กระบวนทัศน์การออกแบบการวิจัยที่มีคุณภาพ

Download Report

Transcript กระบวนทัศน์การออกแบบการวิจัยที่มีคุณภาพ

กระบวนทัศน์
การออกแบบการวิจัยทีม่ คี ุณภาพ
รศ.ดร.วิชัย วงษ์ ใหญ่
ดร.มารุต พัฒผล
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
30 มกราคม 2558
เค้ าโครงการบรรยาย
1. คาถามวิจัย และวัตถุประสงค์ การวิจัย
2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
3. กรอบความคิดของการวิจัย
4. การออกแบบการวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ผลลัพธ์ การเรียนรู้
1. ระบุคาถามวิจัย และวัตถุประสงค์ การวิจัยทีส่ นใจได้
2. วิเคราะห์ เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ องได้
3. กาหนดกรอบความคิดของการวิจัยในเรื่องทีส่ นใจได้
4. ออกแบบการวิจัยทีส่ นใจได้ อย่ างมีคุณภาพ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
คาถามวิจัย (Research Question)
หมายถึง ข้ อคาถามทีผ่ ู้วจิ ัย
ต้ องการทราบคาตอบ
ซึ่งต้ องใช้ กระบวนการวิจัย
ในการแสวงหาคาตอบนั้น
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
แหล่งที่มาของคาถามวิจัย
1. ประสบการณ์ ของผู้วจิ ยั
2. รายงานวิจัยของนักวิจัยก่อนหน้ า
3. ความเหมาะสมระหว่างทฤษฎีกบั เวลาทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป
4. การเข้ าร่ วมสั มมนา ฝึ กอบรม ประชุมเชิงวิชาการ
5. หน่ วยงานทีส่ นับสนุนทุนการวิจยั
6. การศึกษาค้ นคว้ าจากแหล่ งข้ อมูลออนไลน์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ลักษณะคาถามวิจัยที่ดี
1. เป็ นปัญหาทีส่ ามารถทาวิจัยได้ (researchable)
2. เป็ นปัญหาทีม่ ีความสาคัญ (significance)
สร้ างองค์ ความรู้ (body of knowledge) ให้ กบั วิชาชีพ
3. เป็ นปัญหาทีไ่ ม่ ซ้าซ้ อนกับงานวิจัยอืน่ (uniqueness)
4. เป็ นปัญหาทีม่ ีความชัดเจนในประเด็นและขอบเขตทีศ่ ึกษา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ข้ อแนะนาในการกาหนดคาถามวิจัย
1. เลือกปัญหาวิจัยจากความสนใจของตนเอง
2. เลือกปัญหาวิจยั เหมาะสมกับศักยภาพของผู้วจิ ยั
3. เลือกปัญหาวิจัยที่ไม่ ซ้าซ้ อนกับการวิจัยที่ผ่านมา
4. เลือกปัญหาวิจัยที่สามารถดาเนินการได้ สาเร็จ
5. เลือกปัญหาวิจัยที่เป็ นประโยชน์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
วัตถุประสงค์ การวิจัย
(Research Objectives)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
วัตถุประสงค์ การวิจยั
จุดม่ ุงหมายของผ้ ูวจิ ยั ในการทาวิจยั
มีความสอดคล้ องกับคาถามวิจัย
ทาให้ ได้ คาตอบของคาถามวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ตัวอย่ างคาถามวิจยั และวัตถุประสงค์ การวิจัย
ตัวอย่ างที่ 1
คาถามวิจัย
การจัดการเรียนรู้ แบบ 7E ทาให้ ผ้ ูเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สูงขึน้ หรือไม่
วัตถุประสงค์ ฯ
เพือ่ ศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
ทีไ่ ด้ รับการจัดการเรียนรู้ แบบ 7E
ตัวอย่ างที่ 2
คาถามวิจัย
การจัดการเรียนรู้ แบบโครงงานในสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
เรื่อง พืน้ ฐานทางเรขาคณิต ทาให้ ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
มีเจตคติทดี่ ตี ่ อคณิตศาสตร์ สูงขึน้ หรือไม่
วัตถุประสงค์ ฯ
เพือ่ ศึกษาเจตคติทดี่ ตี ่ อคณิตศาสตร์ ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
ทีไ่ ด้ รับการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ แบบโครงงาน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การศึกษาเอกสาร
และงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ความมุ่งหมาย
ของการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
1. เพือ่ เลือกปัญหาทีจ่ ะทาวิจัย
2. เพือ่ ให้ เกิดความกระจ่ างในปัญหาทีจ่ ะทาวิจัย
3. เพือ่ ค้ นหาประเด็นการวิจัยทีไ่ ม่ ซ้าซ้ อนกับการวิจัยทีผ่ ่ านมา
4. เพือ่ ค้ นหาเทคนิคและวิธีการในการทาวิจัย
5. เพือ่ ช่ วยในการสรุปผลการวิจัย
6. เพือ่ ใช้ ประกอบการเขียนรายงานการวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
หลักการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
1. พยายามแสวงหาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ องให้ มากทีส่ ุ ด
โดยศึกษาเนือ้ หา ทฤษฏี หลักการ วิธีการวิจยั ผลการวิจยั ที่ค้นพบ
2. พิจารณาถึงความทันสมัยของเอกสารและงานวิจยั ที่นามาศึกษา
3. พิจารณาคัดเลือกเนือ้ หาสาระ ผลการศึกษาไว้ เพือ่ เป็ นประโยชน์
ต่ องานวิจยั ทีก่ าลังศึกษา
4. พิจารณาเลือกเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ องโดยตรง
กับงานวิจยั ทีก่ าลังศึกษา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
หลักการคัดเลือกเอกสารและงานวิจัย
1.
2.
3.
4.
เกีย่ วข้ องกับการวิจัย
ทันสมัยเพียงพอต่ อการวิจัย
ถูกต้ องและเชื่อถือได้
ให้ แนวคิดต่ อการทาวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การสั งเคราะห์ ข้อมูล (Synthesis)
สิ่ งแตกต่ างดูเหมือน
เข้ ากันไม่ ได้
เข้ าถึงแก่ น (สาระ)
โดยไม่ มีความขัดแย้ ง
นามารวมภายใต้
แกนเดียวกัน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
การสั งเคราะห์
ความสามารถสารวจแหล่งข้ อมูลทีห่ ลากหลาย
รู้ ว่าอะไรสาคัญควรแก่ความสนใจ
และนาข้ อมูลทั้งหมดมาประสานกันได้ อย่ างมีเหตุผล
สาหรับตนเองและผู้อนื่
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
เมอเรย์ เกล แมนน์ (Marray Gell Mann)
กล่ าวว่ า ใครทีร่ ู้จักสั งเคราะห์ ข้อมูลให้ ตวั เองได้ เก่ ง
จะกลายเป็ นบุคคลแนวหน้ า และสามารถสั งเคราะห์ ข้อมูล
ให้ ผู้อนื่ เข้ าใจได้ จะเป็ นครู นักสื่ อสาร และผู้นาทีม่ ีคุณค่ า
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
การสรุปเป็ นหลักการ
ความคิดรวบยอด
(Concept)
ความคิดรวบยอด
(Concept)
การถักทอ /
สอดผสาน
Weaving
หลักการ
(Principle)
ความคิดรวบยอด
(Concept)
หลักการ
123
หลักการ
123
หลักการ
123
ทฤษฎี
(Theory)
ค.ร.น.
ห.ร.ม.
จานวนเต็มคู่
การแยกตัวประกอบ
จานวนเฉพาะ
จานวนเต็มคี่
ตัวประกอบ
จานวนประกอบ
ศูนย์
จานวนเต็มบวก
จานวนธรรมชาติ
จานวนเต็มลบ
สาระที1่ มาตรฐาน ค1.4 ป.6
ตัวชี้วดั ที่ 2
จานวนเต็ม
จานวน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
โมเลกุล
การแบ่ งเซลล์
ประชากร
อวัยวะ
2. การถ่ ายทอด
พันธุกรรม
เนือ้ เยือ่
1. องค์ ประกอบ
เซลล์
พืช
สิ่ งมีชีวติ
4. ถิ่นที่อยู่
ระบบนิเวศน์
การสร้ างอาหาร
จุลนิ ทรีย์
ปฏิสัมพันธ์
ชุมชน
เซลล์
ระบบ
สั ตว์
ประชากร
3. กระบวนการ
การหายใจ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องจะนาไปสู่
-
การกาหนดกรอบความคิดของการวิจัย
การนิยามศัพท์ เฉพาะ
การออกแบบการวิจัย
การสร้ างเครื่องมือวัด
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
การวิเคราะห์ ข้อมูล
อืน่ ๆ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
กรอบความคิดของการวิจัย
กรอบความคิดของการวิจัย (Conceptual Framework)
คือ แบบจาลองที่นักวิจัยสร้ างขึน้ โดยใช้ แนวคิดทฤษฎี
และงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง เพือ่ แสดงความเกีย่ วข้ องกัน
ระหว่ างสิ่ งที่ต้องการทาวิจัย (ตัวแปร) และจะนาไป
ตรวจสอบกับข้ อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Data)
ว่ ามีความสอดคล้ องกันหรือไม่
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ที่มาของกรอบความคิดในการวิจัย
1. แนวคิดทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
2. ผลงานวิจัยที่ผ่านมา
3. เอกสารทางวิชาการต่ างๆ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ลักษณะการเขียนกรอบความคิดในการวิจัย
ตัวแปรต้ น (เหตุ)
ตัวแปรตาม (ผล)
ตัวแปรต้ น 1
ตัวแปรต้ น 2
ตัวแปรตาม (ผล)
ตัวแปรต้ น 3
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อคุณภาพผู้เรียน
ภาวะผู้นาทางวิชาการ
ผู้บริหาร
อัตลักษณ์
คุณภาพผู้เรียน
รักการสอน
ครู
รักผู้เรียน
มีความรู้
มีความยุตธิ รรม
เอกลักษณ์
ดูแลช่ วยเหลือผู้เรียน
มีวธิ ีการสอน
การประเมินผล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การนิยามศัพท์
1. การนิยามเชิงบัญญัติ (constitutive definition)
เป็ นการนิยามโดยใช้ ความหมายตามพจนานุกรม หรือทฤษฎี
บางครั้งเรียกว่ าเป็ นการนิยามเชิงทฤษฎี
หรือการนิยามเชิงมโนทัศน์ (conceptual definition)
2. การนิยามเชิงปฏิบัติการ (operational definition)
เป็ นการให้ ความหมายในเชิงรู ปธรรม ระบุกจิ กรรม
พฤติกรรม หรือการกระทาที่สามารถสั งเกตได้ โดยตรง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
หลักการนิยามศัพท์ เฉพาะ
1. เขียนคานิยามให้ กบั ตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ซึ่งต้ องสั งเคราะห์ มาจากเอกสารและงานวิจัยในบทที่ 2
2. ไม่ ควรแยกคาหรือฉีกคาในการนิยาม
3. คาทีม่ คี วามหมายชัดเจนอยู่แล้ วไม่ ต้องนิยาม
4. ถ้ ามีคาอืน่ ที่เป็ นคาสาคัญ (key word)
ควรนิยามเพิม่ เติมด้ วย โดยการนิยามเชิงทฤษฎี
เพือ่ ให้ เข้ าใจตรงกันทั้งผู้ทาวิจัยและผู้อ่านงานวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ความรับผิดชอบ (Draft 1)
- พันธะหรือภาระผูกพันทีม่ ตี ่ อหน้ าที่
- ความสนใจ
- ตั้งใจปฏิบัตหิ น้ าที่ด้วยความเพียรพยายาม
- ละเอียดรอบคอบ
- ความมุ่งมัน่ ในเวลาทีก่ าหนด
- ยอมรับผลการกระทาทั้งดีและเสี ย
- รวมทั้งปรับปรุงการปฏิบัตใิ ห้ ดขี นึ้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ความรับผิดชอบ (Draft 2)
ภาระผูกพัน
ตั้งใจปฏิบัตหิ น้ าที่
เพียรพยายาม
ละเอียดรอบคอบ
ยอมรับผลการกระทา
ปรับปรุงการปฏิบัติ
หมายถึง ภาระผกู พันในการตั้งใจปฏิบัติหน้ าทีด่ ้ วยความเพียร
พยายามอย่ างละเอียดรอบคอบ ยอมรับผลการกระทา
และปรั บปรุงการปฏิบัติ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
แบบประเมินความรับผิดชอบ
คาชี้แจง 1. แบบประเมินนีม้ ีผู้ประเมิน 3 ฝ่ าย คือ ตนเอง เพือ่ น และครู ข้ อมูลการประเมินมาจาก 3 ฝ่ าย
เพือ่ พิจารณาในการตัดสิ นผลการประเมิน
2. จงเขียนระดับคะแนนลงในช่ องผลการประเมิน ดังนี้
3 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติด้วยตนเอง และชักชวนเพือ่ ให้ ปฏิบัติ
2 คะแนน หมายถึง ปฏิบัตเิ มื่อมีตวั แบบจากบุคคลอืน่
1 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติเมื่อได้ รับคาสั่ งจากครู
ผลการประเมิน
ชื่อ - สกุล
ผูกพัน
เพียร ละเอียด
ตั้งใจปฏิบตั ิ พยายาม รอบคอบ
หน้ าที่
ยอมรับ
ผลการ
กระทา
ปรับปรุง
การปฏิบตั ิ
ลงชื่อผู้ประเมิน ................................................................... (ตนเอง เพือ่ น ผู้สอน)
รวม
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
เกณฑ์ การให้ คะแนนความรับผิดชอบ แบบรายข้ อ
5
4
ผูกพัน
ผูกพัน
ตั้งใจปฏิบตั ิ ตั้งใจปฏิบตั ิ
หน้ าที่
หน้ าที่
เพียร
เพียร
พยายาม พยายาม
ละเอียด
รอบคอบ
ละเอียด
รอบคอบ
ยอมรับ
ผลการ
กระทา
ยอมรับ
ผลการ
กระทา
ปรับปรุ ง
การปฏิบตั ิ
3
2
1
ผูกพัน
ตั้งใจปฏิบตั ิ
หน้ าที่
เพียร
พยายาม
ผูกพัน
ตั้งใจปฏิบตั ิ
หน้ าที่
เพียร
พยายาม
ผูกพัน
ตั้งใจปฏิบตั ิ
หน้ าที่
ละเอียด
รอบคอบ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การออกแบบการวิจัย
(Research design)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การออกแบบการวิจัย (Research design)
การกาหนดวางแผนขั้นตอนการวิจยั เพือ่ ให้ ได้ ผลการวิจยั ทีถ่ ูกต้ อง
และเชื่อถือได้ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ การวิจยั ประกอบด้ วย
1. การออกแบบการวัดตัวแปร
2. การออกแบบการเก็บรวบรวมข้ อมูล
3. การออกแบบการวิเคราะห์ ข้อมูล
การออกแบบการวิจยั เปรียบเสมือนพิมพ์ เขียวของการวิจยั
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
พิมพ์เขียวการออกแบบงานวิจัย
ปัญหา
วัตถุประสงค์
ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม
สมมติฐาน
แหล่งข้ อมูล
เครื่องมือ
กรอบความคิดของการวิจัยประกอบด้ วยตัวแปรต้ นและตัวแปรตาม
การเก็บ
ข้ อมูล
การวิเคราะห์
ข้ อมูล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
วัตถุประสงค์ ของการออกแบบการวิจยั
1. เพือ่ ให้ สามารถใช้ วธิ ีการและเครื่องมือ
วัดตัวแปรที่ศึกษาได้ อย่ างเหมาะสม
2. เพือ่ ให้ สามารถใช้ วธิ ีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
ที่มีประสิ ทธิภาพภาพ
3. เพือ่ ให้ สามารถใช้ วธิ ีการวิเคราะห์ ข้อมูล
อย่ างสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ การวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ประโยชน์ ของการออกแบบการวิจัย
1. ช่ วยให้ สามารถวางแผนควบคุมตัวแปรแทรกซ้ อนได้
2. ช่ วยในการกาหนดรู ปแบบวิธีการสร้ างเครื่องมือวัด
3. ช่ วยให้ สามารถเลือกวิธีการทางสถิตไิ ด้ อย่ างเหมาะสม
4. ช่ วยในการประเมินงบประมาณ ระยะเวลา การทาวิจัย
5. เป็ นปัจจัยสนับสนุนความถูกต้ อง เชื่อถือได้ ของการวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ประเด็นหลักที่ต้องออกแบบการวิจัย
1. การออกแบบการวัดตัวแปร
2. การออกแบบการเก็บรวบรวมข้ อมูล
3. การออกแบบการวิเคราะห์ ข้อมูล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
แบบแผนการวิจยั ทีด่ ที สี่ ุ ด
ขึน้ อย่ ูกบั คาถามวิจยั หรือปัญหาวิจัย
The best design depends on your
research questions.
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
4 คาถามสาหรับการออกแบบการวิจัย
1. ปัญหาวิจัยของเราคืออะไร
2. มีข้อมูลอะไรบ้ างทีเ่ กีย่ วข้ อง
3. มีข้อมูลอะไรบ้ างทีต่ ้ องเก็บรวบรวม
4. จะวิเคราะห์ ข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมาอย่ างไร
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
เทคนิคการออกแบบการวิจัย
1. การออกแบบการวิจัยเชิงทดลอง
2. การออกแบบการวิจัยเชิงบรรยาย
3. การออกแบบการวิจัยเชิงพัฒนาการ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
1. การออกแบบการวิจัยเชิงทดลอง
1.1 การออกแบบการวิจัยเชิงทดลองเบือ้ งต้ น
(pre – experimental design)
1.2 การออกแบบการวิจัยกึง่ ทดลอง
(quasi – experimental design)
1.3 การออกแบบการวิจัยทดลองแท้
(true – experimental design)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
2. การออกแบบการวิจัยเชิงบรรยาย
การออกแบบการวิจยั เชิงบรรยาย (descriptive research)
เป็ นกระบวนการศึกษาข้ อเท็จจริง ตลอดจนความสั มพันธ์
ระหว่ างตัวแปรต่ างๆ ในสภาพปัจจุบัน มีข้นั ตอนการออกแบบดังนี้
การกาหนดประชากร
การสุ่ มกลุ่มตัวอย่ าง
การกาหนดตัวแปรที่ศึกษา
การบรรยายคุณลักษณะของตัวแปร
วิเคราะห์ ความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปร
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การศึกษารายกรณี (Case Study)
การศึกษาในลักษณะเจาะลึก (in - depth)
เพือ่ การอธิบายปรากฏการณ์ ที่เกิดขึน้
- บุคคล
- กล่ มุ บุคคลกล่ มุ ใดกล่ มุ หนึ่ง
- ชุมชนใดชุมชนหนึ่ง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การวิจัยเอกสาร
(Documentary Research)
การวิจยั ทีใ่ ช้ เอกสารตาราเป็ นแหล่ งข้ อมูล
เช่ น พระไตรปิ ฎก คัมภีร์ หนังสื อ
ภาพถ่ าย วีดทิ ศั น์ ผ่ านกระบวนการ
วิเคราะห์ สั งเคราะห์ และหาข้ อสรุป
เพือ่ ตอบวัตถุประสงค์ การวิจยั
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
3. การออกแบบการวิจัยเชิงพัฒนาการ
เป็ นการวิจัยทีม่ ่ ุงศึกษาการเปลีย่ นแปลงหรือพัฒนาการ
ของเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การศึกษาการเจริญเติบโต (growth study)
หรือแนวโน้ ม (trend) ของพฤติกรรม
หรือเหตุการณ์ ใดเหตุการณ์ หนึ่ง จาแนกเป็ น 2 ลักษณะ
1. การศึกษาภาคตัดขวาง
2. การศึกษาระยะยาว
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
สรุปขั้นตอนการออกแบบการวิจัย
1. กาหนดรู ปแบบการวิจยั
3. กาหนดแนวทางการวิจยั
1.1 การวิจยั ที่เป็ นการทดลอง
3.1 ออกแบบการวัดตัวแปร
1.2 การวิจยั ที่ไม่ เป็ นการทดลอง 3.2 ออกแบบการเก็บข้ อมูล
3.3 ออกแบบการวิเคราะห์
2. กาหนดขอบเขตของการวิจยั
ข้ อมูล
2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
2.2 ตัวแปรที่ใช้ ในการวิจยั
2.3 เนือ้ หาและระยะเวลาดาเนินการวิจยั
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ความเที่ยงตรงภายใน
(internal validity)
ความสามารถทีจ่ ะสรุปผลการวิจัย
ทีด่ าเนินการกับกล่ ุมตัวอย่ าง
ได้ อย่ างถูกต้ อง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ความเที่ยงตรงภายนอก
(external validity)
ความสามารถทีจ่ ะขยายผลสรุป
ของการวิจัยออกไปให้ ครอบคลุม
ประชากร (generalization)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ลักษณะการออกแบบการวิจัยที่ดี
1. มีความประหยัด
2. มีความเทีย่ งตรงภายใน
3. มีความเทีย่ งตรงภายนอก
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
เครื่องมือ
ทีใ่ ช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1.
2.
3.
4.
5.
แบบสอบถาม
แบบสั มภาษณ์
แบบสั งเกต
แบบบันทึกข้ อมูลจากเอกสาร
แบบทดสอบ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
แบบสอบถาม
เป็ นเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล ประกอบด้ วย
ชุ ดคาถามทีต่ ้ องการให้ กลุ่มตัวอย่ างตอบ โดยการกาเครื่องหมายหรือเขียนตอบ
เหมาะสาหรับถามเกีย่ วกับความคิดเห็น และข้ อเท็จจริง
ชนิดของแบบสอบถาม
1. ข้ อคาถามแบบปลายปิ ด
(Closed Form or Structured Questionnaire)
2. ข้ อคาถามแบบปลายเปิ ด
(Open – ended Form or Unstructured Questionnaire)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ข้ อดีของแบบสอบถาม
1. สร้ างได้ ง่าย สะดวก รวดเร็ว
2. วิเคราะห์ คาตอบได้ ง่าย
3. สามารถเก็บข้ อมูลได้ จานวนมากในเวลาอันรวดเร็ว
ข้ อจากัดของแบบสอบถาม
1. ใช้ ได้ กบั ผู้ทสี่ ามารถอ่ านออกเขียนได้
2. ไม่ สามารถถามประเด็นอืน่ ที่นอกเหนือจากข้ อคาถามได้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
แบบสั มภาษณ์
เป็ นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูลทีม่ ลี กั ษณะ
ผู้สัมภาษณ์ (Interviewer) ไปสอบถามข้ อมูลทีต่ ้ องการ
กับกลุ่มตัวอย่ างทีเ่ รียกว่ า ผู้ถูกสั มภาษณ์ (Interviewee)
ประเภทของการสัมภาษณ์
1. การสั มภาษณ์ แบบมีโครงสร้ าง
2. การสั มภาษณ์ แบบไม่ มีโครงสร้ าง
3. การสั มภาษณ์ แบบกึง่ โครงสร้ าง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ส่ วนประกอบของแบบสั มภาษณ์
1. ส่ วนแรก เป็ นส่ วนทีใ่ ช้ บันทึกข้ อมูลเกีย่ วกับการสั มภาษณ์
เช่ น ชื่อเรื่องการวิจยั วัน เดือน ปี
2. ส่ วนทีส่ อง เป็ นส่ วนทีใ่ ช้ บันทึกข้ อมูลรายละเอียด
ส่ วนบุคคลของผู้ให้ สัมภาษณ์
3. ส่ วนที่สาม เป็ นส่ วนที่เป็ นข้ อคาถามและทีจ่ ะเป็ นคาตอบ
ตามจุดมุ่งหมายของการสั มภาษณ์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
หลักการสั มภาษณ์
1. การเตรียมตัวสั มภาษณ์
2. ทาความเข้ าใจวัตถุประสงค์ ของการสั มภาษณ์ ให้ ชัดเจน
3. นัดหมายวัน เวลา สถานที่สัมภาษณ์ ล่วงหน้ า
4. เตรียมแบบสั มภาษณ์ ไว้ ล่วงหน้ าให้ เรียบร้ อย
5. ซักซ้ อมการตั้งคาถามรวมทั้งการจดบันทึกข้ อมูลล่ วงหน้ า
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ข้ อดีของการสัมภาษณ์
1. เป็ นเทคนิคทีใ่ ช้ เก็บรวบรวมข้ อมูลจากกลุ่มตัวอย่ างทุกวัย
ที่สามารถสื่ อสารได้
2. สามารถปรับคาถามให้ เข้ าใจได้ ง่ายขึน้ ได้ ทันทีที่ดาเนินการ
เก็บรวบรวมข้ อมูล
3. ผู้ให้ สัมภาษณ์ จะให้ ความร่ วมมือมากกว่ าวิธีการส่ งแบบสอบถาม
ข้ อจากัดของการสัมภาษณ์
1. ต้ องใช้ เวลาในการเก็บรวบรวมข้ อมูลมาก
2. การสั มภาษณ์ ต้องใช้ ค่าใช้ จ่ายมากเกีย่ วกับการเดินทางไปสั มภาษณ์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
แบบสั งเกต
การสั งเกตเป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูลสาหรับการวิจัยชนิดหนึ่ง
ทีผ่ ู้สังเกตการณ์ ใช้ สายตาเฝ้ าดูหรือศึกษาเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ต่างๆ
เพือ่ ให้ เข้ าใจลักษณะธรรมชาติมากทีส่ ุ ด แบบสั งเกตเป็ นเครื่องมือทีใ่ ช้
สาหรับบันทึกเหตุการณ์ หรือพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ และเกีย่ วข้ องกับการวิจัย
ประเภทของการสั งเกต
1. การสั งเกตทางตรง (Direct Observation)
เป็ นการสั งเกตทีผ่ ู้สังเกตสั มผัสกับเหตุการณ์ โดยตรงด้ วยตนเอง
2. การสั งเกตทางอ้ อม (Indirect Observation)
เป็ นการสั งเกตทีผ่ ู้สังเกต ไม่ ได้ เฝ้ าดูหรือศึกษาเหตุการณ์ โดยตรง
แต่ จะพิจารณาจากสิ่ งทีถ่ ูกบันทึกมา เช่ น ภาพถ่ าย เทปบันทึกภาพ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
วิธีการสั งเกต
1. การสั งเกตแบบมีส่วนร่ วม (Participant Observation)
เป็ นการสั งเกตทีผ่ ู้สังเกตมีฐานะเป็ นสมาชิกของกลุ่มทีศ่ ึกษา
ต้ องใช้ เวลาในการสั งเกตนานกว่ าจะได้ ข้อมูลทีแ่ ท้ จริง
เพราะต้ องเข้ าไปอยู่ในชุ มชนทีศ่ ึกษาจนกลุ่มทีศ่ ึกษานั้น
มีความรู้สึกไว้ วางใจในการให้ ข้อมูล
2. การสั งเกตแบบไม่ มีส่วนร่ วม (Non - Participant Observation)
เป็ นการสั งเกตทีผ่ ู้สังเกตทาการสั งเกต โดยไม่ ได้ เข้ าร่ วมกิจกรรม
ในเหตุการณ์ น้ันๆ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ชนิดของแบบสั งเกต
1. แบบสั งเกตชนิดมีโครงสร้ าง (Structured Observation)
การสั งเกตทีผ่ ู้สังเกตกาหนดเรื่องหรือประเด็นทีจ่ ะดาเนินการสั งเกต
ไว้ ก่อนล่วงหน้ าการสั งเกตแน่ นอนแล้ว
2. แบบสั งเกตชนิดไม่ มีโครงสร้ าง (Unstructured Observation)
การสั งเกตทีผ่ ู้สังเกตไม่ ได้ กาหนดเรื่องหรือประเด็นทีจ่ ะดาเนินการสั งเกต
ไว้ ก่อนล่วงหน้ าการสั งเกต
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
หลักการสั งเกต
1. มีเป้าหมายของการสั งเกตและระบุพฤติกรรมทีจ่ ะสั งเกตให้ ชัดเจน
2. ดาเนินการสั งเกตด้ วยความละเอียดถีถ่ ้ วน
3. ทาการบันทึกผลการสั งเกตภายหลังการสั งเกต โดยไม่ เว้ นช่ วง
ระยะเวลาไว้ นานเนื่องจากอาจลืม รายละเอียดที่สาคัญ
4. พยายามสั งเกตให้ ได้ ข้อมูลจานวนมาก
5. บางประเด็นอาจจะต้ องสั งเกตหลายๆ ครั้งจึงจะได้ ข้อมูลทีแ่ ท้ จริง
6. กาหนดระยะเวลาในการสั งเกตให้ แน่ นอน
7. วางตัวเป็ นกลางไม่ ลาเอียงในการสั งเกต
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
คุณสมบัติของผู้สังเกตทีด่ ี
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
มีความไวต่ อการรับรู้และสื่ อความหมาย
มีความรู้ในเรื่องทีส่ ั งเกตเป็ นอย่างดี
แปลความหมายของสิ่ งทีส่ ั งเกตได้ อย่างถูกต้ อง
บันทึกการสั งเกตได้ ตรงกับความเป็ นจริง
มีความละเอียดอ่อนและรอบคอบในการสั งเกต
เป็ นคนช่ างสั งเกต
มีความยุตธิ รรม
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
ข้ อดีของการสังเกต
1. ช่ วยให้ ได้ ข้อมูลทีไ่ ม่ สามารถรวบรวมโดยใช้ เครื่องมือ
หรือเทคนิคอย่ างอืน่
2. ช่ วยให้ ได้ ข้อมูลทีเ่ ป็ นตัวแทนของพฤติกรรม
ในสถานการณ์ ต่างๆ อย่ างแท้ จริง
3. สามารถบันทึกข้ อความจริงในระหว่ างทีเ่ กิดเหตุการณ์ น้ันได้
ข้ อจากัดของการสังเกต
1. การสั งเกตเป็ นกระบวนการเก็บรวบรวมข้ อมูลทีใ่ ช้ เวลานาน
2. การสั งเกตไม่ สามารถเก็บรวบรวมข้ อมูลทีไ่ ม่ เกิดขึน้
ในระหว่ างทีส่ ั งเกต
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
แบบทดสอบ
คือ ชุดของข้ อคาถามทีส่ ร้ างขึน้ เพือ่ เร้ าให้ ผ้ ูตอบ
เกิดการตอบสนองออกมา
ประเภทของแบบทดสอบ
1. แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ (Achievement Test)
2. แบบทดสอบวัดเชาว์ ปัญญาและความถนัด (Aptitude Test)
3. แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพและสั งคม (Personal – Social Test)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
คุณภาพของเครื่องมือ
1.
2.
3.
4.
5.
ความเที่ยงตรง (validity)
อานาจจาแนก (discrimination)
ความยาก (difficulty)
ความเชื่อมั่น (reliability)
ความเป็ นปรนัย (objectivity)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
1. ความเที่ยงตรง (validity)
ความสามารถของเครื่องมือวัดที่วดั สิ่ งที่ต้องการ
ได้ ตรงตามวัตถุประสงค์
1.1 ความเที่ยงตรงเชิงเนือ้ หา
1.2 ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้ าง
1.3 ความเที่ยงตรงเชิงเกณฑ์ สัมพันธ์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
2. อานาจจาแนก (discrimination)
เป็ นคุณสมบัตขิ องเครื่องมือวัดทีส่ ามารถ
จาแนกกลุ่มผู้ให้ ข้อมูลทีม่ คี ุณลักษณะทีศ่ ึกษา
แตกต่ างกันออกเป็ น 2 กลุ่ม
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
3. ความยาก (difficulty)
เป็ นคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องมือวัด
ทีเ่ ป็ นแบบทดสอบทุกประเภท บ่ งบอกว่ า
ข้ อสอบแต่ ละข้ อมีความยากมากน้ อยเพียงใด
ข้ อสอบที่ดีควรมีความยากปานกลาง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
4. ความเชื่อมั่น (reliability)
คุณสมบัตขิ องเครื่องมือวัด
ที่ให้ ผลการวัดคงเส้ นคงวา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
5. ความเป็ นปรนัย (objectivity)
เป็ นความชัดเจนของเครื่องมือวัด 3 ด้ าน
1. ความชัดเจนของคาถาม
2. ความชัดเจนของการตรวจให้ คะแนน
3. ความชัดเจนในการแปลความหมาย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การจัดกระทาข้ อมูล
ข้ อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ ถ้ ายังไม่ มีการจัดกระทาอย่ างใดอย่ างหนึ่ง
ข้ อมูลนั้นก็จะยังคงเป็ นเพียงข้ อมูลดิบ ให้ คาตอบปัญหาของการวิจัยไม่ ได้
ผู้วจิ ัยจะต้ องนาข้ อมูลนั้นมาจัดกระทาอย่ างใดอย่ างหนึ่งเสี ยก่อน
ตามความมุ่งหมายของการวิจัย
การจัดกระทาข้ อมูลหมายถึง กระบวนการทางานทีป่ ระกอบไปด้ วย
กิจกรรมสองอย่ าง คือ การวิเคราะห์ ข้อมูลและการแปลความหมาย
ผู้วจิ ัยจะต้ องมีความละเอียดอ่อนในการจัดกระทาข้ อมูล
จึงจะทาให้ ผลการวิจัยมีความน่ าเชื่อถือ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
กระบวนการวิเคราะห์ ข้อมูล
1. วิเคราะห์ วตั ถุประสงค์ ของการวิจยั ทาให้ ทราบว่ าต้ องดาเนินการ
วิเคราะห์ ข้อมูลอย่ างไร เพือ่ ให้ ตอบวัตถุประสงค์ การวิจยั
2. ตรวจสอบความถูกต้ องสมบูรณ์ ของข้ อมูล
3. จัดแยกประเภทข้ อมูลเพือ่ ให้ ง่ายและสะดวกในการวิเคราะห์ ข้อมูล
4. เลือกใช้ เทคนิควิธีการวิเคราะห์ ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ให้ เหมาะสมและสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ การวิจยั
5. ดาเนินการวิเคราะห์ ข้อมูลและสรุปผล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การแปลผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
การแปลผลการวิเคราะห์ ข้อมูลมีความสาคัญมากเพราะเป็ นขั้นตอน
ทีจ่ ะนาไปสู่ การสรุปผลการวิจัย มีหลักการดังนี้
1. พิจารณาตัวเลขและค่ าสถิติต่างๆ ที่คานวณได้ ว่าหมายถึงอะไร
มีขอบเขตแค่ ไหน ตอบคาถามอะไร
2. การแปลความหมายต้ องยึดหลักให้ สอดคล้องกับข้ อจากัดของข้ อมูล
และสถิติทใี่ ช้
3. แปลความหมายให้ อยู่ในขอบเขตของการวิจัยและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย
ของการวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
4. การแปลความหมายต้ องพิจารณาว่ า ผลทีไ่ ด้ น้ันพาดพิงถึงสิ่ งใด
ควรแปลผลการวิเคราะห์ ข้อมูลไปในเชิงสร้ างสรรค์ ทไี่ ม่ ก่อให้ เกิด
ความเสี ยหายต่ อบุคคลหรือองค์ กร
5. การแปลผลการวิเคราะห์ ข้อมูลต้ องใช้ ภาษาทีช่ ัดเจน รัดกุม กะทัดรัด
6. ไม่ แปลเกินขอบเขตของข้ อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมาได้
7. ระวังการใช้ หลักเหตุผลทีไ่ ม่ สมเหตุสมผล
8. แปลความหมายด้ วยความยุตธิ รรมไม่ ลาเอียง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การสรุปผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
1. สรุปให้ สอดคล้ องกับความมุ่งหมายของการวิจัย
2. สรุปให้ อยู่ในขอบเขตของผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
3. การสรุปผลต้ องตั้งอยู่บนรากฐานของหลักฐานต่ างๆ
4. การสรุปผลต้ องอาศัยเหตุผลทีผ่ ่ านการคิดใคร่ ครวญ
อย่ างรอบคอบตามหลักการให้ เหตุผลทางวิทยาศาสตร์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
การเขียนรายงานการวิจัยเป็ นการถ่ ายทอด
องค์ ความรู้ จากการทาวิจยั
เพือ่ ให้ บุคคลอืน่ สามารถนาผลการวิจยั
ไปใช้ ประโยชน์ ได้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
จุดม่ ุงหมายของการเขียนรายงานการวิจยั
เพือ่ เผยแพร่ ผลการวิจยั ฉบับสมบูรณ์
หรือเผยแพร่ ในลักษณะบทความวิจัย
เพือ่ นาเสนอทีส่ ั มมนาวิชาการ
หรือการสั มมนาการวิจัย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
รายงานการวิจัยทีม่ คี ุณภาพ
1. มีความสอดคล้ องกันระหว่ างวัตถุประสงค์
วิธีดาเนินการวิจัย และผลการวิจัย
2. ความชัดเจนของวิธีดาเนินการวิจัย
วัน เวลา สถานที่ บุคคล ชัดเจนตรวจสอบได้
3. การอภิปรายผลทีม่ ีความสมเหตุสมผล
4. การอ้ างอิงและบรรณานุกรมมีความถูกต้ อง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2558
Thank You
I’ll see you again
Keep Going
http://www.curriculumandlearning.com