การออกแบบการวิจัย

Download Report

Transcript การออกแบบการวิจัย

Slide 1

ดร. ไพศาล

ก า ญ จ น ว ง ศ์


Slide 2

ความหมายทัว่ ไป
การออกแบบงานวิจัย หมายถึง การจากัดขอบเขตและ
วางรู ปแบบการวิจัยเพื่อให้ ได้ มาซึ่งคาตอบที่
เหมาะสมกับปั ญหาที่วจิ ัย ผลจากการออกแบบวิจัย
ทาให้ ได้ ตัวแบบที่เรียกว่ า แบบการวิจัย ซึ่งเปรียบ
เหมือนพิมพ์ เขียวของการวิจัย


Slide 3

แบบการวิจัย และ เค้าโครงการวิจัย
เค้ าโครงการวิจัย หมายถึง รายละเอียดของขัน้ ตอน
ต่ างๆ ของการทาวิจัย ซึ่งเริ่มตัง้ แต่ ปัญหาการวิจัย
จนถึงการเก็บรวบรวมข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูล
ทาให้ ช่วยผู้วจิ ัยสามารถดาเนินงานวิจัยให้ สาเร็จ
ลุล่วงได้ แต่ มิได้ รับประกันว่ าผลที่ได้ จะถูกต้ องเม่ น
ยา


Slide 4

สรุปความหมายของการออกแบบวิจัย
การกาหนดรูปแบบของการจัดกระทากับตัวแปรอิสระ
ที่ต้องการศึกษา การควบคุมอิทธิพลของตัวแปรเกิน
รวมถึงวิธีการวัดค่ าตัวแปรที่เป็ นผลมาจากการ
กระทาของตัวแปรอิสระนัน้ ๆ


Slide 5


Slide 6

วิธีการวัด

ปัจจัยที่ทาให้การเรี ยนวิชาวิจยั ให้ได้ A
ตั้ งใจเรี ยน
เวลาเรี ยน
ส่ งงานครบ

ทาข้อสอบได้

ระยะเวลาเดินทาง

เรี ยนได้
A


Slide 7

วัตถุประสงค์ของการออกแบบการวิจัย
1. เพื่อให้ ได้ คาตอบที่ทาการวิจัยอย่ างถูกต้ อง แม่ นยา
เป็ นปรนัยและด้ วยวิธีการที่ประหยัดที่สุด
2. เพื่อควบคุมหรื อขจัดอิทธิพลของตัวแปรเกินหรื อตัว
แปรแทรกซ้ อนที่จะส่ งผลมารบกวนการทดลองทา
ให้ ผลการวัดค่ าตัวแปรตามคลาดเคลื่อนไป ผลการ
ควบคุมจะทาให้ สามารถสรุ ปได้ ว่า ตัวแปรตามนั น้ เกิด
จากตัวแปรอิสระที่ศึกษาจริงหรื อไม่


Slide 8

ประโยชน์ของแบบการวิจัย
ช่ วยทาให้ ผ้ ูวิจัยสามารถวางแผนควบคุมตัวแปรเกินหรื อตัวแปรแทรกซ้ อนได้

ช่ วยในการกาหนดและสร้ างเครื่ องมือเพื่อเก็บรวบรวมข้ อมูล
ช่ วยให้ ผ้ ูวิจัยสามารถเลือกใช้ วิธีการทางสถิติท่ เี หมาะสมในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้
ช่ วยในการประเมินเกี่ยวกับงบประมาณ แรงงานและระยะเวลาในการทาวิจัย
ช่ วยในการประเมินผลวิจัยที่ได้ ว่ามีความถูกต้ องเชื่อถือได้ มากน้ อยเพียงใด


Slide 9

ประสิทธิ ภาพของการออกแบบการวิจัย
1. ความแม่ นยา (Accuracy)
2. ความประหยัด (Economy)
3. ความถูกต้ อง (Validity)


Slide 10

หลักเกณฑ์ที่เป็ นข้อพิจารณา
ประสิทธิ ภาพของการออกแบบการวิจัย

1. หลัก Max : Maximization of Systematic Variance
2. หลัก Min : Minimization of Systematic Variance
3. หลัก Con : Control of Extraneous Systematic
Variance

Max-Min-Con


Slide 11

Max : Maximization of Systematic Variance
หมายถึง การเพิ่มค่ าความแปรปรวนของตัวแปรอิสระให้ มี
ค่ าสูงสุด หรือค่ าของตัวแปรอิสระที่ต้องการศึกษาให้ มี
ความแตกต่ างกันมากที่สุด เพื่อที่สามารถวัดและสังเกตได้
ชัดเจนแน่ นอน

เช่น การศึกษาวิธีการสอน 2 วิธี ว่าวิธีไหนทาให้
นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนดีกว่ากัน


Slide 12

Min : Minimization of Systematic Variance
หมายถึง การลดค่ าความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อน
ต่ างๆ ให้ มีค่าน้ อยที่สุด โดยความคลาดเคลื่อนดังกล่ าวอาจ
เกิดจากหน่ วยที่ศึกษา เช่ น เพศ อายุ ระดับการศึกษา เชือ้
ชาติ จะต้ องมีการควบคุมให้ มีความแตกต่ างกันน้ อยที่สุด

เช่น การศึกษาวิธีการสอน 2 วิธี ว่าวิธีไหนทาให้
นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนดีกว่ากัน


Slide 13

ลักษณะการเกิดความคลาดเคลื่อน
ความคลาดเคลื่อนอย่ างสุ่ม (random error) เกิดจากความไม่ เท่ าเทียมกันของโอกาสอันเกิดขึน้ ของตัวแปรแทรกซ้ อน ที่มักจะ
เป็ นตัวแปรจากภายในกลุ่มตัวอย่ าง เช่ น เพศ อายุ
ความคลาดเคลื่อนอย่ างมีระบบ (systematic error) เป็ นความคลาดเคลื่อนที่มีผลต่ อกลุ่มตัวอย่ างโดยเท่ าเทียมกัน ได้ แก่
เครื่ องมือ หรื อจากผู้ใช้ เครื่ องมือ


Slide 14

Con : Control of Extraneous Systematic Variance
หมายถึง การควบคุมค่ าความแปรปรวนของตัวแปรเกินที่อาจ
ส่ งผลกระทบต่ อการทดลองให้ มีน้อยที่สุด

การสุ่ ม

การเพิ่มตัวแปร

การกาจัดตัวแปรออก
การออกแบบวิจยั
การจับคู่

การใช้เทคนิคทางสถิติ การใช้เครื่ องจักรกล


Slide 15

คุณภาพงานวิจยั
• ความตรงภายใน (Internal Validity)
• ความตรงภายนอก (External Validity)


Slide 16

ความเที่ยงตรงภายใน (INTERNAL
VALIDITY)
ความเที่ยงตรงที่เกิดจากการดาเนินการทดลอง หรือการ
ดาเนินการศึกษาโดยตรง หรือ
แบบการวิจัยที่ทาให้ ผลการวิจัยที่ได้ เกิดจากการกระทาของ
ตัวแปรอิสระที่ศึกษาโดยตรงไม่ มีตัวแปรอื่นหรื อ
เหตุการณ์ อ่ นื แทรกซ้ อนเข้ ามา


Slide 17

องค์ประกอบที่ทาให้การวิจัยขาดความเที่ยงตรงใน

1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

ประวัตขิ องกลุ่มตัวอย่ าง (History) : ความแตกต่ างกันมาก
วุฒภิ าวะ (Maturation) : เวลาทดลองนานเกินไป
ทักษะในการสอบวัด (testing) : คุ้นเคยก่ อนและหลัง
เครื่องมือที่ใช้ วัด (Instrumentation) : ตัวเครื่องมือและผู้ใช้
การถดถอยทางสถิติ (Statistical regression) : คะแนนสูง->ต่า
การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่ าง (Selection) : เลือกกลุ่มไม่ ดีและ กลุ่ม
เปรียบเทียบไม่ เหมาะสม
การขาดหายไปของกลุ่มตัวอย่ าง (Experimental mortality) :
ตาย
ผลของปฏิสัมพันธ์ ขององค์ ประกอบต่ างๆ (Interaction effect) :
เช่ นการทดสอบ กับ เครื่องมือ


Slide 18

ความเที่ยงตรงภายนอก (EXTERNAL
VALIDITY)
ความเที่ยงตรงของแบบการวิจัยหรือแบบแผนการทดลองที่
ผลสรุ ปจากการวิจัยที่ความเชื่อถือได้ สามารถอ้ างอิง
(Generalization) ไปสู่มวลประชากรตามเป้าหมาย (target
population) ได้


Slide 19

ประชากร

ตัวอย่าง


Slide 20

ประชากร

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

(Generalization)


Slide 21

องค์ประกอบที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อน
ภายนอก
1.

2.

3.
4.

ปฏิกริ ิยาร่ วมระหว่ างการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่ างกับตัวแปรทดลอง : กลุ่ม
ตัวอย่ างที่เลือกมาไม่ เป็ นตัวแทนที่ดี และตัวแปรทดลองที่เลือกมาศึกษา
ไม่ เหมาะสม
ปฏิกิริยาร่ วมระหว่ างการสอบครั ง้ แรก กับตัวแปรทดลอง : การสอบครั ง้
แรกจะมีผลทาให้ กลุ่มตัวอย่ างเกิดความจาข้ อความได้ เมื่อนามาทดลอง
และทดสอบใหม่ อาจจาได้
ปฏิกริ ิยาเนื่องจากการจัดสภาพของการทดลอง ทาให้ พฤติกรรม
เปลี่ยนแปลงไป
ผลร่ วมของการได้ รับตัวแปรทดลองหลายๆ ตัวติดต่ อกัน ทาให้ ผลสรุ ป
เปรี ยบเทียบไม่ ชัดเจน