สิ่งคุกคามสุขภาพ ดร.สร้อยสุดา เกสรทอง ส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

Download Report

Transcript สิ่งคุกคามสุขภาพ ดร.สร้อยสุดา เกสรทอง ส านักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

สิ่ งคุกคามสุ ขภาพ
ดร.สร้อยสุ ดา เกสรทอง
สานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่ งแวดล้อม
สิ่ งคุกคามสุ ขภาพ (Hazard)
หมายถึง
สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ที่มีศกั ยภาพที่จะก่อให้เกิดอันตรายได้
สิ่ งนั้นอาจเป็ นสารเคมี เครื่ องจักร ความร้อน ลักษณะการ
ทางาน หรื อสภาพแวดล้อมการทางาน
 อันตรายที่เกิดขึ้น รวมถึงการเสี ยชีวติ ทุพลภาพ หรื อ
การเจ็บป่ วยทางกายหรื อทางจิตใจ

ประเภทของสิ่ งคุกคาม






สิ่ งคุกคามทางกายภาพ
สิ่ งคุกคามทางเคมี
สิ่ งคุกคามทางชีวภาพ
สิ่ งคุกคามทางการยศาสตร์
สิ่ งคุกคามทางจิตวิทยาสังคม
คุณภาพอากาศภายในอาคาร
การประเมินความเสี่ ยง
(Risk Assessment)
ความเสี่ ยง (Risk)
ความเป็ นไปได้ หรื อโอกาสที่สิ่งคุกคามแสดงความ
เป็ นอันตราย ตั้งแต่ระดับเล็กน้อย จนถึงมีความ
รุ นแรงถึงขั้นเสี ยชีวติ ได้
ระดับของความเสี่ ยงขึ้นอยูก่ บั
 โอกาสที่สิ่งคุกคามจะทาให้เกิดอันตราย
 ความรุ นแรงของอันตรายที่จะเกิดขึ้น
 จานวนคนที่อาจได้รับผลกระทบ
หลีกเลี่ยง
(Avoid)
ความเสี่ ยง
(Risk)
ป้องกัน
(Prevent)
ยอมรับได้
(Accept)
ยังให้มีได้
(Retain)
ควบคุม
(Control)
ลด
(Mitigate)
ประโยชน์จากการประเมินความเสี่ ยง
 เพื่อทราบว่าในสถานที่ทางาน/แผนกนั้นๆ มีโอกาสที่สิ่งคุกคามในเรื่ อง
ต่างๆจะก่อให้เกิดอันตรายได้มากน้อยเพียงใด
 นาไปสู่ การพิจารณาที่จะดาเนิ นการใดๆ เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ ยงนั้นได้
อย่างเหมาะสม
ทาไมจึงต้องทาการประเมินความเสี่ ยง
 สิ่ งคุกคามมีมากกว่าหนึ่งชนิด
 มีความตระหนักถึงผลกระทบต่อสุ ขภาพที่เกิดจาก
สิ่ งคุกคามหลายๆชนิด
 มีขอ้ มูลการสัมผัส และระดับของปั ญหาสุ ขภาพที่
ไม่ชดั เจน
การประเมินความเสี่ ยง เป็ นการรวบรวมข้อมูลเพื่อ
 เป็ นการประมาณค่าความเสี่ ยง ณ เวลาปั จจุบน
ั และแนวโน้มที่
จะมีในอนาคต
 ประเมินความเสี่ ยงใหม่ๆ
 ประเมินความเสี่ ยงที่หลากหลายแตกต่างกัน
 ระบุ และเปรี ยบเทียบปั จจัยต่างๆ ที่มีผลต่อระดับความเสี่ ยงที่
เกิดขึ้น
 จัดลาดับความเสี่ ยง
 เป็ นข้อมูลที่ให้ผบ
ู ้ ริ หารตัดสิ นใจ สาหรับการแก้ไขปัญหา
Risk assessment-Risk management model
Issue Identification
Hazard Assessment
- Hazard Identification
- Dose-response Assessment
Review
And
Reality check
Exposure Assessment
Risk Characterisation
Risk Management
Review
And
Reality check
Issue Identification
ประกอบด้วยหลายขั้นตอนดังนี้
o ระบุสิ่งคุกคามที่มีผลกระทบต่อสุ ขภาพ
o ระบุถึงปั จจัยอื่นๆที่จะส่ งผลสนับสนุนต่อความเป็ นอันตราย
ของสิ่ งคุกคาม
o ระบุได้วา่ ทาไมการประเมินความเสี่ ยงจาเป็ นต้องทา
Risk assessment-Risk management model
Issue Identification
Hazard Assessment
- Hazard Identification
- Dose-response Assessment
Review
And
Reality check
Exposure Assessment
Risk Characterisation
Risk Management
Review
And
Reality check
Hazard Assessment
Hazard Identification
 การระบุถึงประเภทของผลกระทบต่อสุ ขภาพที่เกิดจากสิ่ง
คุกคาม โดยใช้ขอ้ มูลทางพิษวิทยา ระบาดวิทยา
Dose response Assessment
 การระบุความสัมพันธ์ระหว่างระดับของการรับสัมผัสต่อ
สารเคมี กับ อุบตั ิการณ์หรื อความรุ นแรงของผลกระทบต่อ
สุ ขภาพ โดยใช้ขอ้ มูลทางพิษวิทยา ทั้งในเชิงปริ มาณและคุณภาพ
Exposure Assessment
 เป็ นการประมาณการ (ทั้งในเชิงคุณภาพและปริ มาณ) ถึง
ขนาด ความถี่ ระยะเวลา เส้นทาง ของการรับสัมผัสจาก
สิ่ งคุกคาม 1 ชนิด หรื อมากกว่า ในประชากรทั้งหมด หรื อ
เฉพาะกลุ่ม หรื อ แต่ละบุคคล
Exposure Assessment
Approaches
Indirect Methods
Direct Methods
Personal
Monitoring
Biological
Monitoring
Env.
Monitoring
Models
Questionnaires
Pharmacokinetics
Pharmacodynamic
Models
Exposure Models
Migration
Measures
Exposure Estimates
Diaries
Risk assessment-Risk management model
Issue Identification
Hazard Assessment
- Hazard Identification
- Dose-response Assessment
Review
And
Reality check
Exposure Assessment
Risk Characterisation
Risk Management
Review
And
Reality check
Risk Characterisation
เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายในกระบวนการประเมินความเสี่ ยง
o รวบรวมข้อมูลจากการประเมินสิ่ งคุกคาม และการประเมิน
การรับสัมผัส
o อธิ บายความเสี่ ยงที่เกิดขึ้นต่อบุคคล และประชากรกลุ่ม
ต่างๆ ในลักษณะของธรรมชาติ และความรุ นแรงของ
ผลกระทบต่อสุ ขภาพ
o สื่ อสารการประเมินความเสี่ ยงต่อผูบ
้ ริ หาร แลกเปลี่ยนองค์
ความรู ้กบั ผูเ้ ชี่ยวชาญ
Risk assessment-Risk management model
Issue Identification
Hazard Assessment
- Hazard Identification
- Dose-response Assessment
Review
And
Reality check
Exposure Assessment
Risk Characterisation
Risk Management
Review
And
Reality check
Risk Management
 เป็ นกระบวนการประเมินทางเลือกของการแก้ไขปั ญหาที่
ได้จากการประเมินความเสี่ ยง
 การตัดสิ นใจจะขึ้นกับข้อมูลหลายๆด้านประกอบกัน ได้แก่
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ เป็ นต้น
การประเมินความเสี่ ยงอย่างง่าย
โดยใช้แบบประเมินความเสี่ ยง
ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ ยงและจัดการความเสี่ ยง
การเตรี ยมการ
การระบุสิ่งคุกคาม
ประมาณค่าโอกาสเสี่ ยง
ประมาณค่าความรุ นแรง
จานวนคนที่ได้รับผลกระทบ
การจัดระดับความเสี่ ยง
การจัดระดับความเสี่ ยง
การจัดระดับความเสี่ ยง
การจัดระดับความเสี่ ยง
ไม่ได้
ได้
ความเสี่ ยงยอมรับ
ได้หรื อไม่
ดาเนินการต่อไป
พร้อมกับความเสี่ ยงที่มีผยู่
ระดับความเสี่ ยงที่เกิดขึ้น
พิจารณาได้จากองค์ประกอบ
 ความรุ นแรงของความเป็ นอันตราย
 โอกาส/ความเป็ นไปได้ของการเกิดอันตราย
ระดับความเป็ นอันตราย
ความรุ นแรง
รายละเอียด
เล็กน้อย
(1)
ไม่มีการบาดเจ็บ, บาดเจ็บที่ปฐมพยาบาลเบื้องต้น (รวมถึง แผลที่ถูกของมีคม
บาด, แผลถลอกเล็กน้อย, ระคายเคือง, การเจ็บป่ วยแบบเกิดอาการไม่สบายกาย
เพียงชัว่ คราว)
ปานกลาง
(2)
การบาดเจ็บ/ป่ วยที่ตอ้ งรักษา มีผลทาให้อวัยวะบางส่ วนไม่สามารถทาหน้าที่ได้
เหมือนเดิม หรื อสู ญเสี ยประสิ ทธิภาพการทางาน (รวมถึง บาดแผลฉี กขาด แผล
ไฟไหม้ เคล็ดขัดยอก กระดูกหักเล็กน้อย แขนส่ วนบนผิดปกติ ผิวหนังอักเสบ
หูหนวก)
เสี ยชีวติ , บาดเจ็บรุ นแรง หรื อเกิดโรคที่เป็ นแล้วมีโอกาสเสี ยชีวติ (รวมถึง
พิการ กระดูกหักมาก มะเร็งที่เกิดจากการทางาน โรคที่เกิดขึ้นแบบเฉี ยบพลัน
และถึงแก่ชีวติ )
มาก
(3)
การจัดระดับโอกาส
โอกาส
รายละเอียด
เกิดได้นอ้ ยมาก แทบจะไม่มีโอกาสเกิด หรื อคาดว่าเกิดขึ้นน้อยมาก เนื่องจากผูป้ ฏิบตั ิงานได้
ปฏิบตั ิตามขั้นตอนการทางานที่ปลอดภัยอย่างเคร่ งครัด หรื อมีมาตรการ
(1)
ป้องกันควบคุมที่เหมาะสม
เกิดได้บางครั้ง/ เป็ นไปได้ที่จะเกิดขึ้น เนื่องจากผูป้ ฏิบตั ิงานบางคนไปปฏิบตั ิตามขั้นตอนการ
ทางานที่ปลอดภัย หรื อมาตรการในการป้องกันควบคุมมีขอ้ บกพร่ อง หรื อยัง
ปานกลาง
ไม่มนั่ ใจถึงประสิ ทธิภาพในการป้องกันควบคุม
(2)
เกิดขึ้นบ่อยครั้ง/
มาก
(3)
เป็ นที่ทราบว่าอันตรายเกิดขึ้นบ่อย หรื อมีสถิติการเจ็บป่ วย/อุบตั ิเหตุเกิดขึ้น
หรื อเกิดขึ้นกับคนจานวนมาก หรื อเกือบจะเกิดอุบตั ิเหตุ (Near miss) บ่อยมาก
แม้ยงั ไม่เห็นความสู ญเสี ยที่แท้จริ ง แต่มีแนวโน้มที่จะเกิด ทาให้เสี ยขวัญ
กาลังใจในการทางาน
การกาหนดค่าความเสี่ ยง
ความเสี่ ยง = คะแนนความเป็ น
อันตราย x คะแนนของโอกาส
เกิดอันตราย
ความเป็ นอันตราย
อันตราย
เล็กน้อย (1)
อันตราย
ปานกลาง (2)
อันตรายมาก
(3)
โอกาส โอกาสเกิดได้นอ้ ยมาก/
ของการ
ไม่น่าจะเกิด (1)
เกิด
โอกาสเกิดขึ้นได้ปาน
อันตราย
กลาง/บางครั้ง (2)
ความเสี่ ยง
เล็กน้อย (1)
ความเสี่ ยงที่
ยอมรับได้ (2)
ความเสี่ ยง
ปานกลาง (3)
ความเสี่ ยงที่
ยอมรับได้ (2)
ความเสี่ ยง
ปานกลาง (4)
ความเสี่ ยงสู ง
(6)
โอกาสเกิดขึ้นได้มาก/
บ่อยครั้ง (3)
ความเสี่ ยง
ปานกลาง (3)
ความเสี่ ยงสู ง
(6)
ความเสี่ ยงที่ยอมรับ
ไม่ได้
(9)
การควบคุมป้องกัน
ควบคุมที่แหล่งกาเนิ ด
ควบคุมที่ทางผ่าน/การบริ การจัดการ
ควบคุมที่ตวั บุคคล