63.อนาธิปไตย-อารยะขัดขืน

Download Report

Transcript 63.อนาธิปไตย-อารยะขัดขืน

NEW ANACHISM
JITTRAKORN
PO-NGAM
NEW ANARCHISM
อนาธิปไตย
และ Civil Disobedience
“อารยะข ัดขืน” หรือ “อนารยะข ัดขืน”
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิง์ าม
ในการวิเคราะห์อด
ุ มการณ์ทางการเมืองในปัจจุบ ัน เราจะให้
ความสาค ัญอย่างสูงแก่อด
ุ มการณ์ ทีเ่ รียกว่า New Anarchism
เพราะอะไร ?
คาตอบ
• ในปลายศตวรรษที่ 20 กระบวนการโลกาภิว ัตน์ กาล ังแผ
ขยายไปอย่างรวดเร็วทว่ ั โลก ประเทศต่าง ๆ ต้องตกอยู่
ภายใต้การรุกรานทางเศรษฐกิจของสหร ัฐอเมริกา
• บรรษ ัทข้ามชาติและทุนนิยมโลก เป็นการล่าอาณานิคม
แบบใหม่ลา
่ สุด ในศตวรรษที่ 21 การสร้างจ ักรวรรดิครอง
้ การ
โลกแบบใหม่น ี้ จะดาเนินไปอย่างเข้มข้นมากขึน
ครอบงาของโลกานิยมจะปรากฏอย่างรุนแรงทุกวงการ
ิ้
อธิปไตยทางเศรษฐกิจจะสูญสน
คาตอบ
้ บ้าน” และ “ว ัฒนธรรมท้องถิน
• “เศรษฐกิจพืน
่ ”
จะถูกทาลาย
่ นี้ ไม่มอ
• ภายใต้สถานการณ์เชน
ี ด
ุ มการณ์ใด
ทรงพล ังไปกว่า NEW ANARCHISM
อนาธิปไตยแบบใหม่ตอ
้ งการต่อต้านการ
ครอบงาระด ับโลกทุกรูปแบบ
PIERRE - JOSEPH
PROUDHON
น ักคิดคนสาค ัญของฝรงเศส
่ั
ประกาศในปี 1840
ื่ What is Property?
ในผลงานชอ
“ข้าพเจ้าเป็นอนาร์คส
ิ ต์”
เขายา้ ว่า
ั
“สงคมจะพบก
ับความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ท่ามกลางความปั่นป่วนยุง
่ เหยิง”
William Godwin
• น ักคิดน ักเขียนอ ังกฤษ เป็นคนแรกทีเ่ สนอความคิด
และหล ักการ “อนาธิปไตย” อย่างเป็นระบบ ใน
ื่ ว่า Enquiry Concerning Political
ผลงานชอ
Justice (1773)
• Godwin วิพากษ์ระบอบ “อานาจนิยม” อย่างถอน
ื่ ว่า การศก
ึ ษาบนพืน
้ ฐานของ
รากถอนโคน เขาเชอ
่ ย
หล ักการ “เสรีภาพ” และ “เหตุผลนิยม”
จะชว
ั
ให้คนเรามีจต
ิ สานึกและการกระทาเพือ
่ สงคม
่ นรวม
สว
้ ฐานของ
แนวคิดพืน
ANARCHISM
แนวคิดหล ัก คือ การต่อต้านร ัฐและ
สถาบ ันต่าง ๆ ที่ เกีย
่ วก ับการปกครองและ
ั
กฎหมาย น ักอนาร์คส
ิ ต์ ต้องการมีสงคมที
่
ั
ิ ในสงคมจ
ไร้ร ัฐ สมาชก
ัดการปัญหา
บ้านเมืองก ันเอง โดยไม่มก
ี ารบีบบ ังค ับ
•
อุดมการณ์อนาร์คส
ิ ต์ เป็นทงแบบ
ั้
ั
“เสรีภาพสุดขว”
ั้ + “สงคมนิ
ยมสุดขว”
ั้
้ ฐานของ
หล ักการพืน
ANARCHISM
• ต่อต้านอานาจร ัฐ
• เพือ
่ ระบอบธรรมชาติ
• ต่อต้านการครอบงาทางศาสนา
• เพือ
่ ระบบเศรษฐกิจเสรี
ต่อต้านอานาจร ัฐ
• อนาธิปไตย คือ การปฏิเสธหล ักการของอานาจ
• ต่อต้าน เพราะ อานาจเป็นสงิ่ ทีท
่ าลายหล ักการ
“เสรีภาพ” และ “ความเสมอภาค” ทีไ่ หนมีอานาจ
ทีน
่ น
่ ั จะมีการครอบงากดขีข
่ ด
ู รีด ทาให้คน
กลายเป็นทาส
• Pual Goodman อนาคิสต์อเมริก ัน กล่าวว่า
ั
“จิตวิทยาแห่งอานาจ” จะก่อให้เกิดสงคมที
ค
่ น
่ นใหญ่ตอ
บางกลุม
่ ทารุณโหดร้าย และคนสว
้ งมี
ชวี ต
ิ ด้วยความหวาดผวา
ระบอบธรรมชาติ
่ นใหญ่ เห็นด้วยก ับวลีของ JEAN• อนาร์คส
ิ ต์สว
JACQUES ROUSSEAU ใน Social Contract
(1762)
“มนุษย์เราเกิดมาเป็นอิสรเสรี แต่ปรากฏว่า
ทุกหนทุกแห่ง มนุษย์ตอ
้ งถูกพ ันธนาการด้วยโซ่
ตรวน”
่ นีเ้ พราะ ร ัฐ อานาจร ัฐ และการปกครองเป็น
• ทีเ่ ป็นเชน
ั
ปัจจ ัยสาค ัญทีก
่ อ
่ ให้เกิดความชว่ ั ร้ายในสงคม
ระบอบธรรมชาติ
ั
• โดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์มศ
ี กยภาพที
จ
่ ะ
จ ัดการดูแลชวี ต
ิ ตนเองได้ โดยไม่ตอ
้ งพึง่
ั
้ ได้โดยธรรมชาติ
ร ัฐ ระบบสงคมเกิ
ดขึน
้ ฐานของ “สาม ัคคีธรรม” และ
บนพืน
ั ธรรม” โดยไม่ตอ
“สนติ
้ งมีกลไก Law
and Order
ื่ แบบยูโธเปี ย (Utopianism)
• นีค
่ อ
ื ความเชอ
ั
ื่ ในความดีงามของมนุษย์ เชอ
ื่ ในศกยภาพ
เชอ
ของมนุษย์ทส
ี่ ามารถพ ัฒนาตนเองได้และมี
ชวี ต
ิ อยูอ
่ ย่างสอดคล้องก ับธรรมชาติ สร้าง
ั
สงคมแบบธรรมชาติ
ขน
ึ้ มาได้ (Natural
Order)
• อนาร์คส
ิ ต์หลายกลุม
่ มองว่า ปร ัชญา
่ เต๋า และเซน สน ับสนุน
ตะว ันออก เชน
แนวคิดของตนเกีย
่ วก ับ natural order
“มนุษย์ตอ
้ งอยูอ
่ ย่างสอดคล้องก ับ
ธรรมชาติ โดยปราศจากการครอบงา
จากพล ังอานาจภายนอก”
• ทฤษฎีแนวอนาคิสต์ทท
ี่ ันสม ัยทีส
่ ด
ุ
ในยุคปัจจุบ ัน คือ Social Ecology
ั
-นิเวศวิทยาสงคม
ของ Murray
Bookchin
• หรือ Eco-Anarchism อนาธิปไตยแนวนิเวศ
ต่อต้านการครอบงาทางศาสนา
• อนาคิสต์บางคน (ปรูดอง และบาคูนน
ิ ) ประกาศว่า
ปร ัชญาการเมืองแนวอนาคิสต์จะต้องตงอยู
ั้
บ
่ น
้ ฐานของการปฏิเสธศาสนา(และศาสนจ ักร)
พืน
เพราะว่าสงิ่ นีไ้ ม่อาจทาให้มนุษย์เป็นอิสระเสรีได้
ศาสนา ก็เหมือนก ับร ัฐ คือ เป็นต้นตอแห่งอานาจ
ทีค
่ รอบงามนุษย์ ศาสนจ ักรก ับร ัฐม ักจะเป็นพ ันธมิตร
ก ัน เพือ
่ สร้างความชอบธรรมให้แก่ตนเอง เพือ
่ ให้
ื่ ฟังตลอดกาล
ประชาชนต้องเชอ
ระบบเศรษฐกิจเสรี
• บาคูนน
ิ (Bakunin)
ี กล่าวว่า
อนาคิสต์ร ัสเซย
“อานาจการเมือง” และ “ความมง่ ั คง่ ั
ทางเศรษฐกิจ” เป็นสงิ่ ทีแ
่ ยกจากก ันไม่ได้
ระบบเศรษฐกิจเสรี
ั
่ นใหญ่
• ปร ัชญาสงคมเศรษฐกิ
จของอนาคิสต์สว
สอดคล้องก ับอุดมการณ์
ั
“สงคมนิ
ยม”
โดยมองว่า
ระบบทุนนิยม เป็นระบบทีก
่ ดขี่
ขูดรีดมวลชน ผูย
้ ากไร้
ระบบเศรษฐกิจเสรี
• ในแนว ANACHIST
ั้
“ชนชนปกครอง”
หมายถึง บุคคลทุกกลุม
่ ทีม
่ ี
ิ ธิ์ (ไม่ใช่
ความรา
่ รวย มีอานาจ และอภิสท
แต่เฉพาะนายทุนเท่านน)
ั้
• อนาร์คส
ิ ต์ ปฏิเสธ “ทุนนิยมตะว ันตก” ทุก
รูปแบบ ไม่วา
่ จะเป็นตลาดเสรีสด
ุ ขวั้ หรือ
เศรษฐกิจแบบผสม (ร ัฐ + ตลาด)
ั
• อนาร์คส
ิ ต์ ปฏิเสธ “สงคมนิ
ยมโดยร ัฐ”
่ แบบโซเวียต
(State Socialism เชน
หรือจีน)
ั
“ทุนนิยม” และ “สงคมนิ
ยม”
มีการขูดรีดและ กดขี่
เหมือนก ัน
ั้
ทุนนิยม มีชนชนนายทุ
น
ั
สงคมนิ
ยม มีพรรคคอมมิวนิสต์
ตามแนวคิดของ ANACHIST
ั
สงคมมี
3 กลุม
่
– ประชาชนสว่ นใหญ่ผย
ู ้ ากไร้ ซงึ่ ถูกกดขีข
่ ด
ู รีด
– คนบางกลุม
่ ซงึ่ ขูดรีดผูอ
้ น
ื่ และต ัวเองก็ ถก
ู
ขูดรีดด้วย
ั้
– ชนชนปกครอง
เป็นผูก
้ ดขีข
่ ด
ู รีดแบบสุดยอด
ANACHIST รวมเป็นหนึง่ เดียวก ับ
ประชาชนผูย
้ ากไร้
ั
เพือ
่ “การปฏิว ัติสงคม”
ั
และสร้างระบบเศรษฐกิจสงคม
แบบใหม่ขน
ึ้ มา
ANARCHISM
ในศตวรรษที่ 21
• ในศตวรรษที่ 19 -20 ล ัทธิอนาธิปไตยไม่คอ
่ ย
มีบทบาทเท่าใดสาหร ับการเคลือ
่ นไหวทาง
การเมือง
• นอกจากนนความคิ
ั้
ดเกีย
่ วก ับระบบเศรษฐกิจ
ั
สงคมแนวอนาร์
คส
ิ ต์ก็ไม่ได้ร ับความสนใจ
ั
เหมือนก ับแนวสงคมนิ
ยม
ANARCHISM ในศตวรรษที่ 21
• แต่อด
ุ มการณ์อนาร์คส
ิ ต์ก็ย ังทรงพล ังอยู่
ในฐานะทีช
่ ใี้ ห้เห็นความเลวร้ายของอานาจ
ั
ทางการเมืองทีค
่ รอบงาสงคม
ANARCHISM ในศตวรรษที่ 21
• ในปัจจุบ ัน “ล ัทธิอนาธิปไตย” เริม
่ มามี
ั
ความสาค ัญอีกใน “ขบวนการเคลือ
่ นไหวสงคม
แนวใหม่” (New Social Movement)
่ ขบวนการน ักศก
ึ ษา สตรีนย
เชน
ิ ม ขบวนการ
สงิ่ แวดล้อม ขบวนการต่อต้านการครอบงา
ของต่างชาติ การต่อต้านล ัทธิบริโภคนิยม
และอุตสาหกรรมนิยม
ANARCHISM ในศตวรรษที่ 21
• ในยุคของ Post-modernity ใน
ศตวรรษที่ 21 อุดมการณ์อนาร์คส
ิ ต์
จะกลายเป็นพล ังต่อต้านอานาจครอบงา
ทีส
่ าค ัญอย่างแน่นอน
ความเห็นของ “กลุม
่ อนาร์คส
ิ ต์ใหม่”
่ งว่าง
้ แต่ชอ
1. แม้มค
ี วามเจริญเกิดขึน
ระหว่างโลกตะว ันตก ก ับกลุม
่ ประเทศที่
กาล ังพ ัฒนาก็ย ังมีมาก
ความเห็นของ “กลุม
่ อนาร์คส
ิ ต์ใหม่”
2. โลกาภิว ัตน์ ไม่สามารถแก้ไขปัญหา
ความยากจนของโลกทีก
่ าล ังพ ัฒนาได้เลย
นีเ่ ป็นปัญหาเศรษฐกิจการเมือง
ทีร่ า้ ยแรงทีส
่ ด
ุ ในยุคปัจจุบ ัน
ความเห็นของ “กลุม
่ อนาร์คส
ิ ต์ใหม่”
3. บรรษ ัทข้ามชาติกาล ังสร้างจ ักรวรรดิ
ใหญ่เพือ
่ ครองโลก และเป็นต้นตอของ
การทาลายสงิ่ แวดล้อมโลก
รวมทงขู
ั้ ดรีดแรงงานผูย
้ ากไร้ทวโลก
่ั
ความเห็นของ “กลุม
่ อนาร์คส
ิ ต์ใหม่”
“บรรษ ัทข้ามชาติกาล ังทาลายชวี ต
ิ
ทงปวงบนผื
ั้
นโลกนี้
โดยมี WTO / IMF / World
Bank เป็นผูส
้ น ับสนุน”
NEW ANARCHISM ยุคโลกาภิว ัตน์
โฉมหน้าใหม่ของการต่อต้านอานาจครอบงา
่ งของการเปลีย
• ในชว
่ นศตวรรษจาก 20 ไปสู่ 21
กระบวนการ “โลกาภิว ัตน์” กาล ังขยายต ัวอย่าง
รวดเร็ว เราได้เห็นการประท้วงของกลุม
่ พล ังต่าง ๆ
้ ทีห
เกิดขึน
่ ลายมุมเมืองของโลก
• 30 พ.ย. 1999 WTO ที่ Seattle
• 16 เม.ย. 2000 World Bank / IMF ที่ Washington
• 11 ก.ย. 2000
World Economic Forum ที่
Melbourne
• 26 ก.ย. 2000
World Bank / IMF ที่ Prague
(เชคโกสโลวะเกีย)
การต่อต้านเหล่านี้ ประกอบด้วย…..
กลุม
่ พล ังราดิค ัลทีห
่ ลากหลาย
•
•
•
•
•
•
กลุม
่ น ักสงิ่ แวดล้อมนิยม
กลุม
่ สตรีนย
ิ ม
กลุม
่ คอมมิวนิสต์ใหม่
กลุม
่ พิท ักษ์ผบ
ู ้ ริโภค
กลุม
่ แรงงาน
และกลุม
่ ทีเ่ รียกว่า New Anarchist
การต่อต้านที่ Seaattle ถือได้วา
่ เป็นการเปิ ด
ฉากชุดใหม่ของการต่อต้านโลกาภิว ัตน์
เป้าหมายหล ัก คือ การต่อต้านค ัดค้านทุนนิยม
โลก บรรษ ัทข้ามชาติ และสถาบ ันการเงินการค้า
ข้ามชาติ ทีอ
่ ยูใ่ ต้คาบ ัญชาของสหร ัฐฯ และ
บรรษ ัทข้ามชาติ
ทาไมต้องต่อต้านโลกาภิว ัตน์?
น ักอุดมการณ์ของทุนนิยมโลก พยายามบอกเราว่า
การพ ัฒนาเทคโนโลยีได้กลายเป็นพล ังหล ัก
ในการผล ักด ันกระบวนการโลกาภิว ัตน์
ได้เปิ ดโอกาสให้ประเทศทีก
่ าล ังพ ัฒนาสามารถยกระด ับ
ความเป็นอยูข
่ องประชาชน
่ ยให้มก
ิ ธิภาพ
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ชว
ี ารปร ับปรุงประสท
้ ละให้ประโยชน์มากมาย
การผลิตของประเทศเหล่านีแ
ในการติดต่อก ับโลกตะว ันตก
ทาไมต้องต่อต้านโลกาภิว ัตน์?
ท่ามกลางโลกาภิว ัตน์
กาไรของบรรษ ัทข้ามชาติก็เพิม
่
้ พร้อม ๆ ก ับธุรกิจขนาด
มากขึน
ใหญ่ของประเทศทีก
่ าล ังพ ัฒนา
้
ผูค
้ นมีงานทา มีรายได้เพิม
่ ขึน
ข้อเสนอแนะของ
New Anarchism
• ต้องยุตก
ิ ระแสโลกาภิว ัตน์ และบน
่ ั ทอนอานาจ
่ เสริมโลกาภิว ัตน์
อิทธิพลของกลไกต่าง ๆ ทีส
่ ง
• สร้างกฎระเบียบการค้าใหม่ (Fair Trade
สาค ัญกว่า Free Trade)
ิ ค้าทีเ่ ป็นอ ันตราย
• ยุตก
ิ ารตลาดทีแ
่ พร่กระจายสน
และไร้ความหมายสาหร ับการบริโภค
ข้อเสนอแนะของ
New Anarchism
• สร้างประชาธิปไตยโลก (Global Democracy) ที่
ิ ธิมนุษยชนและสท
ิ ธิแรงงาน
คานึงถึงสท
และความยง่ ั ยืนทางนิเวศ
่ WTO /
• ล้มสถาบ ันการเงินการค้าระหว่างประเทศ เชน
World Bank / IMF
ิ ความยากจน และการเอาร ัด
้ น
• เร่งแก้ไขปัญหาหนีส
เอาเปรียบของทุนนิยมโลกทีก
่ ระทาต่อประเทศทีก
่ าล ัง
พ ัฒนา
ั
สงคมอุ
ดมคติของ New Anarchism
ั
้ ฐานของการสร้างสงคมใหม่
หล ักการพืน
สาม ัคคีธรรม
เสรีภาพ
ความเสมอภาค
ั
สงคมอุ
ดมคติของ
New Anarchism
ั
การเมือง / สงคม
ั
ั้
- สงคมไร้
ชนชน
- ประชาธิปไตยโดยตรง
- จ ัดองค์กรแบบประชาคมนิยม
- กระจายอานาจอย่างกว้างขวาง
่ นร่วมของประชาชนในทางการเมือง
- การมีสว
อย่างเต็มที่
ั
สงคมอุ
ดมคติของ
New Anarchism
ระบบเศรษฐกิจแนวอนาร์คส
ิ ต์ : ระบบสหกรณ์
้ รงงานรวมหมู่
* ใชแ
ิ ธิส
่ นรวม
* ระบบกรรมสท
์ ว
* การสร้างชุมชนสเี ขียวขนาดเล็ก
* ระบบการจ ัดการก ันเอง
* เศรษฐกิจพึง่ ตนเอง
้ ฐาน
* สนองความต้องการขนพื
ั้ น
ิ ค้าบริการอย่างยุตธ
* ระบบแลกเปลีย
่ นสน
ิ รรม
และเท่าเทียม
ั
สงคมอุ
ดมคติของ
New Anarchism
ระบบนิเวศ : ปร ัชญา Eco - Anarchism
* มนุษย์ก ับธรรมชาติเป็นหนึง่ เดียวก ัน
ั
* การจ ัดการระบบเศรษฐกิจสงคมต้
องสอดคล้อง
ก ับหล ักนิเวศวิทยา ผสมก ับ Green Politics
THE END