนวโน้ ม “คลื่นลูกใหม่”
ในแทบทุกมิติ -มิติเพศสภาพและความเท่าเทียม
ระหว่างเพศไปจนถึงมิติการเข้ าถึงความรู้ทนั ใจ
(Knowledge on Demand) หลากหลาย
รูปแบบด้ วยพลังของเทคโนโลยี พลวัตโลกที่
สลับซับซ้ อน และความไม่แน่นอนสูง โครงสร้ าง
ประชากรที่ก้าวเข้ าสู่ความเป็ นสังคม “วัยวุฒิ”
วิกฤตสิ่งแวดล้ อมและทรัพยากรของโลกจะ
กลายเป็ นประเด็นสาคัญที่มีผลต่อการใช้ ชีวิตของ
คนรุ่นใหม่และการเรี ยนรู้ใหม่ด้วย
เขียน1900-2000 คาดการณ์ใน 10-20 ปี หน้ า
เขียน 2000-2011 คาดการณ์ 10-20 ปี ข้ างหน้ า
ความก้าวหน้ าและการค้นพบใหม่ด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์
พลวัตรสังคมพหุวฒ
ั นธรรม
ความเคลื่อนไหวใหม่ภาคสังคม
วิกฤติการณ์สิ่งแวดล้อม อาหาร น้า และพลังงาน
พลังปัจเจกบุคคล
วิกฤตเศรษฐกิจ
MEGATRENDS
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
การกระจายขัว้ อานาจการเมือง
ผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ต่อวิถีชีวิตมนุษย์
แนวโน้ มเศรษฐกิจ
GDP(PPP)ในภูมิภาคเอเชียและแปซิ ฟิก
อยู่ที่ 7,345.80 USD ในปี 2011 เติ บขึ้นมาจาก
3,478.08 USD ในปี 2004
GDP ไทยเทียบได้กบั ร้อยละ 40 ของค่าเฉลี่ยของ
GDP โลก
แนวโน้ ม
ประชากร
แนวโน้ มสังคม
และวัฒนธรรม
วิกฤตอาหาร
นา้ พลังงาน ประชากรโลกก่อนปี 2573
•สังคมความเสี่ยง (social risk) และความ
รุนแรง สาลักเสรีภาพ
•ความแปลกแยกและขัดแย้งทางวัฒนธรรม
•ปัจเจกบุคคล ครอบครัวและชุมชนอ่อนแอ
•คุณภาพชีวิต คุณภาพการศึกษา
•การเรียนรู้ทางสังคมและขบวนการ
เคลื่อนไหวทางสังคมที่มีเสรีภาพสูง
จะมีมากถึง 8,300 ล้านคน
และความต้องการ อาหาร
พลังงานก็จะเพิ่ มขึ้นถึงร้อยละ
50 ขณะที่ความต้องการน้าจืด
จะเพิ่ มขึ้นร้อยละ 30
การเปลี่ยนแปลง
ใน 50 ปี ข้างหน้ าอุณหภูมิโลกอาจเพิ่ มขึ้นเพียง 2 °C
ในปี 2030 การทาลายล้างโดยพายุในเขตร้อนจะเข้า ภูมอ
ิ ากาศ
ใกล้เมืองมากยิ่ งขึ้น
จากการเจริ ญเติ บโตของเขตเมืองและพื้นที่การเกษตร
ซึ่งเพิ่ มขึ้นจากการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
•องค์กรวิ จยั ภัยพิ บตั ิ โลก ชี้ไทยติ ดประเทศเสี่ยงภัย
พิ บตั ิ โลกร้อนอันดับต้ นๆ และรวมถึงพื้นที่อทุ กภัย
อัตราการเพิ่ ม ของประชากรลดลงอย่ างช้ า ๆ
จาก 2.2 เป็ น 1.3% ต่ อ ปี อี กทัง้ ค่ า เฉลี่ ย ของ
อายุมธั ยฐานของประชาการกลับเพิ่ มขึ้นจาก
21 ปี เป็ น 28 ปี
•ไทยมีคนแก่มากที่สดุ ในอาเซียน
คนอายุเกิ น 65 ปี มีมากถึง 12.59%
•ปี 2553 เด็กไทยครองแชมป์ทอ้ งก่อนวัยอันดับ1เอเชีย ที2่
ของโลก คาดว่าใน 10 ปี ขา้ งหน้าจะเผชิญปั ญหาทีร่ ุ นแรงมาก
แนวโน้ มการใช้
อินเทอร์ เน็ต
จานวนผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ ตทัวโลก
่
เพิ่ มขึ้นจาก 360 ล้านหน่ วยในปี 2000 เป็ น 2,405 ล้านหน่ วยในปี 2012
ประเทศไทยจานวนผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ต จาก 2.3 ล้านหน่ วย ในปี 2000 เป็ น 20.1 ล้าน
หน่ วยในปี 2012 ซึ่งคิ ดเป็ นร้อยละ 30 ของประชากร
บริบท : วิกฤตการเงินในเอเชีย วิกฤต
บริบท : ร่ วมมือกับภาคีเอเชีย
ภูมอิ ากาศโลก
ตะวันออก-เอเชี ยถ่ วงดุลสหรัฐ
2549 ประชุมผู้นาร่ าง
กฎบัตร
บริบท : ความขัดแย้งในหลายประเทศ
ความยากจน คอมมูนนิสต์
ประชุมความร่วมมือ
อุตสาหกรรม ASEAN2539
5 ชาติ : ไทย
อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
มาเลเซีย สิงคโปร์
แผนปฏิ บตั ิ การ
เวียงจันทน์ 2547
สนธิ สญ
ั ญาปลดอาวุธนิ วเคลียร์ 2538
ประชุมสุดยอดผูน้ า
ASEAN Regional Forum
ASEAN Concord I
2536
APEC
(Bali)
2532 AFTA
2519
launched
2535
2510
2520
(1967)
(1977)
• ความร่ วมมือเศรษฐกิจ สั งคม
วัฒนธรรม เทคโนโลยี
การศึกษา ฯลฯ
•สนับสนุนสันติภาพ ความ
มัน่ คงและคลายข้อพิพาท
ปี ทีก่ ารประชุมสุดยอดผูน้ า
ASEAN 2519 , 2520,
บริบท : แรงผลักความมั่นคง
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
พหุวฒ
ั นธรรม สั นติภาพ
2530
ASEAN
Concord II
(Bali)
2546
2540
บรูไนเข้า (1987)
(1997)
เวี
ย
ดนาม
ร่วม
(38) กัมพูชา
(2527)
EAEG เขต
(2539)
เศรษฐกิ จเอเชีย
ลาว พม่า
รางวัลซีไรต์
ตะวันออก
(2540)
2522
2533
ความร่ วมมือ
ด้ าน
สิ่ งแวดล้อม
และพลังงาน
2548-2550
ปี ทีก่ ารประชุมสุ ดยอดผู้นา
ASEAN 2530, 2535, 2538,
2541
แผนแม่ บท
อาเซียน
ASEAN
FTA (AFTA)
2546
2550
2558
(2007)
(2015)
“สามเสาหลักความร่ วมมือ”
•เศรษฐกิจ
•สั งคมวัฒนธรรม
•ความมัน่ คง
ตัง้ แต่ปี 2544 มีการประชุมสุดยอด
ผูน้ า ASEAN ทุกปี
แหล่ งที่มา : www.aseansec.org, www.thai-aec.com, www.wikipedia.org
•เด็กอาเซี ยนประมาณ 663.7 ล้านคน
(ยังไม่ได้รวมบูรไน กัมพูชา ลาว)
•ไทย 22.5 ล้าน
•(อยูใ่ นเมือง 24%)
อันดับการพัฒนากลุ่มประเทศ ASEAN รวมจีนวัดจากระดับรายได้
ประชากรและดัชนีการพัฒนาคน
ประเทศ
สิงคโปร์
บรูไน
มาเลเซีย
รายได้ต่อหัวประชากร(US$)
37220
27050
7230
ดัชนี การพัฒนาคน(HDI)
0.944
0.920
0.829
ไทย
3760
0.783
จีน
ฟิลปิ ปินส์
อินโดนีเซีย
เวียตนาม
ลาว
อินเดีย
กัมพูชา
เมียนม่า
เฉลี่ยกลุ่มประเทศอาเซียน
2940
2230
1790
1040
1010
880
650
600
8242
0.772
0.751
0.734
0.725
0.619
0.612
0.593
0.586
0.748
ที่มา : World Bank (2010). United Nations Development Program (2009).
ตารางเปรี ยบเทียบการพัฒนาและความสามารถการแข่งขัน
อันดับการพัฒนา
คน
เทียบในกลุ่ม
อาเซียน
อันดับความ
สามารถแข่งขัน
เทียบในกลุ่มอาเซียน
สิงคโปร์
26
1
4
1
บรูไน
33
2
na
na
มาเลเซีย
61
3
14
2
ไทย
103
4
30
3
อินโดนีเซีย
124
6
42
4
เวียตนาม
128
7
na
na
ฟิลปิ ปินส์
112
5
43
5
ลาว
138
8
na
na
กัมพูชา
139
9
na
na
เมียนม่า
149
10
na
na
ประเทศ
ทีม่ า: อันดับการพัฒนาคน (UNDP, 2011) อันดับการแข่งขัน (IMD, 2011)
ความได้ เปรียบเชิงเปรียบเทียบของกลุ่มประเทศอาเซียน
สิงคโปร์
บรูไน
อุตสาหกรรม
บริการ
สนับสนุน
การผลิต
นโยบาย
เศรษฐกิจ
มหภาค
อินโดนี เซีย
ฟิลิปปินส์
เวียตนาม
อุตสาหกรรม นโยบาย อุตสาหกรรม
บริการ
เศรษฐกิจ บริการ
สนับสนุน
สนับสนุน
มหภาค
การผลิต
การผลิต
ความมี
มาตรฐาน
ขององค์กร
ธุรกิจ
อุตสาหกรรม บริบทเชิง
บริการ
ยุทธศาสตร์
สนับสนุน
และความ
การผลิต
สามารถ
แข่งขัน
มาเลเซีย
ความเป็ น
ความ
โครงสร้าง
สากลของ เข้มแข็งของ พืน้ ฐานด้าน
องค์กรธุรกิจ
ระบบ
ตลาดทุน
กฎหมาย
ประสิทธิผล
ในการวาง
ยุทธศาสตร์
และการ
นาไปปฏิบตั ิ
การพัฒนา
ทรัพยากร
มนุษย์
ไทย
กัมพูชา
ความ
ความเป็ น ประสิทธิผล นโยบาย โครงสร้าง
สากลของ ในการวาง เศรษฐกิจ พืน้ ฐานด้าน เข้มแข็งของ
ยุทธศาสตร์
มหภาค
ตลาดทุน
สถาบัน
องค์กร
และการ
การเมือง
ธุรกิจ นาไปปฏิบตั ิ
ความมี
โครงสร้าง
อุตสาหกร โครงสร้าง อุตสาหกรรม ความ
มาตรฐาน รมบริการ พืน้ ฐานด้าน
บริการ
เข้มแข็งของ พืน้ ฐานด้าน
ขององค์กร
ตลาดทุน
สนับสนุน
สถาบัน
ระเบียบ
สนั
บ
สนุ
น
ธุรกิจ
การผลิต
การเมือง
การค้า
การผลิต
ความเสียเปรียบเชิงเปรียบเทียบของกลุ่มประเทศอาเซียน
สิงคโปร์
บรูไน
อุตสาหกรรม โครงสร้าง
บริการ
พืน้ ฐานด้าน
สนับสนุน
การจัดการ
การผลิต
มาเลเซีย
การพัฒนา
ทรัพยากร
มนุษย์
ความเป็ น
ความเป็ น
ความ
สากลของ
สากลของ เข้มแข็งของ
องค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ
ระบบ
กฎหมาย
ฟิลิปปินส์
เวียตนาม
กัมพูชา
โครงสร้าง
โครงสร้าง
ความ
เข้มแข็ง พืน้ ฐานด้าน พืน้ ฐานด้าน
การจัดการ การจัดการ
สถาบัน
การเมือง
นโยบาย
เศรษฐกิจ
มหภาค
โครงสร้าง
พืน้ ฐานด้าน
การสือ่ สาร
ไทย
อินโดนี เซีย
โครงสร้าง
โครงสร้าง
โครงสร้าง การพัฒนา
ความ
เข้มแข็ง พืน้ ฐานด้าน พืน้ ฐานด้าน พืน้ ฐานด้าน ทรัพยากร
การสือ่ สาร
ระเบียบ
การจัดการ
มนุษย์
ของระบบ
การค้า
กฎหมาย
ประสิทธิผล อุตสาหกรรม โครงสร้าง การพัฒนา
ในการวาง
บริการ
พืน้ ฐานด้าน ทรัพยากร
ยุทธศาสตร์ สนับสนุน
การสือ่ สาร
มนุษย์
และการ
การผลิต
นาไปปฏิบตั ิ
การพัฒนา
ทรัพยากร
มนุษย์
ความ
โครงสร้าง
ความ
เข้มแข็งของ พืน้ ฐานด้าน เข้มแข็งของ
สถาบัน
ระเบียบ
ระบบ
การเมือง
การค้า
กฎหมาย
เสาสังคมวัฒนธรรมอาเซียน
การศึกษาเพื่อความเข้ าใจใน
รากเหง้ าทางประวัติศาสตร์
และวัฒนธรรมที่มีร่วมกัน
จะช่วยต่อภาพ
“ความสัมพันธ์ ของ
ประชาชาติในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ”
กลุ่มชนและเชือ้ ชาติในอุษาคเนย์
แหล่งที่มา : เนชัน่ เนล จีโอกราฟิ ก ปี 1970
แผนทีช่ าติพนั ธุใ์ นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตอนกลาง (ไม่รวมสุมาตรา)
ทุกประเทศมีชนชาติต่างๆ ปะปนกัน เช่น ไท-ลาว จาม แขมร์ จีน มลายู
ชนชาวเผ่า ชาวปา่ ชาวเล ชนเผ่าต่างๆ
•พหุภาษา : ภาษาเพื่อสื่อสาร ภาษาเพื่อทางาน ภาษาเพื่ออยู่ร่วมกัน
โจทย์ตงั ้ ต้นสาหรับประเทศไทย
ความแตกต่างในศักยภาพทางเศรษฐกิจที่ “หมัดไม่เท่ากัน” จะวางโจทย์
“แข่ ง ขัน ” “กับ “แบ่ ง ปั น ” อย่ า งสมดุ ล ได้ อ ย่ า งไร เพื่อ ยืน หยั ด ใน
ประชาคมเศรษฐกิจโลกได้อย่างยังยื
่ นในอนาคต
ท่ า ทีไ ทยเราเองต่ อ ประชาคม ทัง้ ทางการเมือ ง เศรษฐกิจ และสัง คม
วัฒนธรรม ที่จะต้อง “มองกว้าง คิดไกล ใฝ่ หาความยังยื
่ น” คิดเป็ น
“อาเซียน” มากกว่า “ไทย”
โจทย์การทบทวนตนเองตัง้ แต่ความพร้อมของระบบการศึกษาและการ
เตรียมแรงงาน ไปจนถึงความพร้อมของระบบการเมืองการปกครองและ
การบริหารราชการแผ่นดินทีต่ อ้ งมีคุณภาพ เสถียรภาพ และธรรมาภิบาลที่
มากพอและดี
ทักษะเด็กและเยาวชนไทยในอาเซียน
TOEFL บัณฑิตไทยเฉลีย่ 450 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าบัณฑิตสิงคโปร์และฟิ ลปิ ปินส์ทม่ี ี
คะแนนเฉลีย่ เกิน 550 คะแนน และมาเลเซีย อินโดนีเซีย พม่า เวียดนาม และ
กัมพูชามีคะแนนเฉลีย่ เกิน 500 คะแนน
PISA เด็กไทยสูงกว่าอินโดนีเซียเล็กน้อย แต่ต่ากว่าสิงคโปร์มาก
เด็กไทยรู้สึกว่าตนเองเป็ นประชาชนอาเซี ยนเพียงร้อยละ 69.9 (อันดับ 8) และ
ยังมีความรูเ้ รือ่ งอาเซียนน้อยทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับประเทศเพือ่ นบ้าน (อันดับที่ 10) อีก
ทัง้ ยังมีความใฝร่ เู้ รือ่ งประเทศอื่นๆ ในอาเซียนค่อนข้างต่า (อันดับที่ 7)
การสารวจและงานวิจยั ระบุไทยจัดอยูใ่ นกลุม
่ ทีใ่ ช้ภาษาอังกฤษได้ very low
proficiency (ข้อมูลจาก: The EF English Proficiency Index (EPI) ในอันดับที่ 42
จากประเทศทัง้ หมด 44 ประเทศ เป็ นรองเพือ่ นบ้าน 4 ประเทศในอาเซียนทีร่ ว่ ม
ทดสอบคือ มาเลเซียอันดับ 9 อินโดนีเซีย 34 เวียดนาม 39 และ กัมพูชา 41
โจทย์ พนื ้ ฐานการศึกษาไทย
ทั่วถึงไม่ ทงิ ้ เด็ก : จะสร้ างโอกาสที่เท่าเทียมให้
เด็กไทยได้ อย่างไร ให้ กบั เด็กทุกกลุม่ ทุกวัยทุก
เงื่อนไขความยากลาบาก
มีครู ดีทุกถิ่นที่ : ก้ าวข้ ามปั ญหาเรื่ องระบบการ
สร้ าง พัฒนา และรักษาครูดีให้ เด็กไทยได้ อย่าง
ทัว่ ถึงก่อนไปตอบโจทย์อาเซียน
ลดความเหลื่อมลา้ ตังแต่
้ เชิงโครงสร้ างถึงฐานราก
ในท้ องถิ่น
แนวโน้ มการศึกษาโลกกับนัยเพิ่มเติม
ต่ อระบบการศึกษาไทย
• 3 R ทักษะพืน้ ฐาน “อ่ าน เขียน คิด
คานวณ” (Reading, Writing, Arithmetics)
• 7C ทักษะเท่ าทัน “มีวิจารณญาณ
สร้ างสรรค์ ทางานเป็ นทีม เข้ าใจพหุ
วัฒนธรรม สื่อสารเป็ น รู้ทนั เทคโนโลยี มี
ความเชื่อมั่น ก้ าวทันการเปลี่ยนแปลง”
Partnership for 21st
Century Skills
ได้ ร่วมมองคุณลักษณะคนในอนาคตที่
ต้ องการไว้ โดยเน้ นทักษะสาคัญ
“3 Rs 7C 2L”
(Critical thinking & problem solving,
Creativity & Innovation, Collaboration,
teamwork & leadership, Cross-cultural
understanding, Communication,
information & media literacy ( 2 –3
ภาษา), Computing & media literacy,
Career & learning self-reliance,
Change)
• 2 L “ทักษะการเรี ยนรู้ และความเป็ น
ผู้นา” (Learning, Leadership)
ทิศทางของการศึกษา
จะมุง่ เน้น “การเรียนรูแ้ ละสร้างแรงบันดาลใจ”
(learning & motivation)
เน้นบทบาทครูผอู้ านวยการเรียนรู้ (facilitator)
ชัน้ เรียนทีเ่ น้นรูปแบบห้องทางานปฏิบตั กิ าร
(studio)
เน้นเรียนเป็ นทีมและลงมือทา (team learning &
action learning) (Partnership for 21st Century Skills (P21)
กล่าวคือกระแสแนวโน้มเรือ่ ง 21st Century Skills ไม่ได้มนี ยั ต่อการเรียนรู้
หรือมิตกิ ารศึกษาเท่านัน้ แต่ยงั มีนยั ถึงการสร้างกาลังคนรุ่นใหม่ทภ่ี าคส่วน
ต่างๆ และในทุกมิตติ อ้ งเข้ามาร่วมในกระบวนการส่งเสริมเด็กและเยาวชน
ให้ได้พฒ
ั นาทักษะรอบด้านทีว่ า่ นี้ดว้ ย
แนวโน้ มการศึกษาโลก
แนวโน้ มด้ านมิติ
กระบวนการเรียนรู้
แนวโน้ มด้ านมิตขิ อง
เนือ้ หาสาระการเรี ยนรู้
แนวโน้ มมิตขิ องการ
บริหารจัดการการ
เรียนรู้
กระแสแนวโน้ มหลักในโลภาภิวตั น์
•นิวซีแลนด์ ฝรังเศส
่ เกาหลี เน้นสร้าง “วัฒนธรรมเรียนรู”้ และ
พืน้ ทีส่ ร้างสรรค์เพือ่ คนรุน่ ใหม่
•ฮ่องกง ยุโรป ใช้ Drama Education
•นวัตกรรม Photo story / After School Activity ขยายทัวโลก
่
• อเมริกา ญีป่ นุ่ อังกฤษ อินเดีย
เนเธอร์แลนด์ ขยายตัวเรือ่ ง
การศึกษาทางเลือกมากตัง้ แต่
Homeschool , Nonschool etc.
•มีองค์กรสากล อาทิ Alternative
Education Resource
Organization (AERO)
International Association for
Learning Alternatives, Informal
Education, Special Education in
Alternative Education Programs,
Alternative Education: The
Challenge of Educators etc,
นวัตกรรมการสร้ าง
พืน้ ที่การเรี ยนรู้ ท่ สี ร้ างสรรค์
นวัตกรรม
การศึกษาทางเลือก
มิตกิ ระบวนการ
การเรียนรู้
•สร้างสรรค์สร้างพืน้ ที ่
• ยืดหยุน่ ให้ทางเลือก
•เรียนรูร้ ว่ มกันทัง้ สังคม
นวัตกรรม
การเรี ยนรู้ ทงั ้ สังคม
•Campaign for Learning ในอังกฤษ รณรงค์การเรียนรูต้ ลอดชีวติ เน้นการ
เรียนรูข้ องครอบครัว การเรียนรูเ้ พือ่ การเรียน การเรียนรูเ้ พื่อการทางาน
•Council of Europe เน้นขยายประชาธิปไตยผ่านระบบการศึกษาและการ
รณรงค์ทางสังคมในกลุ่มประเทศสมาชิก 21
•Life skills เน้นทักษะ “เท่าทัน” ขยายตัวทัวโลกในทุ
่
กมิติ กลุ่มนวัตกรรมของการ
•โรงเรียนแม่วยั รุน่ ในสหรัฐอเมริกาเติบโต
พัฒนาเนื้ อหาสาระการ
•วิชาใหม่ๆ เช่น Self-Management Lessons / Selfเรียนรู้ด้านทักษะชีวิต
Management Program / Risk management
มิตเิ นือ้ หาสาระ
กลุ่มนวัตกรรมสาระ
การเรี ยนรู้
•ประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ แบบบูรณาการ แบบบูรณาการ
หรือสหวิทยาการ
•วิชาเพือ่ ชีวติ
•วิชาใหม่ Educommunication ,
หรือพหุศาสตร์
•เชือ่ มโยง ผสมผสาน
•พัฒนาระบบโรงเรียนหรือแม้แต่
•สาระ+ทักษะ เข้มใน
มหาวิทยาลัยให้ม ี “เนื้ อหาการ
เนื้อหา ปรับวิชาใหม่
เรียนรู้ทางเลือก”
ต้องวัย โดนใจ
• กระแส “โรงเรียนแห่งอนาคต”
กลุ่มสาระวิชาหลักขัน้ พืน้ ฐาน
(Future schools) บนฐานคิดของ
Future-oriented learning มีวชิ า
---Liberal Arts
“Future Life” “Scenario Planning”
ในโรงเรียนอเมริกาและยุโรป
•ปฏิรปู วิชาประชาสังคมศึกษา (Civic Education) และวิชาพลเมืองศึกษา
(Citizenship Education) ในฮ่องกง ญีป่ นุ่ ยุโรป
•การเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ (Historical learning) กระบวนการหลากหลาย
•Area-Based Curriculum (ABC : Engaging the local) ใน
อังกฤษ
•หลายประเทศช้หลักคิดเรือ่ ง Area-based Education
Strategies วางแผนการศึกษาเพือ่ การมีงานทา-แรงงานรุน่ ใหม่
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา
ที่ใช้พืน้ ที่เป็ นฐาน
มิตกิ ารบริหารจัดการ
กระแสแนวโน้ ม
การเรี ยนรู้
•การคานวณต้นทุนต่อหัวผูเ้ รียน (Unit Alternative education
financing
cost) เฉพาะกลุม่ เป้าหมายทีล่ ะเอียด
•วิชาเพือ่ ชีวติ
ประณีตจากต้นทาง-ปลายทาง
•เชือ่ มโยง ผสมผสาน
•หลายประเทศมี Budget scrutiny
•สาระ+ทักษะ เข้มในเนื้อหา
วิพากษ์การใช้งบประมาณของรัฐ
ปรับวิชาใหม่ ต้องวัย โดนใจ
•Parent Loans for Undergraduate
Students ให้กบั พ่อแม่เพือ่ ไว้ดแู ลลูกที่
เรียนในระบบการศึกษาเอกชนและ
การศึกษาทางเลือก
นวัตกรรมเชิงนโยบายของ
Education policy bodies
•นิวซีแลนด์ ฟินแลนด์ อังกฤษ มีกลไกขับเคลือ่ นนโยบายการปฏิรปู
การศึกษาและสร้างกลไกขับเคลือ่ นทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
•มีการตัง้ โจทย์เชิงนโยบายร่วมระดับภูมภิ าคต่างๆ
การจัด การศึ ก ษาของรัฐ ในหลาย
ประเทศยังสร้างความเหลื่อมล้า ใน
คุณภาพที่คนยากจนด้อยฐานะทาง
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค มไ ม่ อ าจเ ข้ า ถึ ง
การศึกษาทีม่ คี ุณภาพได้
และย่ อ มมีโ อกาสล้ ม เหลวในการ
เ รี ย น สู ง โด ย ป ริ ย าย แ ล ะ หา ก
ประเทศนัน้ ๆ ยังมีคนยากคนจนอยู่
มากที่ขาดการเรียนรู้ท่มี ที ีคุณภาพ
ก็ย่อมจะฉุ ดการศึก ษาในภาพรวม
ของประเทศนัน้ ให้คุณภาพตกต่าลง
วิกฤตภาครัฐทัวโลก
่
•ลงทุนสูง ได้ผลต่า
•การศึกษายังเหลือ่ มล้า
•รักษาความจน ความไม่รู้
ภาวะตกขอบไว้ยงยื
ั่ น
ข้อจากัดของระบบราชการการศึกษา
ลักษณะของการขยายตัวเองให้ใหญ่ไปเรือ่ ยๆ (self-expansive)
ลักษณะเช้าชามเย็นชาม (mediocrity)
ลักษณะของการบริหารจัดการด้วยกฎระเบียบสูง (management by rules
and regulations)
ลักษณะข้อจากัดของการไม่สามารถยืดหยุน
่ (inflexibility)
ลักษณะอานาจนิยม (authoritarian)
ลักษณะต่อต้านการวิพากษ์วจิ ารณ์ (anti-criticism)
ลักษณะเปราะบางละเอียดต่อการเปลีย่ นแปลงทางการเมือง (political
sensitivity)
สัดส่วนงบการศึกษาต่อจีดพี ี และงบรวมของไทยและประเทศในเอเซีย
ทีม่ า: World Bank อ้างถึงใน TDRI
ประเทศไทยลงทุนทางการ
ศึกษาไม่ได้น้อยหน้าไปกว่า
ประเทศใดในโลกคือสูงถึง
ร้อยละ 4 ของ GDP สูงกว่า
ญีป่ นุ่ และสิงคโปร์ และ
ใกล้เคียงกับเกาหลีใต้ แต่
หากเทียบ “ผลตอบแทนการ
ลงทุน” ในรูปผลสัมฤทธิ์ทาง
วิชาการของนักเรียนของเรา
ดังแสดงจากผลการสอบ
PISA นัน้ สวนทางกัน
ท่อปลายตีบของระบบการศึกษาไทย
ก่อนเข้าสู่รวั้
โรงเรียน
ป.1
100%
เหตุปัจจัยส่วนตัว/ครอบครัว
ม.1
80%
ม.4
65%
เรียนไม่ไหว ถอดใจเรียน
ม.6
50%
มหาลัย
35%
มีภาวะบกพร่องการเรียนรู้
เด็กหลุดจากระบบก่อนม.6 กว่า 5,ooo,ooo คนในช่วง 12 ปี
สาเหตุการหลุดจากท่อปลายตีบ
เหตุปัจจัยส่วนตัว/ครอบครัว
ความยากจน
ปั ญหาครอบครัว
การย้ ายถิ่นตามพ่อแม่
การตายจากโรคและ
อุบตั ิเหตุ
เรียนไม่ไหว/ถอดใจ
เด็กหลังห้ อง
เด็กเรี ยนรู้ช้า(slow
learner)
เด็กอัจฉริยะ
ต่างขาดการดูแล การ
เรี ยนรู้ที่เหมาะสม
ภาวะบกพร่องการเรียนรู้
เด็ก LD 8-9%
สมาธิสนั ้ (ADHD)
4-5%
ออทิสติค 1-2%
โจทย์ใหม่ กลุ่มเป้ าหมายใหม่ สมรภูมิใหม่การศึกษาไทย
โจทย์ใหม่ – การศึกษาเพือ่ การมีชวี ติ และการมีงานทาทีม
่ นคงใน
ั่
ชุมชนท้องถิน่
กลุ่มเป้ าหมายใหม่ – แรงงานนอกกลุ่มอายุวยั เรียน 35 ล้านคน
2 ใน 3 อยูใ่ นภาคอุตสาหกรรมการผลิตและภาคการเกษตร
สมรภูมิใหม่ – ชุมชน ท้องถิน
่ เอกชนต้องเข้ามามีสว่ นร่วม
พัฒนาการศึกษาทีต่ อบสนองความเป็ นจริงในชีวติ และอาชีพ ซึง่
ใหญ่กว่าสมรภูม ิ O-Net หรือ PISA โดยรัฐลดบทบาทการจัดลง