ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง

Download Report

Transcript ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง

ประชากรและการสุ่ มตัวอย่าง
ในงานวิจยั ด้านการท่องเที่ยว
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์
เนือ้ หา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ความหมายของประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เหตุผลของการมีกลุ่มตัวอย่าง
เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่ มตัวอย่าง
วิธีการสุ่ มตัวอย่าง
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
ความหมายของประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
•
•
ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของสิ่ งมีชีวติ หรื อไม่มี
ชีวติ ใดๆ ที่นามาศึกษา มีคุณลักษณะร่ วมกัน เช่น นักศึกษา
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ประเภทของประชากรมี 2 ประเภทได้แก่
1. ประชากรที่มีจากัด หมายถึง ประชากรที่สามารถนับจานวนได้
ครบถ้วน
2. ประชากรที่มีจานวนไม่จากัด หมายถึง ประชากรที่ไม่สามารถนับ
จานวนได้ครบถ้วน
ความหมายของประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
•
กลุ่มตัวอย่าง (sample) หมายถึง บางส่ วนของประชาการที่
ผูว้ จิ ยั เลือกขึ้นมาเป็ นตัวแทนในการศึกษา
หมายถึง การมีคุณสมบัติต่างๆ
ครบถ้วน เท่าเทียมกัน
เหตุผลของการมีกล่ มุ ตัวอย่ าง
• ค่าใช้จ่าย
• เวลา และแรงงาน
• สะดวก
• ความถูกต้องเม่นยาและเชื่อมัน่
• ความลึกซึ้ง
เทคนิคการเลือกกล่ มุ ตัวอย่ าง
1. การเลือกโดยไม่ใช้หลักทฤษฏีความน่าจะเป็ น (non
probability sampling)
2. การเลือกโดยใช้หลักทฤษฏีความน่าจะเป็ น (probability
sampling)
1. การเลือกโดยไม่ ใช้ หลักทฤษฏีความน่ าจะเป็ น (non
probability sampling)
1. โดยความบังเอิญ (Accidental Sampling) จากสมาชิกของกลุ่ม
ประชากรเป้ าหมายเท่าที่จะหาได้
2. แบบโควต้ า หรือโดยกาหนดสั ดส่ วน (Quota Sampling) เป็ นกลุ่ม
ตัวอย่างโดยจาแนกประชากรออกเป็ นส่ วน ๆ ตามระดับของตัว
แปรที่จะรวบรวม
3. อย่ างเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เป็ นตัวอย่างโดยใช้
ดุลยพินิจของผูว้ ิจยั ในการกาหนดสมาชิก ของกลุ่มประชากรที่จะ
มาเป็ นสมาชิกในกลุ่มตัวอย่าง
4. แบบใช้ ความสะดวก (Accessible Sampling) เป็ นตัวอย่างโดย
ถือเอาความสะดวกหรื อง่ายต่อการรวบรวมข้อมูลเป็ นสาคัญ
ข้อจากัดแบบ non-pob.
• ข้อจากัดของการสุ่ มตัวอย่างที่ไม่คานึงถึงความน่าจะเป็ นในการ
สุ่ ม
1. ผลการวิจยั ที่ได้ไม่สามารถสรุ ปอ้างอิงไปสู่ กลุ่มประชากร
ทั้งหมดได้อย่างสมบูรณ์
2. กลุ่มตัวอย่างที่ได้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั การตัดสิ นใจของผูว้ ิจยั
และองค์ประกอบบางตัวที่ ไม่สามารถควบคุมได้ และไม่มี
วิธีการทางสถิติใดที่จะมาคานวณค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก
การสุ่ ม (Sampling error)
2. การเลือกโดยใช้ หลักทฤษฏีความน่ าจะเป็ น (probability
sampling)
1. การสุ่ มตัวอย่ างแบบง่ าย (Simple random Sampling) การสุ่ ม
ตัวอย่างโดยวิธีน้ ีสมาชิกของกลุ่มประชากรทุก ๆ หน่วยมีโอกาส
เท่า ๆ กัน และเป็ นอิสระต่อกัน ได้แก่ จับฉลาก ใช้ตารางเลขสุ่ ม
2. การสุ่ มตัวอย่ างแบบมีระบบ (Systematic Sampling) เป็ นเทคนิค
การสุ่ มตัวอย่าง ที่ง่ายกว่าการสุ่ มตัวอย่างแบบง่าย การสุ่ มตัวอย่าง
แบบมีระบบนี้ต่างจากการสุ่ มแบบง่ายที่วา่ สมาชิกแต่ละหน่วยที่
ได้รับเลือกไม่ได้เป็ นอิสระต่อกันอย่างแท้จริ งเหมือนกับการสุ่ ม
แบบง่าย
2.
การเลือกโดยใช้ หลักทฤษฏีความน่ าจะเป็ น (probability sampling)
(ต่ อ)
3. การสุ่ มตัวอย่ างแบบแบ่ งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) คือ
แบ่งกลุ่มประชากรออกเป็ นชั้นย่อย ๆ (Strata) เสี ยก่อนโดยมีหลัก
ในการจัดแบ่งชั้นภูมิให้ภายในชั้นภูมิแต่ละชั้นมีความเป็ น เอก
พันธ์ (Homogeneous) หรื อมีลกั ษณะที่เหมือนกันให้มากที่สุด
เท่าที่จะทาได้ แต่ระหว่างชั้นภูมิให้มีความเป็ นวิวิธพันธ์
(Heterogeneous) หรื อมีความแตกต่างกันให้มากที่สุดเท่าที่จะทา
ได้ และหลังจากที่จดั แบ่งชั้นภูมิเรี ยบร้อยแล้วจึงสุ่ มตัวอย่างจากแต่
ละชั้นภูมิ
4. การสุ่ มตัวอย่ างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) คือวิธีการสุ่ ม
ตัวอย่างที่หน่วยของกลุ่มคือกลุ่มของสมาชิกของกลุ่มประชากร มี
หลักคือ ให้สมาชิกภายในกลุ่มแต่ละกลุ่มมีลกั ษณะของความเป็ น
วิวิธพันธ์ หรื อมีลกั ษณะหลากหลาย และให้ระหว่างกลุ่มมีลกั ษณะ
เป็ นเอกพันธ์
2.
การเลือกโดยใช้ หลักทฤษฏีความน่ าจะเป็ น (probability sampling)
(ต่ อ)
5. การสุ่ มตัวอย่ างแบบหลายขั้น (Multistage sampling) เป็ นการสุ่ ม
ตัวอย่างที่ประกอบด้วยหลายขั้นตอน โดยเริ่ มจากกลุ่มประชากร
มาจนถึงขั้นของการเลือกสมาชิกเข้าสู่กลุ่มตัวอย่าง เทคนิคการสุ่ ม
ตัวอย่างที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนนั้นอาจจะเหมือนกันหรื อต่างกันก็ได้
การส่ ุ มตัวอย่ าง (random sampling)
• หมายถึง การเลือกตัวอย่างเพื่อมาเป็ นตัวแทนในการศึกษาโดย
สมาชิกของกลุ่มตัวอย่างที่เลือกขึ้นมานั้นมีโอกาสได้รับเลือก
เท่าๆ กัน
ขั้นตอนการส่ ุ มตัวอย่ าง
การสุ่ มตัวอย่างประกอบด้วย 7 ขั้นตอนคือ
1. วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของการวิจยั
2. ให้คาจากัดความของประชาการ
3. กาหนดหน่วยของตัวอย่าง
4. กาหนดขอบเขตของประชากร
5. ประมาณขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
6. กาหนดวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
7. ได้กลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดเหมาะสม
ขนาดของกล่ มุ ตัวอย่ าง
• ขนาดเท่าไหร่ จึงจะเหมาะสม ?
ขนาดของกล่ มุ ตัวอย่ าง
ความผิดพลาด
ถ้ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็ก ความผิดพลาดจะมีมาก
ถ้ากลุ่มตัวอย่างใหญ่ ความผิดพลาดจะน้อย
มาก
จุดที่ขนาดของกลุ่มตัวอย่างไม่มีผล
ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
น้อย
เล็ก
ใหญ่
ขนาดของกล่ มุ ตัวอย่ าง
• ดังนั้นใช้ขนาดใหญ่ไว้ก่อนเพื่อให้เกิดความเม่นยาในการวิจยั แต่
ทั้งนี้อาจมีองค์ประกอบต่อไปนี้
– กาหนดระดับความถูกต้องเม่นยา
– ขอบเขตของประชากร
– การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของประชากร และวิธีการทางสถิติที่ใช้
– วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
– ประเภทของงานวิจยั
– อื่นๆ เงิน เวลาและบุคลากร
ขนาดของกล่ มุ ตัวอย่ าง
1. ใช้ เกณฑ์ จานวนประชากร ใช้วธิ ีการประมาณการตาม
จานวนประชากร
2. ใช้ สูตรคานวน ใช้ในการคานวนหาขนาดกลุ่มตัวอย่าง
ตามสูตรทางสถิติ
3. ใช้ ตารางสาเร็จ ใช้ตารางสาเร็ จที่คานวณได้จากสูตร
เช่น ตารางของเครซี่ และมอร์แกน(R.V.Krejcie &
D.W.Morgan)
ขนาดของกล่ มุ ตัวอย่ าง
1. ใช้เกณฑ์จานวน
ประชากร ใช้วิธีการ 100-200
ประมาณการตาม 300-400
จานวนประชากร 500-700
ขนาด
ขนาดกลุ่ม
ประชากร(N) ตัวอย่ าง(n)
ขนาด
ขนาดกลุ่ม
ประชากร(N) ตัวอย่ าง(n)
80%
5000-6000
8%
60%
7000-10000
6%
45%
15000-20000 3%
1000-1500
30%
30000-50000 2%
2000-2500
20%
70000ขึน้ ไป
3000-4000
15%
.5%
2. การใช้สูตรในการคานวณ
n =
N
1+Ne2
e คือความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นในรู ปของสัดส่ วน
ตัวอย่ าง ถ้ าประชากรที่ศึกษามี 1,800 คน และต้ องการให้ เกิดความคลาดเคลื่อน
ในการสุ่มตัวอย่ างร้ อยละ 5 ขนาดของกลุ่มตัวอย่ างควรเป็ นเท่ าไร
n =
N
1+Ne2
= 1,800
= 327
1+1,800(.05) 2
จะต้ องเลือกตัวอย่าง 327 คน
ตัวอย่ าง ในการสารวจความคิดเห็นของนิสิตคณะครุ ศาสตร์ ท่ ีมีต่อ
วิชาชีพครู ถ้ าต้ องการให้ เกิดความผิดพลาด 2% ที่ระดับความเชื่อมั่น
90% ควรสอบถามนิสติ คณะครุ ศาสตร์ ก่ ีคน
e = 0.02 Z = 1.645
n
=
Z2
4 e2
= (1.645) 2
4 (0.02) 2
จะต้องสอบถามจากนิสิต
1691
=
คน
1691.265
3. ใช้ตารางสาเร็ จ ใช้ตารางสาเร็ จที่คานวณได้จากสูตร เช่น ตารางของ
เครซี่และมอร์แกน(R.V.Krejcie & D.W.Morgan)
N
10
15
20
25
30
35
40
45
50
55
60
65
70
75
80
85
90
95
100
110
s
10
14
19
24
28
32
36
40
44
48
52
56
59
63
66
70
73
76
80
86
N
s
N
120
130
140
150
160
170
180
190
200
210
220
230
240
250
260
270
280
290
300
320
92
97
103
108
113
118
123
127
132
135
140
144
148
152
155
159
162
165
169
175
340
360
380
400
420
440
460
480
500
550
600
650
700
750
800
850
900
950
1000
1100
1200
……
s
181
186
191
196
201
205
210
214
217
226
234
242
248
254
260
265
269
274
278
285
291
….
N
2000
2200
2400
2600
2800
3000
3500
4000
4500
5000
6000
7000
8000
9000
10000
15000
20000
30000
40000
50000
75000
1000000
s
322
328
331
335
338
341
347
350
354
357
361
364
367
368
370
375
377
379
380
381
382
384
ลักษณะของกล่ มุ ตัวอย่ างทีด่ ี
• มีคุณลักษณะสอดคล้องครอบคลุมคุณลักษณะทุกประการของประชากร
• ขนาดพอเหมาะ