นโยบายสาธารณะคืออะไร
Download
Report
Transcript นโยบายสาธารณะคืออะไร
นโยบายสาธารณะ
ดร.พิมล หรือตระกูล
1
Power over
Power to
Power with
2
นโยบายสาธารณะคืออะไร
• ……..ศึกษาว่ ารัฐบาลทาอะไร ทาไมรัฐบาลจึงดาเนินการเช่ นนั้น และ
มีความแตกต่ างอะไรบ้ าง
โทมัส ดายย์
• ……..กิจกรรมทั้งปวงของรัฐบาลทีด่ าเนินการ ทั้งโดยทางตรงหรือ
ผ่ านหน่ วยงานต่ างๆ ซึ่งมีอทิ ธิพลต่ อชีวติ ความเป็ นอยู่ของพลเมือง
บี กาย พีเตอร์
3
นโยบายสาธารณะคืออะไร
• คือคามั่นสั ญญาที่รัฐบาลให้ ไว้ กบั ประชาชนหรือตัวแทนของประชาชน
ว่ ารัฐบาลจะทาอะไรหรือไม่ ทาอะไร
• ตัวอย่ างของนโยบายสาธารณะ เช่ น รัฐบาลสั ญญาว่ าจะจัดทาโครงการ
สุ ขภาพทัว่ หน้ า ๓๐ บาท รักษาทุกโรค โครงการกองทุนหมู่บ้าน
โครงการพักหนีเ้ กษตรกร โครงการแปลงสิ นทรัพย์ เป็ นทุน โครงการเช็ค
ช่ วยชาติ ๒๐๐๐ บาท โครงการเบีย้ ยังชีพผู้สูงอายุ ๕๐๐ บาท
• สาหรับประเทศประชาธิปไตย นโยบายสาธารณะคือสาระที่ประชาชน
และฝ่ ายค้ านใช้ เป็ นบรรทัดฐานในการตรวจสอบการทางานของรัฐบาล
รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต
4
รัฐบาลจัดทานโยบายสาธารณะเพือ่ อะไร
• สนองความต้ องการของประชาชน เช่ น สร้ างสวนสาธารณะ
สร้ างโรงเรียน
• แก้ ปัญหาของประชาชน เช่ น แก้ ไขปัญหาอากาศเป็ นพิษ
แก้ ไขปัญหาการแพร่ ระบาดของยาเสพติด
• ป้องกันปัญหาทีอ่ าจเกิดแก่ ประชาชนในอนาคต เช่ น การจัดให้ มี
กองทหารเพือ่ ป้ องกันประเทศ จัดให้ มีกาลังตารวจเพือ่ ป้องกัน
การประทุษร้ าย
• รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต
5
นโยบายสาธารณะมีที่มาจากใคร
•
•
•
•
•
•
ข้ าราชการ
ผู้นาการเมือง
กลุ่มผลประโยชน์
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
สาธารณชน
องค์ กรต่ างประเทศ
6
วงจรนโยบายสาธารณะประกอบด้ วย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ขั้นจัดเข้ าวาระ
ขั้นกาหนดเป็ นนโยบาย
ขั้นนานโยบายไปปฏิบัติ
ขั้นประเมินนโยบาย
ขั้นการปรับเปลีย่ นนโยบาย
ขั้นยุตนิ โยบาย
การทาประชาพิจารณ์
(Public Hearing)
7
ประเด็นในการวิเคราะห์ นโยบายสาธารณะ ๓ ประการ
๑) เพือ่ ทราบเกีย่ วกับเนือ้ หาสาระของนโยบายว่ ามีอะไรบ้ าง
แต่ ละนโยบายเป็ นอย่ างไร มีรายละเอียดอะไรบ้ าง
๒) ทาให้ เราสามารถสอบสวนเกีย่ วกับสาเหตุหรือปัจจัยทีเ่ ป็ น ตัว
กาหนดการมีขนึ้ ของนโยบายสาธารณะนั้น
๓) ทาให้ เราสามารถสอบสวนเกีย่ วกับผลกระทบของนโยบาย
สาธารณะทีม่ ีต่อสั งคม เศรษฐกิจ และการเมือง
8
การเรียนรู้วชิ านโยบายสาธารณะมีประโยชน์ อะไร
• ทาให้ ตระหนักว่ านโยบายสาธารณะเกีย่ วข้ องกับผลประโยชน์
ได้ เสี ยของประชาชน
• รู้ ว่าการตัดสิ นใจทางการเมืองได้ ถูกต้ องจะต้ องรู้ รายละเอียด
รู้ ข้นั ตอนกระบวนการ รู้ ผลกระทบของนโยบาย
• รู้ ว่าการตัดสิ นใจทีถ่ ูกต้ องควรเป็ นอย่ างไรในนโยบายที่เป็ น
ประเด็นถกเถียงกัน
9
“นโยบายสาธารณะอันพึงปรารถนา”
1. มีเป้าหมายชัดเจนใน ระยะใกล้
ระยะกลาง ระยะไกล
กาหนดได้ หรือไม่
กาหนดอย่ างไร
มนตรี เจนวิทย์การ
10
“นโยบายสาธารณะอันพึงปรารถนา”
2. นโยบายสาธารณะทีค่ วรจะมี
เกณฑ์ ในการวัด (benchmarks)
เปรียบเทียบอย่ างไร
มนตรี เจนวิทย์การ
11
“นโยบายสาธารณะอันพึงปรารถนา”
3. หมายความว่ ายาวไกลเพียงใด มีระบบ
การปกครองอย่ างไร มีระบบเศรษฐกิจ
อย่ างไร มีสภาพสั งคม ชนชั้น
ความสั มพันธ์ ของคน เครือข่ ายทางสั งคม
เป็ นอย่ างไร ที่จะทาให้ สามารถดาเนิน
นโยบายทีส่ อดคล้องกับรู ปแบบสั งคม
มนตรี เจนวิทย์การ
ภายในอนาคต
12
1.
2.
3.
“นโยบายสาธารณะอันพึงปรารถนา”
ควรจะมี มิติหลัก 3 ด้ าน
ผู้มสี ่ วนร่ วมในการกาหนดนโยบาย เรียกว่ า
ผู้แสดง(actors)
สถาบัน (institutions) ที่สามารถกาหนดนโยบาย
นานโยบายไปปฏิบัติ และ รับทราบผลตอบกลับของ
นโยบาย (feedback)
เครื่องมือนโยบาย (instruments) เช่ น เครื่องมือ
ทางภาษีกบั การกากับดูแล หรือการให้ การอุดหนุน
กับการยกเว้ นการเก็บค่ าบริการ เป็ นต้ น มนตรี เจนวิทย์การ
13
1.
นโยบายสาธารณะ
จาเป็ นต้ องมีเป้ าหมายที่กาหนดไว้ ชัดเจน
สามารถมองย้ อนหลังตีความได้
- เป็ นนโยบายที่มีการแสดงออกของ
วัตถุประสงค์ ทั่ว ๆ ไป หรือสภาพของกิจการที่
พึงปรารถนา (Policy as an expression of general purpose or
desired of affairs)
- มีเป้ าหมายซ่ อนอยู่ในตัวอยู่แล้ว (policy must
contain some element of purposiveness)
Hogwood & Gunn (1984)
14
นโยบายสาธารณะ
-
ส่ วนมากมักจะเป็ นเสมือนโวหาร (rhetoric)
มากกว่ าความเป็ นจริง (reality) ของนโยบาย
-
เจตนา (intent) ของผู้กาหนดนโยบาย
อาจจะ ไม่ สะท้ อนเสมอไปในเนือ้ หา (content)
15
“นโยบาย” เป็ นเรื่องของการเลือก (choice)
เส้ นทางการดาเนินการที่ขนึ้ อยู่กบั ผลพวงที่ตก
ทอดมาจากอดีต (legacy) และความไม่ แน่ นอน
(uncertainty) ของอนาคต
- การวางนโยบายเป็ นเรื่องที่มีปัจจัยส่ วนตัว
ความเอนเอียง อัตถาเข้ ามาเกีย่ วข้ องมาก
Adrian Kay (2006)
16
Colbatch (2002) ได้ ให้ ความเห็นเพิม่ เติมเกีย่ วกับ
นโยบายและเป้ าหมายไว้ ว่า นโยบายมิได้ หมายถึง
เป้ าหมายที่ประกาศออกมาอย่ างเป็ นทางการของ
รัฐบาล (official proclaimed goals) เท่ านั้น แต่ ยงั
หมายถึง การทีผ่ ู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ องต่ อการเข้ าใจว่ า
อะไรจะเกิดขึน้ ในการกาหนดนโยบายนั้นด้ วย
มนตรี เจนวิทย์การ
17
•Reflection คิดสะท้ อนกลับ
•Negotiation การต่ อรอง
•Find common ground หาจุดเหมือน
•Find win-win หาจุดพอใจทั้งสองฝ่ าย
18
นโยบายสาธารณะเป็ นแนวทางของ
ภาครัฐที่กาหนดขึน้ โดยตรงมี
วัตถุประสงค์ เพือ่ ปกป้ องสิ ทธิของ
บุคคล และเพือ่ ส่ งเสริมความเป็ นอยู่
ด้ วยที่ดดี ้ วยวิธีการแก้ ปัญหา
The Center for Civic Education
19
Thank you
For
Your Attention
20
21