นโยบายสาธารณะ นายสานึกอาศัยอยู่กับพ่ อแม่ ในหมู่บ้านแสนสุข พ่ อแม่ มีลูก 2 คนคือ นายสานึกและนายจิตอาสา พ่ อแม่ เป็ นคนมี ระเบียบวินัยมาก อยากให้ ลูกเป็ นคนดี จึงออกกฎไม่ ยอม ให้ ลูกที่อายุต่ากว่ า.

Download Report

Transcript นโยบายสาธารณะ นายสานึกอาศัยอยู่กับพ่ อแม่ ในหมู่บ้านแสนสุข พ่ อแม่ มีลูก 2 คนคือ นายสานึกและนายจิตอาสา พ่ อแม่ เป็ นคนมี ระเบียบวินัยมาก อยากให้ ลูกเป็ นคนดี จึงออกกฎไม่ ยอม ให้ ลูกที่อายุต่ากว่ า.

นโยบายสาธารณะ
1
นายสานึกอาศัยอยู่กับพ่ อแม่ ในหมู่บ้านแสนสุข พ่ อแม่ มีลูก
2 คนคือ นายสานึกและนายจิตอาสา พ่ อแม่ เป็ นคนมี
ระเบียบวินัยมาก อยากให้ ลูกเป็ นคนดี จึงออกกฎไม่ ยอม
ให้ ลูกที่อายุต่ากว่ า 18 ปี ออกหรื อกลับบ้ านหลัง 4 ทุ่ม
นายสานึกอายุ 16 ปี นายจิตอาสาอายุ 18 ปี วันหนึ่งนาย
สานึกกลับบ้ านหลัง 4 ทุ่ม พ่ อแม่ โกรธมากจึงหักเงิน
ค่ าใช้ จ่ายประจาสัปดาห์ และไม่ ตัดสิทธินายสานึกหลาย
อย่ างในบ้ าน
2
นายสานึก ไม่ เข้ าใจว่ าทาไมพ่ อแม่ ต้องให้ กลับบ้ านเร็ ว จึงเดิน
ออกไปที่สนามเด็กเล่ นในหมู่บ้าน เพื่อคิดไตร่ ตรองในสิ่งที่
ตัวเองทา ทันใดนัน้ ก็มองไปเห็นตู้โทรศัพท์ ข้างถนนหน้ า
หมู่บ้าน จึงเดินออกไปโทรศัพท์ เพื่อคุยกับเพื่อน แต่ โทรศัพท์
เสีย เกิดโมโหจึงทุบตู้โทรศัพท์ แตก และเดินกลับบ้ าน
พ่อแม่อยูบ่ า้ น กาลังทากับข้าวทอดไข่ แต่น้ ามันพืชหมด จึงขับ
รถออกไปที่ตลาดสดข้างบ้าน แต่ปรากฏว่าไม่มีน้ ามันพืชขาย จึง
ขับรถไปที่บ๊ิกซีและจะซื้อน้ ามัน 2 ขวด แต่หา้ งบิ๊กซีประกาศ
อนุญาตให้ลกู ค้าซื้อน้ ามันพืชได้เพียงครอบครัวละ 1 ขวดเท่านั้น
3
เวลาผ่านไป 3 เดือน น้ ามันพืชก็ยงั ไม่เพียงพอ ทาให้
ชาวบ้านทั ่วประเทศเดือดร้อน กระทรวงพาณิชย์ จึงได้
ปรึกษาหารือกับกรมต่างๆในกระทรวง และได้ใช้อานาจ
หน้าที่ตามกฎระเบียบของกระทรวงสั ่งน้ ามันพืชจาก
ต่างประเทศมาขายเพื่อแก้ปัญหาให้แก่ชาวบ้าน แต่ผคู ้ า้
รายใหญ่ไม่พอใจเพราะเสียผลประโยชน์ จึงรวมตัวกันกับ
กลุ่มต่างๆ ออกไปเดินขบวน เรียกร้องให้กระทรวง
พาณิชย์เลิกนาเข้าน้ ามันพืชมาในประเทศ
4
ปั ญหาของฉัน
ปั ญหาของเธอ
ปั ญหาของเรา
พื ้นที่ของฉันหรื อส่วนตัว
พื ้นที่สาธารณะ
5
นโยบายสาธารณะคืออะไร
นโยบาย คืออะไร
สาธารณะ คืออะไร
นโยบายสาธารณะ คืออะไร
6
โลกส่ วนตัว/
ภาคประชาสั งคม/
พืน้ ที่ส่วนตัว
ภาคประชาชน
ภาครัฐ/
รัฐบาล
โลกส่ วนตัว/ ภาคประชาสังคม/
พืน้ ทีส่ ่ วนตัว ภาคประชาชน
ภาครัฐ/
รัฐบาล
โลกส่ วนตัว/
พืน้ ที่ส่วนตัว
ภาคประชาสั งคม/
ภาครัฐ/
ภาคประชาชน
รัฐบาล
ภาคประชาสั งคม/
โลกส่ วนตัว/
ภาคประชาชน
พืน้ ที่ส่วนตัว
ภาครัฐ/
รัฐบาล
โลกส่ วนตัว/ ภาคประชาสังคม/
พืน้ ทีส่ ่ วนตัว ภาคประชาชน
ภาครัฐ/
รัฐบาล
นโยบาย คือ ..........
แนวทางที่มีลกั ษณะเป็ น คาพูด หรื อ ลาย
ลักษณ์อกั ษร ที่กาหนดไว้ เพือ่ บ่งชี้
ทิศทาง และเงื่อนไขของการกระทาด้าน
การบริ หารจัดการ ที่จะช่วยให้บรรลุผล
ตามต้องการ
12
สาธารณะ คือ ...........
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดารงอยูร่ ่ วมกัน และ
เกี่ยวพันกับคนจานวนมาก ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อ
สิ ทธิ เสรี ภาพ และหน้าที่ของบุคคลที่ตอ้ งอาศัย
อานาจส่ วนรวม หรื อรัฐเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยทา
หน้าที่จดั การ หรื อดาเนินการให้เป็ นที่เรี ยบร้อย
ต่อไป
13
นโยบายสาธารณะ คือ ........
การที่รัฐใช้อานาจตัดสิ นใจที่จะกระทา หรื อไม่
กระทาสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด ในรู ปของแนวทาง หรื อ
เงื่อนไข ซึ่งมีอิทธิพลต่อชีวติ ความเป็ นอยูข่ อง
พลเมือง เพื่อบรรลุเป้ าหมายที่พึงประสงค์
ในการอยูร่ ่ วมกันเป็ นรัฐ
14
นโยบายสาธารณะคืออะไร
•…กิจกรรมทั้งปวงของรัฐที่ดาเนินการ
ทั้งโดยทางตรงหรือผ่ านหน่ วยงาน
ต่ างๆ ซึ่งมีอทิ ธิพลต่ อชีวติ ความเป็ นอยู่
ของพลเมือง
จี กาย พีเตอร์
15
นโยบายสาธารณะคืออะไร (ต่อ)
• ผลรวมของ การตัดสิ นใจ คามั่นสั ญญา
(Commitment)
• การกระทาของผู้ทมี่ บี ทบาทเกีย่ วข้ อง หรือผู้ทมี่ ี
ตาแหน่ งอานาจหน้ าที่
16
นโยบายสาธารณะคืออะไร (ต่อ)
• คือคามั่นสั ญญาทีร่ ัฐบาลให้ ไว้ กบั ประชาชนหรือตัวแทนของประชาชนว่ า
รัฐบาลจะทาอะไรหรือไม่ ทาอะไร
• ตัวอย่ างของนโยบายสาธารณะ เช่ น รัฐบาลสั ญญาว่ าจะจัดทาโครงการ
สุ ขภาพทัว่ หน้ า ๓๐ บาท รักษาทุกโรค โครงการกองทุนหมู่บ้าน โครงการพัก
หนีเ้ กษตรกร โครงการแปลงสิ นทรัพย์ เป็ นทุน โครงการเช็คช่ วยชาติ ๒๐๐๐
บาท โครงการเบีย้ ยังชีพผู้สูงอายุ ๕๐๐ บาท
• สาหรับประเทศประชาธิปไตย นโยบายสาธารณะคือสาระทีป่ ระชาชนและ
ฝ่ ายค้ านใช้ เป็ นบรรทัดฐานในการตรวจสอบการทางานของรัฐบาล
รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต
17
ตัวอย่างของนโยบายสาธารณะ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
30 บาทรักษาทุกโรค
โครงการเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการไทยเข้มแข็ง
โครงการคุณธรรมนาความรู้สู่ชุมชน
กองทุนหมู่บา้ น
โครงการพักหนี้เกษตรกร
โครงการเช็คช่วยชาติ 2000 บาท
เบี้ยยังชีพ
ฯลฯ
18
นโยบายสาธารณะเป็ นแนวทาง
ของภาครัฐที่กาหนดขึน้ โดยตรง มี
วัตถุประสงค์ เพื่อปกป้องสิทธิ
ของบุคคล และเพื่อส่ งเสริมความ
เป็ นอย่ ทู ่ ดี ดี ้ วยวิธีการแก้ ปัหหา
The Center for Civic Education
19
ข้ อมูลจาก : Dr.Larry N.Gerston , San Jose State University
รัฐบาลจัดทานโยบายสาธารณะเพือ่ อะไร
• สนองความต้ องการของประชาชน เช่ น สร้ างสวนสาธารณะ
สร้ างโรงเรียน
• แก้ ปัญหาของประชาชน เช่ น แก้ ไขปัญหาอากาศเป็ นพิษ
แก้ ไขปัญหาการแพร่ ระบาดของยาเสพติด
• ป้องกันปัญหาทีอ่ าจเกิดแก่ ประชาชนในอนาคต เช่ น การจัดให้ มี
กองทหารเพือ่ ป้ องกันประเทศ จัดให้ มีกาลังตารวจเพือ่ ป้องกัน
การประทุษร้ าย
รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต
20
องค์ ประกอบของนโยบายสาธารณะ
•
•
•
•
มีจุดประสงค์ ( Purposeful ) เป้ าหมายต้องชัดเจน
มีการตอบสนอง ( Responsive )
มีอานาจ ( Authantative )
มีการผลักดันแกมบังคับ ( Coercive )
• อาจแก้ ไขปัญหาความขัดแย้ ง
• มีส่วนเกีย่ วข้ องจากภาครัฐ
21
นโยบายสาธารณะมีอยู่ทุกระดับของรัฐบ้ าง
• ส่ วนกลาง
• ส่ วนจังหวัด
• ท้ องถิน่ (อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน โรงเรียน
สภาโรงเรียน)
22
องค์ กรภาครัฐที่นาเสนอประเด็นนโยบายสาธารณะ
• ฝ่ ายบริหาร
• ฝ่ ายกฎหมาย
• ฝ่ ายยุตธิ รรม
• องค์ กรต่ าง ๆ ที่นานโยบายสาธารณะไปใช้
23
นโยบายสาธารณะมีที่มาจากใคร
•
•
•
•
•
•
•
ข้ าราชการ
ผู้นาการเมือง /พรรคการเมือง
กลุ่มผลประโยชน์
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ประชาชน สาธารณชน
องค์ กรต่ างประเทศ
สื่ อ
24
Input ปัจจัยนาเข้ า
•Legislative Process
กระบวนการนิติบญั ญัติ / กฎหมาย
-Political Parties พรรค
การเมือง
•Citizens ประชาชน / พลเมือง
-Individuals ปั จเจกบุคคล
- Interest Group กลุ่ม
ผลประโยชน์
•Media
สื่ อ
การตัดสิ นใจโดย
Outcome ผลลัพธ์
Decision Making
•ฝ่ ายบริ หาร -Executive
•ฝ่ ายนิติบญั ญัติ Legislative
•ฝ่ ายตุลาการ -Judicial
•องค์กรภาครัฐ –
•กฎหมาย -Laws
•กฎระเบียบ –Rules
•เกณฑ์กติกา -Regulation
Government Agencies
การสนองกลับ
การนาไปใช้
Feedback
Implementation
การประเมิน
Evaluation
25
ส่ วนประกอบของนโยบายสาธารณะ
• ประเด็น ( Issues ) - ที่ปรากฏในวาระสาธารณะ
• ผู้เกีย่ วข้ อง ( Actors ) - ที่นาเสนอ อธิบาย และตอบประเด็น
เหล่ านี้
• ทรัพยากร ( Resources ) - ที่เกีย่ วข้ องกับประเด็นเหล่ านี้
• องค์ กร ( Institution ) - ที่จะดาเนินการประเด็นเหล่านี้
• ภาครัฐทุกระดับ - ที่เกีย่ วข้ องกับประเด็นเหล่ านี้
26
ทาไมการออกนโยบายสาธารณะจึงยาก
และต้ องมีข้อโต้ แย้ ง (controversial)
• นโยบายสาธารณะ กระทบประชาชนทาง
 ด้ านการเงิน
 การดารงชีวติ (Lives)
 คุณค่ าของชีวติ (Values)
27
เราใช้ ประโยชน์ อะไรได้ บ้างจากนโยบายสาธารณะ
• ทาให้ ตระหนักว่ านโยบายสาธารณะเกีย่ วข้ องกับผลประโยชน์
ได้ เสี ยของประชาชน
• รู้ ว่าการตัดสิ นใจทางการเมืองได้ ถูกต้ องจะต้ องรู้ รายละเอียด
รู้ ข้นั ตอนกระบวนการ รู้ ผลกระทบของนโยบาย
• รู้ ว่าการตัดสิ นใจทีถ่ ูกต้ องควรเป็ นอย่ างไรในนโยบายที่เป็ น
ประเด็นถกเถียงกัน
28
“นโยบายสาธารณะอันพึงปรารถนา”
1. มีเป้าหมายชัดเจนใน
 ระยะใกล้ ระยะกลาง ระยะไกล
 กาหนดได้ หรือไม่
 กาหนดอย่ างไร
มนตรี เจนวิทย์การ
29
“นโยบายสาธารณะอันพึงปรารถนา”
2. นโยบายสาธารณะทีค่ วรจะมีเกณฑ์ ในการ
วัด (benchmarks)
 เปรียบเทียบอย่ างไร
เพือ่ ลดรายจ่ ายหรือมีทศั คติมากขึน้ มนตรีอย่เจนวิางไร
ทย์การ
30
“นโยบายสาธารณะอันพึงปรารถนา”
3. สภาวะแวดล้ อมต่ างๆ ที่เกีย่ วข้ อง เช่ น ทางสั งคม กา
เมือง สิ่ งแวดล้ อม มีระบบการปกครองอย่ างไร มีระบบ
เศรษฐกิจอย่ างไร มีสภาพสั งคม ชนชั้น ความสั มพันธ์ ของคน
เครือข่ ายทางสั งคมเป็ นอย่ างไร ทีจ่ ะทาให้ สามารถดาเนิน
นโยบายทีส่ อดคล้ องกับรู ปแบบสั งคม ภายในอนาคต
Unpopular Policy
Popular Policy
นโยบายสาธารณะ
-
ส่ วนมากมักจะเป็ นเสมือนโวหาร (rhetoric)
มากกว่ าความเป็ นจริง (reality) ของนโยบาย
-
เจตนา (intent) ของผู้กาหนดนโยบาย
อาจจะ ไม่ สะท้ อนเสมอไปในเนือ้ หา (content)
32