Chotika Thamviset : Human behavior and self developmet HUMAN BEHAVIOR AND SELF DEVELOPMENT By Chotika Thamviset @ Rajabhat Mahasarakham University Ihr Logo.

Download Report

Transcript Chotika Thamviset : Human behavior and self developmet HUMAN BEHAVIOR AND SELF DEVELOPMENT By Chotika Thamviset @ Rajabhat Mahasarakham University Ihr Logo.

Chotika Thamviset : Human behavior and self developmet
1200006
HUMAN BEHAVIOR
AND SELF DEVELOPMENT
By Chotika Thamviset @ Rajabhat Mahasarakham University
Ihr Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
1. ความมุ่งหวังของการศึกษาพฤติกรรม
วิเคราะห์พฤติกรรม
เข้าใจทฤษฎีและนามาใช้ถกู ต้อง
ยอมรับคนอื่น
เข้าใจตนเองและผูอ้ ื่น
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
2. องค์ประกอบของความเป็ นมนุษย์
จิตใจ
Mind
ร่างกาย
Body
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
2.องค์ประกอบของความเป็ นมนุษย์ (แนวคิดทางจิตวิทยา)
กลุ่มจิตใจ
และร่ างกาย
แยกจากกัน
กาย
จิต
กาย
จิต
ทวินิยม
แนวคิดแบบคู่ขนาน
(Dualism)
(Psychophysical parallesim)
กาย
จิต
แนวคิดผลพลอยได้
(Epiphenomenalism)
แนวคิดปฏิสมั พันธ์
(Interactionism)
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
2.องค์ประกอบของความเป็ นมนุษย์ (แนวคิดทางจิตวิทยา)
กาย
จิต
แนวคิดสองด้าน
(The doubleAspect Theory)
เอกนิยม
(Molism)
จิต
(กาย)
แนวคิดเอกลักษณ์(The
Identity Theory)
ทีม่ า : ธีระ อชวเมธี, 2543 หน้า 23
กลุ่มจิตใจและ
ร่ างกายเป็ นสิ่ ง
เดียวกัน
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
3.จิตและกระบวนการทางานของจิต
จิต (Mind) คือ การทาหน้าที่
ของสมองส่วนต่างๆ ร่วมกันใน
การดารงชีวติ
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
3.จิตและกระบวนการทางานของจิต
การรับรู้
การมีอารมณ์
แปลความหมายโดยอาศัยประสบการณ์เดิม
สิง่ เร้ามีคุณค่าเชิงบวกจะรูส้ กึ พอใจ
ถ้าเชิงลบจะรูส้ กึ ไม่พอใจ
การรับสัมผัส
อวัยวะรับสัมผัส
เกีย่ วข้องกับระบบความเคลื่อนไหว
ระบบอวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
สัง่ กายให้แสดง
พฤติกรรม
อยากมี อยากได้ อยากหนี อยากทิง้
ตัดสินใจ
ความนึกคิด
Your Logo
ความต้องการ
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
4.พฤติกรรมของมนุษย์
พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง การกระทา
การแสดงอาการ อากัปกริยาของอินทรี
ทัง้ ส่วนของเจ้าของพฤติกรรมรู้หรือบุคคลรู้
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
4.พฤติกรรมของมนุษย์
พฤติกรรมภายใน :
ความคิด ความรูส้ กึ อารมณ์ แรงจูงใจ ทัศนคติ ค่านิยม
พฤติกรรม
พฤติกรรมโมลาร์ : การเดิน การวิง่ การ
ั ่ กรยาน
กิน การนั ่ง การปนจั
(อาการ อากัปกริยา การกระทา)
พฤติกรรม
ภายนอก
พฤติกรรมโมเลกุล : ;วัดคลื่น
สมอง วัดอัตราการเต้นหัวใจ วัด
ความดันโลหิต ฯลฯ
ผูอ้ ื่นรูโ้ ดยการสังเกต
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
4.พฤติกรรมของมนุษย์
พฤติกรรม 4 ประเภท ของลุฟท์และอิงแฮม จากเนื้อเรือ่ ง หน้าต่างหัวใจ (Johari Window)
เปิดเผย
open
• ตนรู้ คนอื่นรู้
ความลับ
Secret
• ตนรู้ คนอื่นไม่รู้
จุดบอร์ด
อวิชชา
Blind
Unknown
ตนเองไม่รคู้ น
อื่นไม่รู้
ตนไม่รู้ แต่ผอ้ ู ื่น
รู้
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
5.ความสัมพันธ์ ระหว่างจิตและพฤติกรรม
เส้นประสาท
อวัยวะรับสัมผัส
(รับสัมผัสจาก
กระทบสิง่ เร้า)
เส้นประสาท
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
6.วิธกี ารศึกษาพฤติกรรม
1.การสังเกต
1.1 สังเกตทางตรง ( Direct Observation )
1.2 สังเกตทางอ้อม (Indirect
Observation)
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
2 การสารวจ (Survey)
3 การศึกษาแบบคลินิก (Clinic)
4 การทดสอบ (Testing)
5 การทดลอง (Experiment)
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
6.วิธกี ารศึกษาพฤติกรรม
เปรียบเทียบข้อดีข้อจากัดวิธีการศึกษาพฤติกรรม
วิธีการ
ข้ อดี
ข้ อจากัด
การสังเกต
-สามารถรู้พฤติกรรมของคนและ สรุ ปเหตุและผล
สัตว์ในชีวิตจริ งเพื่อเปรี ยบเทียบ ไม่ได้แน่นอน
กันในห้องทดลอง
-ข้อมูลที่ได้จากวิธีน้ ี สามารถ
นาไปใช้ในวิจยั พฤติกรรมเฉพาะ
ได้
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
เปรียบเทียบข้อดีขอ้ จากัดวิธกี ารศึกษาพฤติกรรม
วิธีการ
การสารวจ
ข้ อดี
ข้ อจากัด
-สามารถศึกษาพฤติกรรมในชีวิต
จริ งของคนกลุ่มใหญ่ได้สะดวก
-ผลที่ได้มีอคติ เพราะคนส่วนใหญ่มี
แนวโน้มจะตอบทางบวก และเป็ นการตอบ
ที่ไม่น่าเชื่อถือ
-การค้นข้อมูลของวิธีการนี้ตอ้ งอาศัย
วิธีการรวบรวมข้อมูลจากวิธีอื่นๆ ประกอบ
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
เปรียบเทียบข้อดีขอ้ จากัดวิธกี ารศึกษาพฤติกรรม
วิธีการ
การทดสอบ
ข้ อดี
ข้ อจากัด
-สามารถวัดพฤติกรรมได้
-พฤติกรรมบางอย่างใช้กบั วิธีการนี้ ไม่ได้
แน่นอนในเรื่ องเฉพาะที่
-แบบทดสอบที่ไม่ได้มาตรฐานจะได้
เที่ยงตรง
ผลสรุ ปพฤติกรรมที่ผดิ
- นาข้อมูลของวิธีการนี้ไปใช้กบั
วิจยั ในหัวข้ออื่นๆได้
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
เปรียบเทียบข้อดีข้อจากัดวิธีการศึกษาพฤติกรรม
วิธีการ
คลินิก
ข้ อดี
ข้ อจากัด
-ได้ขอ้ มูลของแต่ละคนในเชิงลึก
- สามารถแก้ไขพฤติกรรมของแต่
ละคนได้ละเอียดถี่ถว้ น
-ข้อมูลที่ได้ไม่อาจจะใช้กบั คนอื่นได้มากก
นัก
-สรุ ปเหตุและผลไม่ได้แน่นอน
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์
เปรียบเทียบข้อดีข้อจากัดวิธีการศึกษาพฤติกรรม
วิธีการ
การทดลอง
ข้ อดี
ข้ อจากัด
-สามารถควบคุมตัวแปรต่างๆได้
- สามารถสรุ ปเหตุและผลของ
เรื่ องที่ศึกษา
ที่มา : Matlin,1995 p .37
-ยากที่จะนาไปใช้ในชีวิตจริ งเพราะเป็ น
สถานการณ์จาลองในห้องทดลอง
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
แนวคิดของนักจิตวิทยา
1 โครงสร้างของแห่งจิต (Structuralism) นาโดย วุนด์ท
(Wilheim wundt) ความเชื่อแนวคิดนี้ เกี่ยวกับพฤติกรรม
คือ
1.1
1.2
1.3
1.4
พฤติกรรมของคนเกิดจากการกระตุน้ ของจิตและความคิด
แนวคิดต่าง ๆ ของคนเกิดจากกระบวนการของจิต
องค์ประกอบทางจิตของคนเกิดจากการรวมตัวกันของจิตธาตุ
จิตธาตุของคนประกอบด้วย 3 ส่วน คือ การสัมผัส (Sensation) ความรูส้ กึ
(Feeling) และจินตนาการ (Imagination)
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
1 กลุ่มหน้ าที่ของจิต (Functionlism)
นาโดย ดิ้วอี้ (John Dewey)
เชื่อว่า พฤติกรรมเป็ นการประทาของคนเพื่อปรับตัวเข้ากับ
สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมของคนมีความสัมพันธ์กบั
ประสบการณ์และการทาหน้ าที่ของจิตพร้อมกัน
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
3 กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
นาโดย วัตสัน
เชื่อว่า พฤติกรรมต่างๆ ของอินทรียเ์ กิดจากการสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า
ภายนอกและการตอบสนอง
4
กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt)
นาโดย เวอร์ไธเมอร์
เชื่อว่า การศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ไม่ควรสนใจองค์ประกอบแต่ควรให้ความ
สนใจพฤติกรรมส่วนรวมของอินทรีย์ ซึ่งจะช่วยทาให้เข้าใจพฤติกรรม
ได้ง่ายกว่ามองส่วนย่อยๆ เน้ นความสาคัญส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
5 กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)
นาโดย ฟรอยด์
เชื่อว่า จิตของคนมีส่วนกาหนดพฤติกรรมคน 3 ระดับ
- จิตสานึ ก (Conscious)
รู้ตวั
- จิตใต้สานึ ก (Preconscious)
- จิตไร้สานึ ก (Unconscious)
ไม่รู้ตวั
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
7 แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ ในการศึกษาพฤติกรรม
5 กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) นาโดย
ฟรอยด์ แบ่งบุคลิกภาพของ ออกเป็ น 3 ส่วน
- Id………………ความพึงพอใจ
- Ego……………..ความจริง
- Super ego……….ศีลธรรม
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
6 การรูค้ ิ ด (Cognitivism) หรือพุทธนิยม ปัญญานิยม
นาโดย โคเลอร์ โทลแมน และพีอาร์เจ
เ ชื่ อ ว่ า บุ ค ลิ ก ภ า พ จ ะ ถู ก ก า ห น ด โ ด ย ก า ร รู้ คิ ด
กระบวนการทางานสมอง หรือพฤติกรรมภายในของอิน
มนุ ษย์จะมีพฒ
ั นาการรู้คิดเป็ นขัน้ ตอน ตามลาดับ และ
ความรู้ค วามเข้ า ใจแต่ ล ะเรื่ อ งต้ อ งอาศัย เวลา เพื่ อ จัด
ระเบียบและสร้างเป็ นความคิดรวบยอดได้
Your Logo
Chotika Thamviset : Human behavior and self development
CHAPTER 1 : ความเข้าใจเกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์
7 มนุษย์นิยม (Humunism)
นาโดย มาสโลว์และโรเจอร์
เชื่ อ ว่ า พฤติ ก รรมเป็ นผลมาจากความต้ อ งการเป็ น
อิสระของมนุษย์ และพื้นฐานความดีงามของมนุษย์ กลุ่ม
นี้ จึงศึกษาพฤติกรรมมนุษย์โดยเน้ นความสาคัญที่ ความ
ต้องการและความมีศกั ด์ ิ ศรี และศักยภาพของบุคคล
Your Logo