กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส

Download Report

Transcript กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส

กระบวนการนโยบาย
่ ขภาพ
สาธารณะเพือสุ
(Healthy Public Policy)
ผศ.ภก.พงค ์เทพ สุธรี วุฒิ
ผู อ
้ านวยการสถาบันการจัดการระบบ
สุขภาพ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์
9/04/54
่
ส่วนที่ 1 แนวคิดเรืองการปฏิ
รูป
ประเทศ
และปฏิรูประบบสุขภาพ
ภาวะวิกฤตการณ์ของสังคมไทย
• ปั ญหาทางเศรษฐกิจ เกิดช่องว่างระหว่างคน
่ บวันจะมีความแตกต่าง มี
รวยและคนจน ซึงนั
้
ระยะห่างมากขึน
่
• สถาบันครอบคร ัว ความเป็ นชุมชนทีเคย
เข้มแข็ง กาลังแตกสลาย ทาให้สงั คมอ่อนแอ
่
• วิกฤตการณ์ทางสิงแวดล้
อม
่
อมถูกใช้และ
ทร ัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้
ถูกทาลาย เกิดการแย่งชิงทร ัพยากร
• วิกฤตการณ์ทางวัฒนธรรม การคืบคลานของ
วัฒนธรรมตะวันตก ทุนนิ ยม วัตถุนิยม หรือ
่
การหยิบฉวยวัฒนธรรมเป็ นเครืองมื
อทาง
•
•
•
•
•
สาเหตุของปั ญหาเกิดจากความ
อ่
อ
นแอของสั
ง
คมไทย
่
ศีลธรรมอ่อนแอ นาไปสู ่สภาวะวิกฤตทุกเรือง
้ ัฐ สังคม เศรษฐกิจ และปั ญญา
ทังร
ปั ญญาอ่อนแอ สังคมไทยใช้อานาจมากกว่า
ปั ญญา นิ ยมใช้ความเห็นมากกว่าการสร ้าง
ความรู ้ สังคมไทยจึงใช้ปัญญาน้อย
เศรษฐกิจอ่อนแอ ปั จจุบน
ั เศรษฐกิจฐานบน
ส่วนใหญ่เป็ นเศรษฐกิจเทียม การพัฒนา
เศรษฐกิจทาลายเศรษฐกิจฐานล่าง
ร ัฐอ่อนแอ องค ์กรหลายองค ์กรขาดธรรมาภิ
บาล
สังคมอ่อนแอ ความสัมพันธ ์ในสังคมไทยเป็ น
่ ขภาวะของสังคมไทย
แนวทางเพือสุ
การจัดการด้วยความรู ้
ปั ญญา
สาธารณ
ยุทธศาสตร ์ แผน
ชุม
จิต สุขภาวะ สังคมชน
นโยบายสาธารณะ
ครอบคร
สมัชชาสุขภาพ
การรวมพลัง
พลังจากอานาจกาย
ทางสังคม
ร ัฐและการเมือง
เศรษฐกิจ
ปั จเจกบุคค
กระบวนการนโยบายสาธารณะอย่างมีส่วนร่วม คือ กระบวน
ทุกภาคส่วน ในการสร ้างและผลักดันทิศทางหรือแนวทางท
่ าจะทาให้เกิดสังคมสุขภาวะ โดยเป็ นแนวท
เห็นว่าหรือเชือว่
แห่งศีลธรรมและความสมดุลทางเศรษฐกิจ
ทิศทางการปฏิรูปประเทศไทย
่
่
1. เป็ นไปเพือการลดความเหลื
อมล
า้ และสร ้าง
ความเป็ นธรรมในสังคม
่ านาจประชาชน นาไปสู ่
2. ลดอานาจร ัฐ เพิมอ
การปกครองของประชาชน
่
่
3. ให้พนที
ื ้ จัดการตนเอง
โดยชุมชนท้องถิน
ส่วนที่ 2 ความหมาย หลักการ ของ
นโยบายสาธารณะ
ความหมายของ นโยบายสาธารณะ
( Public Policy )
• คาว่า “นโยบาย” พจนานุ กรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้
ความหมายว่า หมายถึง หลักการและวิธป
ี ฏิบต
ั ิ
่ อเป็ นแนวดาเนิ นการ
ซึงถื
• มาจากศ ัพท ์ว่า “นย + อุบาย” หมายถึง เค้า
่ อให้
่
ความทีสื
เข้าใจเอาเอง หรือหมายถึง
่ ทางไปสู
้
“แนวทางหรืออุบายทีชี
่ว ัตถุประสงค ์”
• นอกจากนี ้ คาว่า “ Policy ” มีความหมายว่า
แนวทางปฏิบต
ั ข
ิ องบ้านเมืองหรือหมู ่ชน มา
่
จากรากศ ัพท ์ภาษากรีก “Polis” ซึงหมายถึ
ง
ความหมายของ นโยบายสาธารณะ
1
่
่ ่ม
นโยบายสาธารณะถู กใช้เป็ นคาทีแทนที
กลุ
่
ของกิจกรรมทีร่ ัฐบาลเข้าไปเกียวข้
อง (field
่
of activity) เช่น ด้านเศรษฐกิจ ความมันคง
่
อม สาธารณสุข
ต่างประเทศ สิงแวดล้
• นโยบายสาธารณะ เป็ นการแสดงออกของ
่
จุดหมายโดยทัวไป
(general purpose) หรือ
สถานการณ์ทพึ
ี่ งประสงค ์ (desired state of
่
่ ง่ ั
affairs) เช่น ประเทศมันคง
ประชาชนมังค
่
• นโยบายสาธารณะ เป็ นเรืองของข้
อเสนอบาง
ประการ (specific
proposals)ของกลุ่ม
ทศพร ศิรส
ั พันธ ์ : Brain W.Hogwood and Lewis
Analysis for the real World,1984
ก าิ มร
เ มื อ ง ต่ า ง ๆ ที่ ต้ อA Gunn,
ง กPolicy
า รใ
ห้ ร ั ฐ ร ั บไ ป
•
1
• นโยบายสาธารณะเป็ นการตัดสินใจของร ัฐบาล
่
(decisions of government) ทีจะเลื
อกทา
หรือไ ม่ ท า ซึ่งมักใ ห้ค วา ม สนใ จเ ฉพ า ะ ใ น
่ าลังจะตด
ช่วงเวลาทีก
ั สินใจ(moments
of
choice) 2
• นโยบายสาธารณะเป็ นการให้อ านาจหน้ า ที่
อย่างเป็ นทางการ (formal authorization)
น าไปสู ่ ก ารออกกฎหมาย กฎระเบีย บ และให้
อานาจหน่ วยงานทีร่ ับผิดชอบ 3
• นโ ย บ า ย ส า ธ า ร ณ ะ ห ม า ย ถึ ง แ ผ น ง า น
(program)และโครงการ(project)ของร
ัฐบาล
2
4Thomas R. Dye, Understanding Public Policy,1978
3
4
Ira Sharkansky,The Political Scientist & Policy Analysis,1970
Harold D.Lasswell and Abraham Kaplan, Power and Society
่
• นโยบายสาธารณะเป็ นผลผลิตทีทางร
ัฐบาลได้
• นโยบายสาธารณะเป็ นแนวทางทีร่ ัฐบาล หรือ
้
่
องค ์กรของร ัฐกาหนดขึนเพื
อการแก้
ปัญหา 5
• นโยบายสาธารณะเป็ นข้อเสนอสาหร ับแนว
ทางการดาเนิ นงานของบุคคล กลุ่มบุคคล หรือ
้ เพื
้ อน
่ าไปสู ่เป้ าหมายอย่างใดอย่าง
ร ัฐบาล ทังนี
หนึ่ง 6
่
• นโยบายสาธารณะคือ ความคิดของร ัฐบาลทีจะ
่
ทาอะไร อย่างใด เพียงใดเมือใด
โดยมี
องค ์ประกอบ 3 ประการ คือ 1) การกาหนด
าหมาย
าหนดแนวทาง 3)การ
5 เป้
Jame
E. Anderson,2)การก
Public Policy Making,1975
6
Carl J. Friedrich, Man and His Government, 1963
7
ก
าหนดการสนั
บ
สนุ
น
7
อมร ร ักษาสัตย ์ , การพัฒนานโยบาย, 2520
กิจกรรมของร ัฐที่
่
เป็ นกิจกรรมที
เป็ นอานาจในการ
จะเลือกทาหรือไม่ทา
ชอบด้วยกฎหมาย
จัดสรรค่านิ ยมของสังคม
อาจก่อผลกระทบ
้
ทังทางบวกและทางลบ
เป็ นอานาจของ
ผู น
้ าทางการเมือง
้
เป็ นกิจกรรมทังภายใน
และภายนอกประเทศ
นโยบายสาธารณะ
เป็ นผลจากการต่อรอง
ระหว่างกลุ่มผลประโยชน์
เป็ นการเลือก
่
ทางเลือกทีเหมาะสม
เป็ นชุดของการกระทา
่ แบบแผนเป็ นระบบ
ทีมี
มีเป้ าหมายในการ
ตอบสนองประชาชน
เป็ นกิจกรรมที่
ต้องปรากฎเป็ นจริง
่
เป็ นการตัดสินใจเพือ
มีผลลัพธ ์ในการ
ประชาชนจานวนมาก
แก้ไขปั ญหาสังคม
สรุปความหมายของ นโยบาย
่
่
สาธารณะ ทียอมร
ับกันทัวไป
่ ก ก าหนดขึนโดยร
้
แนวทางทีถู
ฐั บาล ซึง่
อาจจะเป็ นองค ก
์ รหรือ ต ว
ั บุ ค คลที่มี อ านาจ
โดยตรงตามกฎหมายภายใต้ร ะบบการเมือ ง
้ ้ นโยบายสาธารณะจะครอบคลุ ม
นั้ นๆ ทังนี
้ั
้ั
ตงแต่
สงที
ิ่ ร่ ัฐบาลตงใจจะกระท
าหรือไม่กระทา
้ าหมาย
การตัด สินใจของร ฐั บาลในการตังเป้
หรือสร า้ งคุณ ค่า ต่า งๆในสังคม กิจกรรมหรือ
การกระทาต่างๆของร ัฐบาล รวมจนถึงผลผลิต
้
่ ดขึนจริ
ง รวมถึงการแบ่งสรร
และผลลัพธ ์ทีเกิ
ทร ัพยากรและการสนับสนุ น
่
• ในความหมายทีแคบ
นโยบายสาธารณะ
หมายถึง กิจกรรม/การกระทาของร ัฐบาล และ
มิตก
ิ ารเลือกตัดสินใจของร ัฐบาล
่ าง นโยบายสาธารณะ
• ในความหมายทีกว้
หมายถึง แนวทางในการกระทาของร ัฐบาล
อย่างกว้าง ๆ ทีร่ ัฐบาลได้ต ัดสินใจเลือก และ
่ น
้ าให้มก
กาหนดไว้ล่วงหน้า เพือชี
ี จ
ิ กรรมหรือ
้ เพือให้
่
การกระทาต่าง ๆ เกิดขึน
บรรลุ
่ าหนดไว้ โดยมี
เป้ าหมายและวัตถุประสงค ์ทีก
การวางแผนการจ ัดทาโครงการ วิธก
ี าร
บริหารงานให้บรรลุว ัตถุประสงค ์
ข้อสังเกต
• นโยบายระดับชาติมก
ั มีลก
ั ษณะครอบคลุม
ลักษณะของนโยบายสาธารณะใน
่
มิ
ต
เ
ิ
พิ
มเติ
ม
่ าค ัญ
นโยบายสาธารณะ จึงมีลก
ั ษณะ 2 ส่วนทีส
คือ
1. นโยบายสาธารณะเป็ นทิศทางหรือแนวทางที่
่ าควรทีจะ
่
สังคมโดยภาพรวมเห็นว่าหรือเชือว่
่ ศ ทางหรือ
ด าเนิ นการไปในทางนั้ น 2 ซึงทิ
้
้
่
แนวทางนันอาจเกิ
ดขึนมาจากความริ
เริมของ
ร ัฐ บ า ล ข อ ง ภ า ค เ อ ก ช น ห รื อ ข อ ง ภ า ค
ประชาชนก็ได้ ดงั นั้น นโยบายสาธารณะจึงมี
ความหมายกว้า งขวาง โดยรวมถึง นโยบาย
ของร ัฐบาล กฎหมายจากร ัฐสภา นโยบายของ
องค ก
์ รท้อ งถิ่น และการปฏิ บ ต
ั ิก ารในระด บ
ั
สาธารณะของภาคประชาชน และภาคเอกชน
ความสาคัญของนโยบายสาธารณะ
ประการแรก ความสาค ัญต่อผู ก
้ าหนดนโยบาย
ถ้าร ัฐบาลหรือองค ์กรใดก็ตาม สามารถนานโยบาย
ไปปฏิบต
ั ใิ ห้ประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิผล
(effectiveness) และประสิทธิภาพ (efficiency) ยิง่
้
จะทาให้องค ์กรนันได้
ร ับการยอมร ับและความนิ ยม
จากสาธารณะอย่างกว้างขวาง เช่น หากเป็ นร ัฐบาล
ผลดังกล่าวจะส่งเสริมให้ร ัฐบาลมีเสถียรภาพ มี
้
โอกาสดารงอานาจในการบริหารประเทศยาวนานขึน
่
ประการทีสอง
ความสาคัญต่อประชาชน
่ ตอ
นโยบายสาธารณะทีดี
้ งสอดคล้องกบ
ั ค่านิ ยมและ
่ กนาไปปฏิบต
ความต้องการของประชาชน เมือถู
ั ิ
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จะทาให้
่ อย่างเสมอภาคทัวหน้
่
ประชาชนมีคุณภาพชีวต
ิ ทีดี
า
่
่
ประการทีสาม
มองเป็ นเครืองมื
อของ
ภาคร ัฐ
•
•
•
•
•
•
ในการกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
ในการตอบสนองความต้องการของ
ประชาชน
่ าค ัญของประชาชน
ในการแก้ไขปั ญหาทีส
่
เป็ นการใช้อานาจของร ัฐบาลเพือจัดสรร
ค่านิ ยมทางสังคม
ในการเสริมสร ้างความเป็ นธรรมในสังคม
ในการเสริมสร ้างความเสมอภาคในโอกาส
แก่ประชาชน
่ น
นโยบายสาธารณะยังมีความสาคัญในฐานะทีเป็
่
เครืองมื
อของร ัฐบาลอีกหลายประการ
• ในการร ักษาความร ักษาความสงบเรียบร ้อย
ภายในประเทศ
่
• ในการร ักษาความมันคงของประเทศ
• ในการเจริญสัมพันธ ์ภาพระหว่างประเทศ
• ในการร ักษาผลประโยชน์ระหว่างประเทศ
• ในการส่งเสริมการลงทุนและการจ้างงาน
ภายในประเทศ
• ในการส่งเสริมการลงทุนและการจ้างงาน
ภายในประเทศ
• ในการคุม
้ ครองสิทธิประโยชน์ของประชาชน
• ในการในการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของ
สังคม
่ ่ หากมองในมิตข
ประการทีสี
ิ องภาค
ประชาชน
นโยบายสาธารณะยังมีบทบาทสาค ัญใน
่ นกระบวนการแห่งการเรียนรู ้ของ
ฐานะทีเป็
่ าค ัญ เป็ นกระบวนการสร ้างการมี
สังคมทีส
้ ศทางของสังคม
ส่วนร่วมของประชาชน ชีทิ
่
และเป็ นกระบวนการทีจะท
าให้ทราบถึงการให้
่
คุณค่า (หรือการให้ความสาคัญ) ทีแตกต่
าง
กันในสังคม
ความสาเร็จของนโยบายสาธารณะ
ประการแรก การมีเป้ าประสงค ์หรือว ัตถุประสงค ์ที่
ช ัดเจน
่
ประการทีสอง
ต้องมีหน่ วยงานร ับผิดชอบการนา
นโยบายไปปฏิบต
ั อ
ิ ย่างมี
ประสิทธิภาพ
่
ประการทีสาม
ต้องมีงบประมาณสนับสนุ นการนา
นโยบายไปปฏิบต
ั อ
ิ ย่างเหมาะสม
่ ่ ต้องได้ร ับการสนับสนุ นจากประชาชน
ประการทีสี
และมีส่วนร่วมของประชาชน
่ ด
และถ้ามองความสาเร็จในมิตข
ิ องผลทีเกิ
จากกระบวนการนา
ผู ท
้ มี
ี่ สว
่ นในการกาหนดนโยบาย
สาธารณะ
่ น
ผู ท
้ มี
ี่ สว
่ นในการกาหนดนโยบายสาธารณะทีเป็
ทางการ อาจประกอบด้วย
่ จารณาตัดสินนโยบายหรือ
1) ฝ่ายนิ ตบ
ิ ญ
ั ญัต ิ มีหน้าทีพิ
ออกกฎหมาย
2) ฝ่ายบริหาร หมายถึง บุคคลหรือคณะบุคคลผู ม
้ ี
่
้
อานาจหน้าทีในการบริ
หารบ้านเมือง มีอานาจทังใน
การกาหนดนโยบายและการบริหารนโยบาย
3) ตัวแทนฝ่ายบริหาร ได้แก่บรรดาข้าราชการ
4) ศาล มีอานาจในการกาหนดนโยบายสาธารณะโดย
ผ่านการใช้อานาจในการตีความ
ร ัฐธรรมนู ญในแง่ ของหลักการ
ผู ท
้ มี
ี่ ส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายสาธารณะที่
ไม่เป็ นทางการ
อาจประกอบด้วย
่ ยกร ้อง
1) กลุ่มผลประโยชน์ ทาหน้าทีเรี
่
่
ผลประโยชน์เพือเปลี
ยนแปลงนโยบาย
่
สาธารณะเพือผลประโยชน์
ของกลุ่ม
่ ยกร ้อง
2) พรรคการเมือง ทาหน้าทีเรี
่
ผลประโยชน์และรวบรวมกลันกรอง
ผลประโยชน์
3) ปั จเจกชน เช่นในสหร ัฐยอมให้ปัจเจกชนมี
ส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายด้วย
ส่วนที่ 3 การวิเคราะห ์ตัวแบบ
นโยบายสาธารณะ
ต ัวแบบนโยบายสาธารณะ
่ จารณาหรือวิเคราะห ์ในแง่ ของ
1. ต ัวแบบทีพิ
กระบวนการ
1.1 ตัวแบบผู น
้ า (Elite Model)
1.2 ตัวแบบกลุ่ม (Group Model)
1.3 ตัวแบบสถาบัน (Institution Model)
1.4 ตัวแบบระบบ (System Model)
1.5 ตัวแบบกระบวนการ (Process Model)
2. ตัวแบบการกาหนดนโยบายสาธารณะที่
พิจารณาในแง่ ของผลผลิตหรือปั จจัยนาออก
2.1 ตัวแบบเหตุผล (Rationalism Model)
่ (Incremental Model)
2.2 ตัวแบบส่วนเพิม
2.3 ตัวแบบการวางแผนกลยุทธ ์ ( Strategic
3. ตัวแบบ กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมี
ส่วนร่วม
3.1 กระบวนการนโยบายแบบเส้นตรง
3.2 กระบวนการนโยบายแบบเจรจาต่อรอง
3.2.1 ทฤษฎีหลายกระแส (Multiple
Streams Theory)
3.2.2 กรอบแนวคิดเครือข่ายพันธมิตร
นโยบาย
3.3 กระบวนการนโยบายแบบถกแถลง
3.4 กระบวนการนโยบายแบบผสมผสาน
้ั า (Elite Model)
ตัวแบบชนชนน
่
ก
ำหนดและสั
ง
้ั ำ
ชนชนน
กำรนโยบำย
ข ้ำรำชกำ
ร และ
ผูบ้ ริหำร
ดำเนิ นงำน
ตำมนโยบำย
ประชำชน
27
ตัวแบบกลุ่ม (Group Model)
อิทธิพลที่
่ น
้
เพิมขึ
อิทธิพลของ
กลุ่ม ก.
อิทธิพลของ
กลุ่ม ข.
ทางเลือกต่างๆ
ของนโยบาย
การ
่
เปลียนแปลงโย
นโยบาย
สาธาร
ณะ
ความ
สมดุล
28
ตัวแบบสถาบัน (Institutional
Model)
อานาจอธิปไตย
อานาจนิ ตบ
ิ ญ
ั ญัต ิ อานาจบริหาร อานาจตุลาการ
•ระบบสภา
เดียว
•ระบบสอง
สภา
•ระบบร ัฐสภา
•ระบบ
ประธานาธิบดี
•ระบบกึง่
ร ัฐสภา-
•การตีความ
ร ัฐธรรมนู ญ
ของศาลสู ง
•คาพิพากษา
ของศาลสู ง
29
ตัวแบบเชิงระบบ (System Model)
สภาพแวด
ล้อม
การ
นโยบาย
เรียกร ้อง
หรือการ
ปั จจัย
ระบบการเมือง
ปั จจัยนา
ตัดสินใจ
นาเข้า
ออก
การ
และการ
สนับสนุ น
กระทา
สิง่
ป้ อนกลับ
สภาพแวด
ล้อม
30
ตัวแบบกระบวนการ (Process
Model)
้
ตัวแบบกระบวนการตามขันตอน
นโยบาย
การระบุปัญหา
(problem
identification)
การกาหนด
ข้อเสนอนโยบาย
(policy
formulation)
การอนุ มต
ั เิ ห็นชอบ
การย้อนกล ับของ
นโยบาย
ข้อมูลข่าวสาร
(policy adoption)
การนานโยบายไป
ปฏิบต
ั ิ
(policy
implementation)
การประเมินผล
นโยบาย
(policy
evaluation)
ตัวแบบเหตุผล (Rationalism
Model)
้
่ เหตุผล คือ นโยบายทีท
่ าให้
ตัวแบบนี เสนอว่
า นโยบายทีมี
สังคมได้ร ับประโยชน์สูงสุด หมายถึง การทีร่ ัฐบาลเลือก
่ ผลตอบแทนมากกว่าค่าใช้จา
่ อง
กาหนดนโยบายทีให้
่ ยทีต้
สู ญเสียไป
่ (Incremental
ตัวแบบส่วนเพิม
Model)
่
ตัวแบบส่วนเพิมหรื
อเรียกว่า ตัวแบบค่อยเป็ นค่อย
่
ไป หรือตัวแบบการเปลียนแปลงไปจากเดิ
มบางส่วน
่ ดว่าผู ท
่
ซึงคิ
้ มี
ี่ อานาจตัดสินใจ ย่อมไม่สามารถทีจะ
่ ร ับการเสนอ ไม่สามารถระบุ
ตรวจสอบนโยบายทีได้
เป้ าหมายของสังคม การวิจย
ั ผลตอบแทน ตลอดจน
ค่าใช้จา
่ ยสาหร ับทางเลือกนโยบายแต่ละทางเลือกที่
ทาให้เป้ าหมายต่างๆ บรรลุผลได้อย่างครอบคลุมทุก
่ ทังนี
้ เนื
้ ่ องจากมีขอ
่
ประเด็น ทุกเรือง
้ จาก ัดเรืองเวลา
ความรู ้ความสามารถและค่าใช้จา
่ ยต่างๆ รวมทัง้
่
้
ข้อจาก ัดในเรืองการเมื
อง ดังนันในการก
าหนด
นโยบาย หรือโครงการใหม่ๆ ผู ก
้ าหนดนโยบายจึงมัก
่ อยู ่เป็ นฐาน คืออาจเพิม
่
พิจารณาจากโครงการทีมี
ตัวแบบการวางแผนกลยุทธ ์ ( Strategic
Planning Model)
ตัวแบบการวางแผนกลยุทธ ์ เป็ นการนาจุด
แข็ง จุดดีของตัวแบบเหตุผล กับตัวแบบค่อย
่
้ ร ับการ
เป็ นค่อยไป มารวมกัน ซึงตัวแบบนี
ได้
ยอมร ับในโลกธุรกิจ การวางแผนกลยุทธ ์ เป็ น
่
ความพยายามทีจะประนี
ประนอมระหว่าง
แนวทางเหตุผล กับแนวทางค่อยเป็ นค่อยไปใน
่ ยวกับปั
่
ประเด็นทีเกี
ญหาการกาหนดนโยบาย
สาธารณะ
ตัวแบบกระแส-หน้าต่างนโยบาย
(streams& windows model)
การให้
นิ ยาม
ปั ญหาเชิง
คุณค่า
กระแส
ปั ญหา
กระแส
นโยบา
ย
กระแส
การเมื
อง
กาหน
ด
แนวทา
ง
หน้าต่
าง
นโยบา
ย
พลัง
ผลักดันที่
เห็นพ้อง
วาระ
นโยบา
ย
นโยบา
ย
สาธาร
ณะ
37
ต ัวแบบ กระบวนการนโยบายสาธารณะ
แบบมีสว
่ นร่วม
1. กระบวนการนโยบายแบบเส้นตรง
(Linear Model of Policy Process)
การกาหนดวาระนโยบาย
(Agenda Setting)
การพัฒนาข้อเสนอ
(Policy Formulation)
การตัดสินใจเชิงนโยบาย
(Decision making)
การดาเนิ นตามนโยบาย
(Policy Implementation)
การประเมินผลนโยบาย
(Policy Evaluation)
25/04/63
39
2. กระบวนการนโยบายแบบเจรจา
ต่อรอง
(Negotiation Model of Policy
Process)
ประกอบด้วยการวิเคราะห ์ 2 กรอบ ได้แก่
(2.1) ทฤษฎีหลายกระแส (Multiple Streams
Theory)
้ บายว่า กระบวนการ
กรอบแนวคิดนี อธิ
้
ตัดสินใจทางนโยบายเกิดขึนจากอิ
ทธิพล 3
กระแส ได้แก่ กระแสปั ญหา (Problem Stream)
กระแสนโยบาย (Policy Stream) และ กระแส
การเมือง (Political Stream) หากกระแสทัง้ 3
มาบรรจบกันจะด้วยการเงื่อนไขและกิจกรรมของ
ผู ผ
้ ลักดันนโยบาย (Policy Entrepreneur หรือ
Advocacy) หรือจะเป็ นเพราะเกิดปรากฏการณ์ท ี่
้
เปิ ดหน้าต่างทางนโยบาย (Policy Window) ขึน
ในสังคมทาให้เกิดการตัดสินใจ หรือ การ
่
้
25/04/63
40
(2.2) กรอบแนวคิดเครือข่ายพันธมิตรนโยบาย
(Advocacy Coalition Framework)
ลักษณะเฉพาะของแนวคิดนี ้ คือ มุมมอง
่ นกระบวนการ
กระบวนการนโยบายทีเป็
่
ปร ับเปลียนทางความคิ
ดของผู ต
้ ด
ั สินใจ หรือ
ทัศนะของสังคมในระยะยาว มิใช่การตัดสินใจใน
้ หรือเฉพาะในแต่ละเหตุการณ์ ทาให้
ระยะสัน
กรอบแนวคิดเครือข่ายพันธมิตรนโยบายมุ่งมอง
ประเด็นหรือสาขานโยบายแต่ละด้านเป็ นหน่ วย
การวิเคราะห ์ มิใช่ใช้เหตุการณ์ หรือสถานการณ์
ในการตัดสินใจเป็ นหน่ วยหรือจุดในการวิเคราะห ์
้ งให้
แบบทฤษฎีหลายกระแส นอกจากนันยั
ความสาคัญกับแนววิธก
ี ารจัดการเครือข่าย
พันธมิตรนโยบาย การใช้กลยุทธ ์ทางนโยบายจาก
25/04/63
41
3. กระบวนการนโยบายแบบถกแถลง
(Deliberative Model of Policy
Process)
มุ่งให้ความสาคัญก ับการวิเคราะห ์การให้
่
ความหมาย และการให้เหตุผลทีแตกต่
างกันใน
่
กระบวนการนโยบาย เพือให้
สามารถรวบรวม
่
้
แนวคิดทีแตกต่
างกัน หรือ เป็ นขัวตรงข้
ามกัน
เข้ามาประมวลสาหร ับศึกษาและวิเคราะห ์
้
่
่
ร่วมกัน รวมทังพยายามที
จะจัดการสื
อสารเชิ
ง
่
นโยบายเพือให้
เกิดการถกแถลงถึงความหมาย
่
่
ทีแตกต่
างกันมุ่งหวังทีจะให้
เกิดความเป็ นธรรม
้ และลดการ
ในกระบวนการนโยบายมากขึน
้
แบ่งขัวแยกค่
ายทางนโยบายลง
25/04/63
42
4. กรอบการวิเคราะห ์กระบวนการ
นโยบายแบบผสมผสาน
25/04/63
43
้
ส่วนที่ 4 กระบวนการและขันตอน
นโยบายสาธารณะ
้
กระบวนการและขันตอนนโยบาย
สาธารณะ
1. การก่อตวั ของนโยบายสาธารณะ
(public policy formation)
2. การกาหนดทางเลือกและการตด
ั สินใจ
นโยบายสาธารณะ (public policy
alternative development and
decision making)
3. การนานโยบายสาธารณะไปปฏิบต
ั ิ
(public policy implementation)
4. การประเมินผลนโยบายสาธารณะ
25/04/63
45
การสารวจ
สถานการณ์
การระบุและ
จัดลาด ับ
ความสาค ัญของ
ปั ญหา
การวิเคราะห ์
ข้
อเสนอทางเลื
สาเหตุ
ปั จจ ัย อก
ของนโยบายในการ
 การคาดการณ์
แก้
ปัญหา
อนาคต
การตัดสิ
อก
การวางจุนดใจเลื
หมาย
นโยบาย
การจัดทา
ยุทธศาสตร ์
การจัดทา
แผนปฏิบต
ั ก
ิ าร
 การประกาศสู ่
สาธารณะ นผล
การประเมิ
การควบคุ
การ ง้
การดาเนิ นม
งานทั
ดาเนิ
บริ
บทนปังานตาม
จจ ัยนาเข้า
แผน
กระบวนการ
ผลลัพท ์ (CIPP
Model)
การประเมินผล
การก่อต ัว
ของนโยบาย
สาธารณะ
การตัดสินใจ
นโยบาย
สาธารณะ
การนานโยบาย
สาธารณะ
ไปปฏิบต
ั ิ
การประเมินผล
นโยบาย
สาธารณะ
ข้อมู ล
ย้อนก
ลับ
ความต่อเนื่ อง
การทดแทน
้ ด
และการสินสุ
นโยบาย
สาธารณะ
ข้อมู ล
ย้อนก
ลับ
้
้
ขันตอนการแก้
ไขปั ญหาและขันตอน
ของนโยบายสาธารณะ
้
้
ขันตอนการแก้ไขปั ญหา
ขันตอนของนโยบายสาธารณะ
(Phases of applied problem-solving)
(Stages in policy cycle)
1.
การร ับรู ้ปั ญหา
1. การกาหนดระเบียบวาระ
(Problem recognition)
(Agenda-setting)
่
2. ข้อเสนอทางเลือกเพือแก้
ไขปั ญหา
(Proposal of solution)
่
3. การเลือกทางเลือกเพือแก้
ไขปั ญหา
(Choice of solution)
4. การนาทางเลือกไปแก้ไขปั ญหา
(Putting solution into effect)
5. การติดตามผลการแก้ไขปั ญหา
(Monitoring results)
2. การกาหนดนโยบาย
(Policy formulation)
3. การตัดสินใจเลือกแนวทาง
(Decision-making)
4. การนานโยบายไปสู ่การปฏิบต
ั ิ
(Policy implementation)
5. การประเมินผลนโยบาย
(Policy evaluation)
Source : Hawlett and Ramesh.1995. Studying Public Policy. Oxford : Oxford University Press. P. 11
้
ขันตอนการก่
อตัว ระบุปัญหา
•
•
•
•
การระบุปัญหาควรดาเนิ นการอย่างเป็ นระบบ
เป็ นเหตุเป็ นผล โดยมีกจ
ิ กรรมด ังนี ้
กาหนดขอบเขตและหัวข้อปั ญหา
ค้นหาสถานการณ์แห่งปั ญหา และ ปั จจัยที่
่
เกียวข้
อง (Mapping)
กาหนดจุดหมาย วัตถุประสงค ์ เป้ าหมาย
้
้ ผู ม
่ ปัญหาจะต้องศึกษา
ในขันตอนนี
้ ห
ี น้าทีระบุ
ปั ญหาจนสามารถกาหนดเป็ นนโยบายต่อไป
่ จริงของ
และสามารถอธิบายถึงสภาพทีแท้
้ พร ้อมทังก
้ าหนดสภาพที่
ปั ญหาเหล่านัน
่ ผลต่อการระบุ
ปั จจัยสาคัญทีมี
ปั ญหา
•
•
•
•
•
ความรู ้ความสามารถของผู ร้ ะบุปัญหา
่ ดขึนบางปั
้
ปั ญหาทีเกิ
ญหาถูกละเลย
การสร ้างสถานการณ์ให้เป็ นปั ญหา
ความเอาใจใส่ของประชาชน
การใช้กลวิธท
ี างการเมือง (เดินขบวน ป้ องกัน
้ กหยิบยกมา
ไม่ให้สถานการณ์ทเกิ
ี่ ดขึนถู
่ องกัน
พิจารณา ปิ ดบังปั ญหาเพือป้
ผลประโยชน์ของตนเอง ไม่ตอ
้ งการร ับภาระ
่
หนักทีจะน
าปั ญหามาพิจารณา)
ลักษณะของปั ญหานโยบาย
่ ความสัมพันธ ์กับปั ญหาอืน
่
1. เป็ นปั ญหาทีมี
(Interdependence) ไม่สามารถแยก
่
่องกับปั ญหาอืน
่
เด็ดขาด ช ัดเจน แต่จะเกียวเนื
่
ๆ เช่น ปั ญหาความยากจน (จะเกียวข้
องกับ
ปั ญหาทางการศึกษา ปั ญหาสุขภาพ
คมนาคม การบริการต่าง ๆ) หรือปั ญหาแหล่ง
่
เสือมโทรม
(แรงงานอพยพ การศึกษา การ
ว่างงาน)
่ ความสัมพันธ ์กับต ัวผู ก
2. เป็ นปั ญหาทีมี
้ าหนด
้
นโยบาย (Subjectivity) ขึนกับมุ
มมองหรือ
การวิเคราะห ์ของผู ก
้ าหนดนโยบาย
่
3. เป็ นเรืองของการสร
้างสรรค ์และคิดคานึ ง
้
(Artificiality) ขึนอยู
่ก ับการร ับรู ้และการ
นิ ยามของผู ก
้ าหนดนโยบาย และ
้
ขันตอนการจ
ัดทาข้อเสนอนโยบาย
• จัดระเบียบวาระและเปิ ดให้มก
ี ารอภิปราย
่
• สารวจสถานการณ์เพือให้
รู ้ว่าการจัดทา
ข้อเสนอนโยบายควรใช้แนวทางใด
้
* กาหนดนโยบายขึนใหม่
* การปร ับปรุงนโยบายเดิม หรือการ
่
่
เปลียนแปลงเพิ
มเติ
มนโยบาย
ให้ดข
ี น
ึ้
่ ดเลือก
ตัวแบบการตัดสินใจเพือคั
ทางเลื
อ
กนโยบาย
1. ตัวแบบสมเหตุสมผล (Rational Model) มุ่ง
•
•
•
•
่ คา
เลือกข้อเสนอนโยบายทีมี
่ ผลประโยชน์ทาง
่ ด
สังคมสู งกว่าค่าต้นทุนสู งทีสุ
ผู ต
้ ัดสินใจจะต้องดาเนิ นการดังนี ้
ศึกษาให้รู ้ถึงค่านิ ยมของสังคมและ
ความสาคัญของค่านิ ยม
ศึกษารายละเอียดของข้อเสนอนโยบาย
้
่
ทังหมดที
เสนอมา
ศึกษาให้รู ้ถึงผลประโยชน์ทคาดว่
ี่
าจะได้ร ับ
จากข้อเสนอนโยบายแต่ละข้อ
คานวณสัดส่วนผลประโยชน์ตน
้ ทุนของ
่ (Incremental Model)
2. ต ัวแบบส่วนเพิม
• เป็ นการพิจารณาว่านโยบายเดิมดีแล้ว
่ าอยู ่ และเห็น
• เห็นชอบแผนงานโครงการทีท
ด้วยจะดาเนิ นการต่อ
• จะมุ่งพิจารณาเฉพาะแผนงานและนโยบายใหม่
่ มหรื
่
ทีเพิ
อปร ับปรุง
• ประหยัดเวลา/งบประมาณ
่
• หากเปลียนแปลงนโยบายอาจมี
ผลทาง
การเมือง
กาหนดทางเลือก มีขอ
้ ควรพิจารณาด ังนี ้
(1) อุปสรรคและโอกาสของนโยบาย
(กฎหมาย ทร ัพยากร ความรู ้ ค่านิ ยม)
่
้
(2) ข้อสมมติฐานทีจะใช้
เป็ นพืนฐานในการ
กาหนดนโยบาย (ค้นหาสาเหตุวา
่ มีอะไรบ้าง)
่
(3) ความขัดแย้งหรือเห็นด้วยกับนโยบายทีจะ
้
กาหนดขึน
่
่
(4) รู ปแบบของพฤติกรรมทัวไปที
จะก
าหนด
้ จะมี
่
ขึนที
ผลกระทบต่อ และได้ร ับ ผลกระทบ
้
จากนโยบายนัน
(5) มิตด
ิ า้ นเวลา
(6) ขอบเขตของนโยบาย
กาหนดแนวทางการกระทาของแต่ละทางเลือก
(1) กาหนดเป้ าหมายของการแก้ปัญหา
(2) จัดทาแนวทางและมาตรการในการ
ดาเนิ นการ
่
(3) กาหนดผู ร้ ับผิดชอบทีจะด
าเนิ นการตาม
่ าหนดขึน
้
แนวทางและมาตรกรทีก
กลยุทธ ์ในการตัดสินใจเลือก
นโยบายเป็ นอย่างไร
• การต่อรอง (bargaining) ปร ับเป้ าหมายที่
ไม่สอดคล้องก ันให้ยอมร ับร่วมก ัน โดยการ
่
เจรจา แลกเปลียน
ให้รางวัล และ
ประนี ประนอม
• การโน้มน้าว (Persuasion) ความพยายาม
่
ทาให้เชือหรื
อยอมร ับ และสนับสนุ นด้วย
ความเต็มใจ
่
• การสังการ
(Command) การใช้อานาจที่
เหนื อกว่าในการบังคับการตด
ั สินใจ
• เสียงข้างมาก (Majority) การอาศ ัยการลง
56
่
การทีจะท
าให้นโยบายสาธารณะเป็ น
่ นจริง นาไปสู ่การ
แนวทางปฏิบต
ั ิ ทีเป็
ดาเนิ นการต่าง ๆได้ ควรมีองค ์ประกอบ
สาคัญดังนี ้
่
• ต้องมีจด
ุ หมาย วัตถุประสงค ์ เป้ าหมาย ที
กาหนดไว้ช ัดเจน
• ต้องมี ยุทธศาสตร ์ ยุทธวิธ ี วิธก
ี ารสาคัญ และ
่
กลไกการขับเคลือน
ผลักด ัน
้
• ต้องมีแผน ลาด ับขันตอนก
าหนดการกระทา
่
ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับเวลา สถานที่ เพือให้
บรรลุจด
ุ หมาย
• ต้องมีประกาศให้ประชาชน สังคมร ับรู ้โดยทัว่
่
กัน (แถลงต่อสภา ประกาศผ่านสือมวลชน
เป็ นต้น)
ส่วนที่ 5 การศึกษานโยบาย
สาธารณะ
แนวทางในการศึกษานโยบาย
สาธารณะ
แบ่งเป็ น 2 แนวทางคือ
1.การศึกษานโยบายสาธารณะเชิงพรรณา
(Descriptive Approach) เป็ น
่
การศึกษาเกียวกั
บตัวนโยบายและ
กระบวนการ
2.การศึกษานโยบายเชิงเสนอแนะ
(Prescriptive Approach) เน้นแสวงหา
่
ความรู ้เกียวกั
บกระบวนการนโยบาย โดย
่
ใช้เทคนิ ควิธแ
ี ละเครืองมื
อต่างๆ
1. แนวทางการศึกษานโยบาย
สาธารณะในเชิงพรรณนา
่
เป็ นรู ปแบบการศึกษาวิจ ัยเพือหาความรู
้
่
เกียวกับต
ัวนโยบายและกระบวนการนโยบาย
(knowledge of policy and the policy
process) โดยอาจแยกออกเป็ นลักษณะต่างๆ
คือ
่
้
1. การศึกษาเกียวกับเนื
อหาสาระของต
ัว
่
นโยบาย (policy content) ครอบคลุมเรือง
ของความเป็ นมา เจตนารมณ์ ลักษณะ และ
การดาเนิ นงานของนโยบาย
่
2. การศึกษาเกียวกับกระบวนการนโยบาย
(policy process) มักจะพยายามอธิบายว่า
60
่
่ นต ัวกาหนด
3. การศึกษาเกียวกับปั
จจัยทีเป็
นโยบาย (policy determinants) และ
ผลผลิตของนโยบาย (policy outputs)
่
เป็ นเรืองของการอธิ
บายรู ปแบบความสัมพันธ ์
เชิงเหตุผล (causal model) ระหว่างตัวแปร
ปั จจัยสภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ
่
้ างๆ
การเมือง สังคม และเครืองบ่
งชีต่
(indicators)
่
4. การศึกษาเกียวกับผลลั
พธ ์หรือผลกระทบของ
ตัวนโยบาย (policy outcomes/impact)
่ ดขึนของนโยบายต่
้
เป็ นการอธิบายถึงผลทีเกิ
อ
้
่
สังคมส่วนรวม ทังในส่
วนทีคาดหวังไว้
และผล
้ั
พลอยได้ทไม่
ี่ ได้ตงใจคาดหวังไว้
61
2. แนวทางการศึกษาในเชิง
เสนอแนะ
่
เป็ นรู ปแบบการศึกษาวิจ ัยเพือหาความรู
้ใน
กระบวนการนโยบาย หรือตอบคาถามว่า
นโยบายควรจะถูกกาหนดอย่างไร โดยอาจเป็ น
ลักษณะต่างๆคือ
1. การให้สารสนเทศสาหร ับการกาหนดนโยบาย
(information for policy-making) เช่น
่
การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห ์ข้อมู ลเพือ
ประกอบการตัดสินใจของผู ก
้ าหนดนโยบาย
่
การให้คาแนะนาเกียวกับนั
ยของทางเลือกเชิง
นโยบายในแง่ มุมต่างๆ เป็ นต้น โดยอาศ ัย
62
2. การให้การสนับสนุ นนโยบาย (policy
่ นเรืองของการ
่
advocacy) ซึงเป็
ประยุกต ์เทคนิ ควิธก
ี ารวิเคราะห ์ต่างๆ
่ างเหตุผลสนับสนุ นนโยบายใด
เพืออ้
นโยบายหนึ่ ง หรือทางเลือกใดทางเลือก
่ ดว่าเหมาะสมทีสุ
่ ดในการแก้ไข
หนึ่ งทีคิ
ปั ญหาต่างๆของสังคม
63
การวิเคราะห ์นโยบายสาธารณะ
่ เสนอ
้
การวิเคราะห ์นโยบายสาธารณะ ในทีนี
2
มิต ิ
• การวิเคราะห ์ นโยบายสาธารณะในมิตเิ ชิง
ระบบ มี 5 ส่วน
• การวิเคราะห ์ นโยบายสาธารณะ
ในมิต ิ กระบวนการแห่งการเรียนรู ้ของสังคม
การวิเคราะห ์ นโยบายสาธารณะในมิตเิ ชิง
ระบบ มี 5 ส่วน
•
•
การศึกษาต ัวกาหนดของนโยบายสาธารณะ
(public policy determination) เป็ น
่
การศึกษาสาเหตุหรือทีมาของนโยบาย
สาธารณะ โดยการหาความสัมพันธ ์ระหว่าง
้
ปั จจัยต ัวแปรต่างๆ ทังทางด้
านเศรษฐกิจ
การเมืองและสังคม เช่นระด ับรายได้ การมี
ส่วนร่วมทางการเมือง การศึกษา การ
พัฒนาเมือง เป็ นต้น
การศึกษาทางเลือกของนโยบายสาธารณะ
(public policy choice) เป็ นการพิจารณา
ทางเลือกแล้วนามาจัดลาด ับความสาค ัญ
• การนานโยบายสาธารณะไปปฏิบต
ั ิ (public
policy implementation) เป็ นการหา
ประสิทธิผล และประสิทธิภาพ
• การศึกษาผลกระทบของนโยบายสาธารณะ
้ งที
่ เกิ
่ ดขึนโดย
้
(public policy impact) ทังสิ
้ั
้ั
ตงใจ(intended)หรื
อไม่ตงใจ(unintended)
้
ทังทางบวกและทางลบ
• การศึกษาวัฏจักรของนโยบายสาธารณะ
(public policy cycle) เป็ นการศึกษาถึง
เหตุผลและพลวัตของการต่อเนื่องหรือการ
้ ดตลอดจนการแปรรู ปของนโยบาย
สินสุ
•
•
•
การวิเคราะห ์ นโยบายสาธารณะ
ในมิต ิ กระบวนการแห่งการเรียนรู ้ของ
สังคม
การก าหนดและการให้ค วามส าคัญ ของ
จุดหมาย เป้ าหมาย ของนโยบายสาธารณะ
่
ผู ท
้ มี
ี่ ส่วนเกียวข้
องจะต้องมีความชด
ั เจนและ
่ กแน่ น
มีจด
ุ ยืนทีหนั
่
่ น
กระบวนการคิดจะต้องเริมจากมุ
มมองทีเห็
ว่านโยบาย เป็ นทัง้ ”กระบวนการ” มิใช่เพียง
แค่ “คาประกาศ” 2
ก ร ะ บ ว น ก า ร นโ ย บ า ย ส า ธ า ร ณ ะ เ ป็ น
่ อ เนื่ อง การติด ตามในเรือง
่
กระบวนการทีต่
นโยบายสาธารณะในแต่ละด้าน จึงเป็ นพันธะ
กิ จ ที่ ต้อ ง ก า ร ก า ร เ รีย น รู ้ แ ล ะ ก า ร สั่ง ส ม
้
• กระบวนการนโยบายสาธารณะจะเกิด ขึน
่
ควบคู ่กบ
ั การมีส่วนร่วม และการเคลือนไหว
่ อยู ่ใ นสังคมเสมอ การมีส่ วน
ขององค ์กรทีมี
ร่ว มของประชาชนจะท าให้ท ราบถึง การให้
่
คุณค่า (หรือการให้ความสาคัญ ) ทีแตกต่
าง
กันในสัง คม การน าเสนอข้อ มู ล หลัก ฐานที่
่ บ
อาจจะยังไม่ เ ป็ นทีร
ั ทราบกันในสัง คม และ
อาจน าไปสู ่ ก ารระดมทร พ
ั ยากรร่ว มกันใน
สังคม การมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบาย
สาธารณะควรเป็ นไปในลัก ษณะที่ต่ อ เนื่ อง
ตามธรรมชาติข องกระบวนการนโยบาย
ส่วนที่ 6 วิธก
ี ารวิเคราะห ์
้
ในแต่ละขันตอนนโยบายสาธารณะ
1. การศึกษาตัวกาหนดของการก่อ
ตัวนโยบายสาธารณะ
่
1. การศึกษาอนาคตศาสตร ์ เพือ
คาดการณ์ พยากรณ์ สังคม
แนวโน้มของปั ญหาในอนาคต วิธ ี
การศึกษา ได้แก่ การ Forecasting,
การ Foresight, การทา
Envisioning, และ การทา Testing
้ งใช้การ
options นอกจากนี ยั
วิเคราะห ์ข้อมู ลจากสถิตต
ิ า
่ งๆ
(statistical data analysis) การ
้ั
2. การวิเคราะห ์สถานการณ์ทงภายใน
่
และภายนอก เพือหาความสั
มพันธ ์
้
ระหว่างปั จจัยตัวแปรต่างๆ ทังทางด้
าน
เศรษฐกิจ การเมือง สังคม เทคโนโลยี
่
และสิงแวดล้
อม เช่นทุนทางสังคม
ระดับรายได้ การมีส่วนร่วมทางการ
เมือง การศึกษา การพัฒนาเมือง
่
สภาวะเรืองทร
ัพยากรธรรมชาติและ
่
้
สิงแวดล้
อมเป็ นต้น นอกจากนี จะท
าให้
ทราบถึงสถานะของปั ญหาหรือวาระ
้
นโยบายนันๆในสถานการณ์
ปัจจุบน
ั
ปั จจุบน
ั มักใช้การวิเคราะห ์เชิง
3. การวางทิศทาง จุดหมาย เป้ าหมาย
่ นแนวทางทีสั
่ งคม
ของการพัฒนา ซึงเป็
เห็นร่วมกัน โดยอาศ ัยข้อมู ลจาก
การศึกษาอนาคตศาสตร ์และการ
้ั
วิเคราะห ์สถานการณ์ทงภายในและ
ภายนอก ประกอบในกระบวนการ
้
ศทาง จุดหมาย อาจใช้
ขันตอนการวางทิ
การสารวจทัศนคติ (opinion surveys)
การสร ้างเวทีสาธารณะ การประชุมกลุ่ม
ย่อยในแต่ละ Stakeholder การประชุม
้ เพื
้ อการระดม
่
เชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร ทังนี
2. การศึกษาทางเลือกของนโยบาย
สาธารณะและการต ัดสินใจ
1. การสร ้างเกณฑ ์ประเด็นความสาคัญในมิต ิ
่
ต่างๆแล้ววางเมตริกซ ์เกียวกับการจัดล
าดับ
ความสาคัญ (priority matrix)
2. การใช้เทคนิ คการต ัดสินใจแบบ Decision
Tree
3. การตัดสินใจแบบ Pareto Analysis
4. การตัดสินใจแบบ Paired Comparison
Analysis
5. การตัดสินใจแบบ PMI
'Plus/Minus/Implications'
6. การตัดสินใจแบบ Grid Analysis
7. การวิเคราะห ์เชิงเศรษฐศาสตร ์เช่น การ
วิเคราะห ์ต้นทุนผลประโยชน์(Cost/Benefit
Analysis) วิธท
ี างเศรษฐมิต(ิ econometric
methods)
3. การนานโยบายสาธารณะไปปฏิบต
ั ิ
การติดตามและควบคุม
รู ปธรรมของการนานโยบายสาธารณะไปสู ่
การปฏิบต
ั ิ คือการมีแผนปฏิบต
ั ก
ิ ารและแผน
้
้ งเป็ นการศึกษา
กิจกรรม ขันตอนนี
จึ
กระบวนการจัดทาแผนกลยุทธ รวมถึงการ
ติดตามและควบคุมการปฏิบต
ั งิ านตามแผน ใน
การวิเคราะห ์จะเป็ นการหาประสิทธิผล และ
่ จะเป็ น
ประสิทธิภาพของแผน เทคนิ คทีใช้
่ ยวข้
่
เทคนิ คทีเกี
องกับการบริหารจัดการเชิงกล
่
ยุทธ เช่น การทา Content Analysis เพือดู
ความสอดคล้องเชิงบริบทของแผน เทคนิ ค
การบริหาร เช่น การบริหารโดยยึด
่ ารปฏิบ ัติ (ศ.ดร.
ต ัวแบบการนานโยบายสูก
วรเดช จ ันทรศร)
่ ดหลักเหตุผล (Rational
• ตัวแบบทียึ
Model)
• ตัวแบบทางด้านการจัดการ
(Management Model)
• ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค ์กร
(Organization Development Model)
• ตัวแบบทางกระบวนการของระบบราชการ
(Bureaucratic Processes Model)
• ตัวแบบทางการเมือง (Political Model)
• ตัวแบบเชิงบู รณาการ
๑๕
่ ดหลักเหตุผล (Rational
ต ัวแบบทียึ
Model)
วัตถุประสงค ์ของ
นโยบาย
การวางแผน
และการ
ควบคุม
การกาหนดภารกิจ
และ การมอบหมาย
งาน
มาตรฐานในการ
ปฏิบต
ั งิ าน
ระบบการวัดผล
มาตรการในการให้
คุณให้โทษ
ผลลัพธ ์ของ
การนา
นโยบายไป
ปฏิบต
ั ิ
ตัวแบบทางด้านการจัดการ
(Management Model)
สมรรถน
ะของ
องค ์กร
โครงสร ้า
ง
บุคลากร
งบประมา
ณ ่
สถานที
วัสดุ
อุปกรณ์
่
เครืองมื
อ
่
เครืองใช้
ผลลัพธ ์
ของการ
นา
นโยบาย
ไปปฏิบต
ั ิ
© ศำสตรำจำรย ์ ดร. วรเดช จันทรศร
ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค ์กร
(Organization Development Model)
ภาวะผู น
้ า
การมีส่วน
ร่วม
ผลลัพธ ์
ของการนา
นโยบายไป
ปฏิบต
ั ิ
การจู งใจ
การทางาน
เป็ นทีม
ความผู กพัน
และ การ
ยอมร ับ
© ศำสตรำจำรย ์ ดร. วรเดช จันทรศร
ตัวแบบทางกระบวนการของระบบราชการ
(Bureaucratic Processes Model)
ระด ับความเข้าใจสภาพความ
เป็ นจริงในการให้บริการของผู ้
กาหนดนโยบายหรือผู บ
้ ริหาร
โครงการ
ระด ับของการยอมปร ับนโยบาย
เข้าเป็ นส่วนหนึ่งของหน้าที่
ประจาวันของผู ป
้ ฏิบต
ั ิ
ผลลัพธ ์ของการ
นานโยบาย ไป
ปฏิบต
ั ิ
ต ัวแบบทางการเมือง (Political
Model)
Talent
จานวนหน่ วยงานที่
่
เกียวข้
องในการนา
นโยบายไปปฏิบต
ั ิ
ความสามารถใน
การต่อรอง
Power/Sta
tus
การสนับสนุ นจาก
Persona
lity
ฝ่ายต่างๆ
ผลลัพธ ์ของ
การนา
นโยบายไป
ปฏิบต
ั ิ
ต ัวแบบเชิงบู รณาการ
ประสิทธิภาพใน
การวางแผนและ
การควบคุม
สมรรถนะของ
องค ์กร
ภาวะผู น
้ าและ
ความร่วมมือ
การเมืองและการ
บริหาร
สภาพแวดล้อม
ภายนอก
ความสาเร็จ
ของการนา
นโยบายไป
ปฏิบต
ั ิ
มิตท
ิ ี่ 1
มิตท
ิ ี่ 2
มิตท
ิ ี่ 3
4. การศึกษาผลกระทบของ
นโยบายสาธารณะ
หลักการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพ (
่
่
Health Impact Assessment) ซึงโดยทั
วไป
้ั
จะมีขนตอนด
ังนี ้
่
• การกลันกรองข้
อเสนอนโยบายหรือ
โครงการ (Screening)
• การกาหนดขอบเขตและแนวทางการ
ประเมินผลกระทบโดยสาธารณะ (Public
Scoping)
• การวิเคราะห ์ (Apprisal) และร่างรายงาน
การประเมินผลกระทบ (Reporting)
• การทบทวนร่างรายงานโดยสาธารณะ
(Public Review)
• การมีบทบาทในกระบวนการตัดสินใจ
5. การศึกษาวัฏจักรของนโยบาย
สาธารณะ
่ กษาถึงเหตุผลและ
เป็ นการวิเคราะห ์เพือศึ
่ นต ัวกาหนด การดาเนิ นนโยบาย
พลวัตทีเป็
สาธารณะ ว่าจะดาเนิ นการต่อเนื่อง หรือปร ับ
้ ด
หรือสร ้างนโยบายสาธารณะทดแทนและสินสุ
นโยบายสาธารณะ (public policy
maintenance succession & termination)
้
ในประเด็นนัน
วิธใี ช้การวิเคราะห ์ผล
สัมฤทธิของนโยบายสาธารณะกับความ
สอดคล้องของสถานการณ์ปัจจุบน
ั ในประเด็น
้
นันๆ
ส่วนที่ 7 วิธก
ี ารวิเคราะห ์บริบท
และองค ์ประกอบนโยบายสาธารณะ
1. การวิเคราะห ์บริบทของนโยบาย
สาธารณะ
่
สาระสาคัญโดยทัวไปของการวิ
เคราะห ์มีดงั นี ้
่
่
• เป็ นการตัดสินใจทีจะกระท
าเพือผลประโยชน์
ของ
่
ประชาชนจานวนมาก มิใช่การตัดสินใจเพือ
ประโยชน์เฉพาะบุคคล และเป็ นชุดของการตัดสินใจ
่ นระบบมิใช่การตัดสินใจแบบเอกเทศ
ทีเป็
่
• เป็ นการเลือกทางเลือกทีจะกระท
า โดยพิจารณาจาก
้
่ ด ทังทาง
่
สุ
ผลการวิเคราะห ์ทางเลือกทีเหมาะสมที
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
• ผู ม
้ อ
ี านาจในการกาหนดนโยบายสาธารณะใน
ภาคร ัฐได้แก่ ผู น
้ าทางการเมือง ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิ ต ิ
บัญญัต ิ ฝ่ายตุลาการ พรรคการเมือง สถาบัน
ราชการ ข้าราชการและประมุขของประเทศ
่ อกทีจะกระท
่
• กิจกรรมทีเลื
าต้องเป็ นชุดของการกระทา
่ แบบแผน ระบบและกระบวนการอย่างช ัดเจน มี
ทีมี
การสานต่ออย่างสม่าเสมอ และต่อเนื่ อง
่ อกทีจะกระท
่
• กิจกรรมทีเลื
าต้องมีเป้ าหมาย
่
ว ัตถุประสงค ์หรือจุดมุ่งหมายเพือตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนจานวนมาก
่ องกระทาให้ปรากฏเป็ นจริง มิใช่เป็ น
• เป็ นกิจกรรมทีต้
้
่
เพียงการแสดงเจตนารมณ์หรือความตังใจที
จะกระท
า
้
ด้วยคาพู ดเท่านัน
่ อกกระทาต้องมีผลลัพธ ์ในการแก้ไข
• กิจกรรมทีเลื
่ าคัญของสังคม ทังปั
้ ญหาความขัดแย้งหรือ
ปั ญหาทีส
ความร่วมมือของประชาชน
• เกิดจากการต่อรองหรือประนี ประนอมระหว่างกลุ่ม
่
ผลประโยชน์ทเกี
ี่ ยวข้
อง
2. การวิเคราะห ์องค ์ประกอบของนโยบาย
สาธารณะ
2.1 วัตถุประสงค ์ (Objectives) คือการวิเคราะห ์
่ จริงของนโยบาย เพือให้
่ ผู
่
่ ้
ว ัตถุประสงค ์ทีแท้
รู ้ว่าสิงที
่
ตัดสินใจมีประสงค ์ทีจะบรรลุ
จุดหมายใด
2.2 ทางเลือก (Alternatives) ทางเลือกอาจจะอยู ่ในรู ป
ของนโยบาย กลยุทธ ์หรือการกระทาอย่างใดอย่าง
หนึ่ งก็ได้ ข้อสาคัญประการหนึ่ งคือ ทางเลือกไม่
จาเป็ นต้องทดแทนกันอย่างแท้จริงเสมอไป และไม่
จาเป็ นต้องกระทาในรู ปแบบเดียวกัน
่ าเป็ นสาหร ับการพิจารณา
ปั จจัยและข้อมู ลต่าง ๆ ทีจ
ทางเลือก ได้แก่
สาระสาคัญของทางเลือก (description)
ประสิทธิผลของทางเลือก (effectiveness)
ต้นทุน (Cost)
2.3 ผลกระทบ (Impacts) หมายถึงชุดของ
่
้ ันเนื่องมาจากการเลือก
ผลลัพธ ์ทีจะเกิ
ดขึนอ
่
ทางเลือกเพือให้
บรรลุว ัตถุประสงค ์ตามที่
ต้องการ ผลกระทบของแต่ละทางเลือกอาจจะ
้ั
เป็ นได้ทงผลกระทบในทางบวกและผลกระทบ
ในทางลบ
2.4 เกณฑ ์การวัด (Criteria) หมายถึง กฎหรือ
่ จ ัดลาด ับความสาค ัญของ
มาตรฐานทีใช้
่
ทางเลือกตามทีประสงค
์ เกณฑ ์การวัดมี
ความสัมพันธ ์กับวัตถุประสงค ์ของทางเลือก
และผลกระทบ
2.5 ตัวแบบ (Models) หัวใจของการวิเคราะห ์
การตัดสินใจ คือ กระบวนการหรือการ
่
่
สร ้างสรรค ์ทีสามารถท
านายผลทีจะเกิ
ด
3. การวิเคราะห ์นโยบายสาธารณะโดย
แนวทางเชิงประจก
ั ษ ์ (empirical
approach)
่ ่งแสวงหาข้อเท็จจริง
เป็ นแนวทางทีมุ
้ั าถามว่า “มีอะไรปรากฏ
(facts) โดยการตงค
่
อยู ่บา้ ง” เพือการอธิ
บายว่าอะไรคือปั ญหา
่ งคมเผชิญอยู ่ โดยพิจารณาจาก
นโยบายทีสั
สาเหตุ (causes) และผล (Consequences)
่ าเนิ นการมาแล้ว ในกรณี นี้
ของนโยบาย ทีด
นักวิเคราะห ์นโยบายอาจพรรณนา (
describe) หรืออธิบาย (explain) หรือทานาย
่
จา
่ ยสาธารณะ
(predict) เกียวกับการใช้
สาหร ับการสาธารณสุข การศึกษาและการ
ตัวอย่าง การวิเคราะห ์ตามแนวทาง
เชิงประจักษ ์
การวิเคราะห ์เส้นทาง (Utility of Path
Analysis)
่ ความน่ าเชือถื
่ อมากทีสุ
่ ด
ระเบียบวิธวี จ
ิ ัยทีมี
ประการหนึ่ง ในการขยายความช ัดเจนของ
่
กรอบความคิดเชิงสาเหตุและผล เกียวกับ
สาเหตุ (causes) และผลลัพธ ์
(consequences) ของนโยบายสาธารณะ คือ
การวิเคราะห ์เส้นทาง (path analysis)
4. การวิเคราะห ์นโยบายสาธารณะ
โดยแนวทาง
เชิงประเมิน (Evaluative
แนวทางเชิapproach)
งประเมิน (Evaluative
่ ่งจะอธิบายถึง
approach) เป็ นแนวทางทีมุ
คุณค่า (worth) หรือค่านิ ยม (value) ของ
่ ตอ
้ั าถาม
สังคมทีมี
่ ปั ญหานโยบาย โดยการตงค
ว่า “ปั ญหานโยบายดังกล่าวมีคณ
ุ ค่าอะไร” ต่อ
่
สังคม และลักษณะของข้อมู ลทีจะน
ามาใช้ใน
่
การวิเคราะห ์นโยบาย อาจจะประเมินเกียวกับ
นโยบายภาษี โดยการเปรียบเทียบความ
แตกต่างจากการกระจายภาระภาษีทแต่
ี่ ละกลุ่ม
ได้ร ับตามลักษณะค่านิ ยมทางจริยธรรม
5. การวิเคราะห ์นโยบายสาธารณะ
โดยแนวทาง
เชิงปทัสถาน (normative
แนวทางเชิapproach)
งปทัสถาน (normative
่ ่งเสนอทางเลือก
approach) เป็ นแนวทางทีมุ
่
เพือการแก้
ไขปั ญหาในอนาคต (future
้ั าถามว่า
courses of action) โดยการตงค
“ควรจะทาอะไรให้เรียบร ้อย” ลักษณะของ
่ องการใช้จะเป็ นข้อมู ลเกียวกับการ
่
ข้อมู ลทีต้
เสนอแนะ (prescriptive) เช่น นโยบายการ
้ั าของประชาชนอาจเป็
่
ประกันรายได้ขนต
น
่
ไขปั ญหาความยากจนใน
ข้อเสนอเพือการแก้
สังคม เป็ นต้น
่
สรุป สาระสาคัญทีควรค
านึ งถึงใน
การวิเคราะห ์นโยบาย
ประการแรก การวิเคราะห ์นโยบายเป็ น
่
สังคมศาสตร ์ประยุกต ์ทีอาศ
ัยองค ์ความรู ้จาก
่
สาขาวิชาต่าง ๆ เพือวัตถุ
ประสงค ์ในการ
พรรณนา (descriptive) ประเมินผล
(evaluative) และกาหนดคุณค่า
่ งปรารถนา การ
(normative) ของนโยบายทีพึ
วิเคราะห ์นโยบายมิได้ใช้เฉพาะความรู ้จาก
สาขาสังคมศาสตร ์และพฤติกรรมศาสตร ์
้ แต่ยงั อาศ ัยความรู ้จากร ัฐประศาสน
เท่านัน
ศาสตร ์ นิ ตศ
ิ าสตร ์ ปร ัชญา จริยธรรม รวมทัง้
่
่
่
ประการทีสอง
เป็ นทีคาดหวังกันว่
านักวิเคราะห ์
นโยบายจะต้องนาเสนอ (produce) และแปลง
่
เปลียน
(transform) ระบบข้อมู ล
่
(information) เกียวกับค่
านิ ยม (values)
ความจริง (facts) และการกระทา (actions)
่
ให้เป็ นทีประจักษ
์ช ัดแก่ผูต
้ ัดสินใจนโยบาย
่
ลักษณะของระบบข้อมู ลด ังกล่าวจะเกียวข้
อง
กับแนวทางการวิเคราะห ์นโยบาย 3 แนวทาง
คือ แนวทางเชิงประจักษ ์ (empirical)
แนวทางเชิงประเมิน (evaluative) และ
่
ประการทีสาม
ข้อเสนอแนะจากการวิเคราะห ์
่ ดหลักเหตุผล
นโยบายเกิดจากกระบวนการทียึ
(rational process) โดยนักวิเคราะห ์จะ
่ าไปสู ่ขอ
แสวงหาข้อมู ลและเหตุผลเพือน
้ สรุป
่
เกียวกับทางเลื
อกในการแก้ไขปั ญหาของ
ประชาชน การผลักดันนโยบายจะต้องไม่นามา
่
่
ซึงความสั
บสนเกียวกับอารมณ์
ความต้องการ
(emotional appeals) อุดมการณ์ส่วนตน
(ideological platforms) หรือกิจกรรมทาง
่ ยวข้
่
การเมืองทีเกี
อง
่ ่ ขันตอนทั
้
่
ประการทีสี
วไปของการแก้
ไขปั ญหา
ของมนุ ษย ์ (human problems) ได้แก่การ
พรรณนา การทานาย การประเมินผล และ
การเสนอแนะ เป็ นต้น อาจจะปรากฏใน
ลักษณะของการเปรียบเทียบ หรือลักษณะ
้ ขึ
้ นอยู
้
ตรงกันข้าม ทังนี
่ก ับเงื่อนไขของเวลาที่
นามาใช้และชนิ ดของคาถามว่าเป็ นคาถาม
เชิงประจักษ ์ เชิงประเมิน หรือเชิงปทัสถาน
้
่
ขันตอนทั
วไปในการน
าเสนอแนวทางแก้ไข
้
้
ปั ญหาเหล่านี จะสอดคล้
องกับขันตอนการ
วิเคราะห ์นโยบายต่าง ๆ ได้แก่ การกากับ
(monitoring) การพยากรณ์ (forecasting)
การประเมินผล (evaluation) และการ
เสนอแนะ (recommendation) นอกจากนี ้
นักวิเคราะห ์จะต้องตระหนักไว้ดว้ ยว่า เป็ นการ
่ า ระเบียบวิธก
ประการทีห้
ี ารวิเคราะห ์นโยบายมี
้
ลักษณะความสัมพันธ ์แบบลาด ับขัน
่
่
(hierarchically related) และพึงพาซึ
งกัน
และกัน (interdependent) บางระเบียบวิธก
ี าร
วิเคราะห ์ อาทิเช่น การกากับ อาจใช้
่
กระบวนการของตนเอง ในขณะทีระเบี
ยบวิธ ี
่ ๆ อาทิเช่นการประเมินผล อาจต้องใช้
อืน
่ ดขึนก่
้ อนหน้าการ
ระเบียบวิธอ
ี น
ื่ ๆ ทีเกิ
ประเมินผลด้วย ส่วนการเสนอแนะอาจต้องใช้
้
่
ทังระเบี
ยบวิธเี กียวกับการก
ากับ การ
้ ้
ประเมินผล และการพยากรณ์ ร่วมกัน ทังนี
่ เกิ
่ ดจากการ
เพราะการเสนอแนะ คือสิงที
่
่
ประการทีหก
ความรู ้เกียวกับอะไร
(what) เป็ น
่
เรืองของความจริ
ง (facts) ส่วนความรู ้
่
่ ถู
่ กต้อง (right) เป็ นเรือง
่
เกียวกับอะไรเป็
นสิงที
่
่
ของค่านิ ยม (values) และความรู ้เกียวกับเรื
อง
่
่
ทีจะท
าอะไรเป็ นเรืองของการกระท
า (action)
่
้ องการระเบียบวิธวี จ
สิงเหล่
านี ต้
ิ ัยหลากหลาย
่
ร่วมกันในการแสวงหาคาตอบเกียวกับการ
แก้ไขปั ญหาของสังคม การกาหนดนโยบายใน
อนาคต (policy futures) การนานโยบายไป
ปฏิบต
ั ิ (policy action) ผลลัพธ ์นโยบาย
(policy outcomes) และระด ับความสาเร็จ
่ ด การแสวงหาของนักวิเคราะห ์
ประการทีเจ็
้ ใช่แต่เพียงการนาเสนอข้อมู ลที่
นโยบายนันมิ
่
ค้นพบ แต่จะต้องแปลงเปลียน
(Transform)
่
ข้อมู ลให้เป็ นส่วนหนึ่งของความรู ้เกียวกับการ
่ งปรารถนาด้วย การ
แสวงหานโยบายทีพึ
่
ถกเถียง (arguments) เกียวกับนโยบาย
สะท้อนให้เข้าใจถึงเหตุผลว่าทาไมประชาชน
ในแต่ละชุมชนจึงมีความเห็นแตกต่างกัน
่
อกนโยบายทีร่ ัฐบาลนาไปปฏิบต
เกียวกับทางเลื
ั ิ
่
่
ซึงจะเป็
นพาหะสาค ัญในการอภิปรายเกียวกับ
่
ประการทีแปด
การวิเคราะห ์นโยบายเป็ น
กระบวนการร ับรู ้ (cognitive process) ที่
่
สาคัญ ในขณะทีการก
าหนดนโยบาย (policy
้
making) เป็ นกระบวนการทางการเมือง ด ังนัน
นอกจากปั จจัยทางด้านระเบียบวิธก
ี ารวิจ ัย
่ ผลต่อการวิเคราะห ์
(methodology) ทีมี
่ ๆ ทางการเมืองอีก
นโยบายแล้ว ปั จจัยอืน
หลายประการ จึงถูกนามาใช้ประโยชน์ใน
กระบวนการกาหนดนโยบายด้วย สาหร ับ
้
นักวิเคราะห ์นโยบายนันแท้
ทจริ
ี่ งคือผู ม
้ ส
ี ่วนได้
่
่ า ประเด็นของนโยบายสาธารณะ
ประการทีเก้
่
ทีปรากฏในสั
งคมเป็ นผลมาจากการนิ ยาม
่ างกันของปั ญหานโยบาย และ
ความขัดแย้งทีต่
การนิ ยามปั ญหานโยบายถูกกาหนดโดยแบบ
่
แผนของความเกียวพั
นกันระหว่างผู ม
้ ส
ี ่วนได้
่ ความต้องการแตกต่างกัน และการ
เสียทีมี
่
ตอบสนองต่อสิงแวดล้
อมนโยบายร่วมกัน
่ บ การวิเคราะห ์นโยบายในฐานะทีเป็
่ น
ประการทีสิ
กระบวนการแสวงหาทางเลือกนโยบายที่
่
เหมาะสม มีความเกียวข้
องกับองค ์ประกอที่
สาค ัญ 3 ประการ ได้แก่ ระเบียบวิธก
ี าร
วิเคราะห ์นโยบาย (policy-analytic
methods) องค ์ประกอบของระบบข้อมู ล
นโยบาย (policy-informational
่
components) และการแปลงเปลียนระบบ
ข้อมู ลนโยบาย (policy-informational
้
transformations) ทังระเบี
ยบวิธก
ี ารวิเคราะห ์
่
และระบบข้อมู ลต่างมีความสัมพันธ ์แบบพึงพา
่
ซึงกันและกัน
่ บเอ็ด การวิเคราะห ์นโยบายสามารถ
ประการทีสิ
จาแนกได้ 3 รู ปแบบ คือ การวิเคราะห ์หลังการ
นาไปปฏิบต
ั ิ (retrospective) การวิเคราะห ์
ก่อนนาไปปฏิบต
ั ิ (prospective) และการ
่ ่
วิเคราะห ์แบบบู รณาการ (integrated) สิงที
แตกต่างกันระหว่างรู ปแบบดังกล่าวช่วยให้
นักวิเคราะห ์เข้าใจประเด็นสาคัญของการ
่ งไม่สามารถหาข้อแก้ไข
วิเคราะห ์นโยบายทียั
ได้ อาทิเช่น ความสาคัญของเวลา
ความสัมพันธ ์ระหว่างทฤษฎีการตัดสินใจเชิง
ประจ ักษ ์และเชิงปทัสถาน บทบาทของทฤษฎี
ประการที่ 12 กรอบการวิเคราะห ์นโยบายเชิง
บู รณาการจะบอกให้ทราบว่าจะต้องใช้ระเบียบ
่ นวิถ ี
วิธอ
ี ะไรในการวิเคราะห ์นโยบาย ซึงเป็
(means) สาค ัญในการกาหนดมาตรฐาน กฎ
้
และขันตอนในการวิ
เคราะห ์นโยบาย
นอกจากนี ้ กรอบการวิเคราะห ์เชิงบู รณาการ
่ นเครืองมื
่
ยังทาหน้าทีเป็
อในการสังเคราะห ์
(synthesizing) ฐานคติทตรงกันข้
ี่
ามกัน และ
่ อยู ่
เป็ นแนวทางในการวิเคราะห ์นโยบายทีใช้
ในปั จจุบน
ั นี ้
ตารางสรุป กรอบการวิเคราะห ์นโยบายสาธารณะ
ในเชิงผสมผสานระหว่างส่วนประกอบของระบบ
กระบวนการ ตลอดจนเทคนิ ควิธ ี
ระบบ
(system)
ปั จจัยนาเข้าของ
นโยบาย
สาธารณะ
(public
policy
inputs)
้
กระบวนการขันตอน
(process and step)
การก่อต ัวของนโยบาย
สาธารณะ (public
policy formation)
- การค้นหาประเด็นปั ญหา
หรือการสร ้างวาระ
นโยบาย (issue search
or agenda-setting)
เทคนิ ควิธ ี (technique)
การสารวจทัศนคติ (opinion surveys) การ
วิเคราะห ์ข้อมู ลสถิตต
ิ า
่ งๆ(statistical data
analysis) การวิเคราะห ์เนื ้อหา(content
analysis : factor analysis) การพยากรณ์
(forecasting) และการประเมินผล
(evaluation)
ทางเลือกของ
นโยบาย
สาธารณะ
(public
policy
choices)
่
การกาหนดนโยบายสาธารณะ
เมตริกซ ์เกียวกั
บการจัดลาดับความสาคัญ
(public policy decision
(priority matrix ) และรู ปแบบการ
making)
ตัดสินใจแบบ decision trees วิธเี ชิง
่
- การกลันกรองและจากัดวง
ปริมาณ(quantitative methods)เช่น
ประเด็นปั ญหา (issue
วิธเี ศรษฐมิต(ิ econometric methods)
filtration & issue
และ การวิเคราะห ์อนุ กรมเวลา (timedefinition)
series analysis) วิธเี ชิงคุณภาพและ
- การคาดคะเนผลได้ผลเสีย
เทคโนโลยี( qualitative &
ต่างๆ(forecasting)
technological methods) เช่น วิธเี ดล
- การกาหนดวัตถุประสงค ์ การ
ไฟ(delphi) การคาดการณ์แนวโน้ม
จัดลาดับความสาคัญและการ
(trend extrapolation) แบบระบบ
วิเคราะห ์ทางเลือก(setting
พลวัต(system dynamics) และ แบบ
objectives and priorities
cross-impact analysis) วิธล
ี ง
& options analysis)
ความเห็น (judgement methods)เช่น
การระดมสมอง(brainstorming)
วิ ธ ี ก า ร วิ จ ัย เ ชิ ง ป ฏิ บ ัต ิ ก า ร ต่ า ง ๆ เ ช่ น ก า ร
้
่ ใ ช่เ ส้น ตรง
โปรแกรมทังแบบเส้
น ตรงและทีไม่
เมตริกซ ์การตอบแทน(pay-off matrix)การ
่
วิเคราะห ์ความเสียง(risk
analysis) และทฤษฎี
การรอคอย(queuing
theory)และตัวแบบ
สินค้าคงคลัง(inventory models)
วิธแ
ี บบเศรษฐศาสตร ์การเงินการงบประมาณ
เช่น การวิเคราะห ์ต้นทุนผลประโยชน์ การ
วิเคราะห ์ความอ่อนไหว (sensitivity analysis)
การงบประมาณแบบแผนงาน(planning
programming budgeting) และ
การงบประมาณแบบฐานศู นย ์ (zero-base
budgeting)
ผลผลิตของ การนานโยบาย
นโยบาย
สาธารณะไปปฏิบต
ั ิ
สาธารณ
(public policy
ะ (public
implementation)
policy
- การปฏิบต
ั งิ าน การ
outputs
ติดตามและควบคุม
)
(implementation
, monitoring &
control)
เทคนิ คการจัดองค ์กร เช่น การ
ออกแบบองค ์กรในรู ปเมตริกซ ์
(matrix structure) เทคนิ คการ
บริหาร เช่น การบริหารโดยยึด
วัตถุประสงค ์(management by
objective) program
evaluation and review
technique and critical path
method เทคนิ คเชิงพฤติกรรม
เช่น การพัฒนาองค ์การ
(organizational development
)และการสร ้างกลุ่มควบคุม
คุณภาพ(quality control
circle)
ผลลัพธ ์ของ
การประเมินผลนโยบาย เทคนิ คการวิจย
ั ประเมินผล เช่น การ
นโยบาย
สาธารณะ (public
วิจย
ั ทดลอง
สาธารณะ
policy
(experimentation)การวิจย
ั กึง่
(public
evaluation)
ทดลอง (quasi experimentation)
่ ใช่ทดลอง (nonpolicy
- การประเมินผลและ
การวิจย
ั ทีไม่
outcomes
การตรวจสอบ
experimentation)เทคนิ คการวิจย
ั
)
(evaluation and
ประเมินผลในเชิงต้นทุนreview)
ผลประโยชน์(retrospective costbenefit analysis) เทคนิ คการ
ประเมินผลในเชิงคุณภาพ
(qualitative evaluation)
ปั จจัย
ป้ อนกลับ
ของ
นโยบาย
สาธารณ
ะ (public
policy
feedbac
k)
การต่อเนื่ อง การ
ทดแทนและการ
้ ดนโยบาย
สินสุ
สาธารณะ
(public policy
maintenance
succession &
termination)
เทคนิ คการ
ออกแบบโครงสร ้าง
องค ์การใหม่
(reorganization)
และเทคนิ ค
การงบประมาณ
แบบฐานศู นย ์
่ ในการวิเคราะห ์นโยบาย
เทคนิ คทีใช้
สาธารณะ
่ ใช้ต ัวเลข
เทคนิ คทีไม่
• Brainstorming : เป็ นการผลิตความคิดและ
่ นจากต ัวปั ญหา
การประเมินความคิด อาจเริมต้
• Panel Consensus : เป็ นการให้ความเห็นโดย
่
างเปิ ดเผย
กลุ่มผู เ้ ชียวชาญอย่
่
• Delphi: เป็ นการให้ความเห็นโดยผู เ้ ชียวชาญ
โดยไม่มอ
ี ท
ิ ธิพลจากความเห็นของผู อ
้ น
ื่
้ งค่อยรวบรวมความเห็นของทุก
หลังจากนันจึ
่
คนส่งให้ผูเ้ ชียวชาญแต่
ละท่านอีกครง้ั
• Ethnographic Futures research : เป็ นการ
สัมภาษณ์แบบเปิ ดและไม่ชน
ี ้ า(non-directive
open ended) ผู ส
้ ม
ั ภาษณ์จะสรุปเป็ นช่วงๆ
เป็ นการใช้เทคนิ คการสรุปสะสม(
Cumulative summarization technique)
โดยแบ่งเป็ น ภาพอนาคตทางดี (OptimisticRealistic scenario) ภาพอนาคตทางร ้าย
(Pessimistic-Realistic scenario)และภาพ
่ าจะเป็ นไปได้มากทีสุ
่ ด(Mostอนาคตทีน่
Probable scenario)
• Ethnographic Delphi Futures research :
เป็ นการผสมผสาน Ethnographic Futures
• Visionary Forecast : เป็ นการใช้
วิจารณญาณและความรู ้สึกส่วนตัวในการ
่ มี
คาดการณ์ในอนาคต เป็ นวิธท
ี ที
ี่ ไม่
หลักเกณฑ ์
• Historical Analogy : ดูเหตุการณ์ท ี่
คล้ายคลึงกันเป็ นการเปรียบเทียบกับข้อมู ลเก่า
• Cross-Impact Analysis : เป็ นการประเมิน
่
่ องของ
อย่างเป็ นระบบถึงความสัมพันธ ์เกียวเนื
่
เหตุการณ์ทเป็
ี่ นสาเหตุและดูวา
่ โอกาสทีจะเกิ
ด
เป็ นเท่าไร
เทคนิ คอนุ กรมเวลาและการ
คาดการณ์
่
• Moving Average: การหาค่าเฉลียของข้
อมู ล
•
•
•
•
่
การถ่วงน้ าหนัก)
อนุ กรมเวลาในอดีต(ซึงอาจมี
Exponential Smoothing : คล้ายกับ Moving
่ าสุดจะได้ร ับการถ่วง
Average แต่ขอ
้ มู ลทีล่
่
น้ าหนักสู ง ยอดทีคาดการณ์
ในอนาคตจะเท่ากับ
ยอดในอดีตและปร ับปรุงด้วยความผิดพลาดใน
การพยากรณ์ในอดีต
Box-Jenkins : นาข้อมู ลอนุ กรมเวลามาทดสอบ
ลักษณะความเป็ นโมเดลทางคณิ ตศาสตร ์
X-II : ใช้ขอ
้ มู ลอนุ กรมเวลาแต่จะจาแนกตาม
่ ดปกติ
ฤดู กาล ตามแนวโน้มและข้อมู ลทีผิ
Projection : เป็ นการพยากรณ์ตามโมเดลทาง
คณิ ตศาสตร ์ เช่น Linear or Non-linear
่ ความสัมพันธ ์ระหว่าง
เทคนิ คทีใช้
ตัวแปร
• การวิเคราะห ์ความถดถอย ( Regression model)
• Econometric Model : เป็ นการใช้สมการจาก
่ นระหว่
้
Regression model หลายๆสมการ ซึงขึ
าง
กัน
• Intention and Anticipations Survey : เป็ นการ
สารวจความคิดเห็น ทัศนคติของประชาชน
• Input-Output Model : เป็ นการวิเคราะห ์ความ
ต่อเนื่ องระหว่างinput และ output
• Leading Indicator : เป็ นการพิจารณาดู ตวั แปร
่ องการ
่
่
อนไหวล่
วงหน้าก่อนตัวแปรทีต้
ต่างๆทีเคลื
้
พยากรณ์ เช่น ราคาน้ ามัน อ ัตราดอกเบีย
การวิเคราะห ์นโยบายโดยแบบจาลอง
System Dynamics
หลักสาคัญ 2 ประการ คือ
• ปั ญหามีลก
ั ษณะพลว ัต (Dynamics
้
problem) : ลักษณะหมายถึงปั ญหานัน
่
เปลียนแปลงไปตามปั
จจัย เงื่อนไข ใดบ้างเช่น
้
เวลา เป็ นต้น นอกจากนี จะต้
องเห็นถึง
กระบวนการป้ อนกลับ (Feedback)
่ น
• มีความจาเป็ นในการใช้แบบจาลองทีเป็
่ นการนาเอา
ทางการ(Formal model) : ซึงเป็
่ าค ัญเข้ามาในmodel ทาให้
ส่วนประกอบทีส
้
ข้อเสนอแนะ
นโยบาย
่
ความเข้าใจเกียวก
ับ
ระบบ
การกาหนดปั ญหา
การวิเคราะห ์
นโยบาย
การกาหนดกรอบความคิด
การทดลองเลียนแบบ
่
เกียวก
ับระบบ
การสร ้างตัว
แบบจาลอง
่
่
เทคนิ ค และ เครืองมื
ออืนๆ
Pareto Analysis
• To start using the tool, write out a list of the changes you could
make. If you have a long list, group it into related changes.
• Then score the items or groups. The scoring method you use
depends on the sort of problem you are trying to solve. For example,
if you are trying to improve profitability, you would score options on
the basis of the profit each group might generate. If you are trying to
improve customer satisfaction, you might score on the basis of the
number of complaints eliminated by each change.
• The first change to tackle is the one that has the highest score. This
one will give you the biggest benefit if you solve it.
• The options with the lowest scores will probably not even be worth
bothering with - solving these problems may cost you more than the
solutions are worth
วิเคราะห ์พาเรโต้
้ ่ 1 : แบบแสดงรายการตารางความถีของ
่
ขันที
สาเหตุ และคิดเป็ นร ้อยละ
้ ่ 2 : จัดเรียงลาด ับความสาค ัญในการลด
ขันที
่ าค ัญทีสุ
่ ดทีท
่ าให้เกิดครง้ั
สาเหตุ (กล่าวคือ ทีส
แรก)
้ ่ 3 : เพิมขึ
่ นร
้ ้อยละคอลัมน์ในตาราง
ขันที
้ ่ 4 : คบคิดกับสาเหตุทเพิ
่ นร
้ ้อยละบนขันที
ี่ มขึ
และ y -แกน
้ ่ 5 : ให้คะแนนรวมสู งกว่าทาให้โค้งงอ
ขันที
้ ่ 6 : อุทยาน (เดิมบนกราฟ) บนกราฟแท่ง
ขันที
ด้วยสาเหตุ -และอ ัตราการเกิดร ้อยละ y บน
แกน้ ่ 7 : ลากเส้นตรงขนานกับแกน-80% ใน y
ขันที
้ วางทีจุ
่ ดต ัดกับเส้นโค้ง -แกน
-แกน จากนันก็
Paired Comparison Analysis
1. List the options you will compare. Assign a letter to each option.
2. Set up a table with these options as row and column headings.
3. Block out cells on the table where you will be comparing an option
with itself - there will never be a difference in these cells! These will
normally be on the diagonal running from the top left to the bottom
right.
4. Also block out cells on the table where you will be duplicating a
comparison. Normally these will be the cells below the diagonal.
5. Within the remaining cells compare the option in the row with the
one in the column. For each cell, decide which of the two options is
more important. Write down the letter of the more important option
in the cell, and score the difference in importance from 0 (no
difference) to 3 (major difference).
6. Finally, consolidate the results by adding up the total of all the
values for each of the options. You may want to convert these
values into a percentage of the total score.
Overseas Market
(A)
Home
Market (B)
Customer
Service (C)
Quality
(D)
Overseas Market
(A)
Blocked Out
(Step 3)
Home Market
(B)
Blocked Out
(Step 4)
Blocked Out
(Step 3)
Customer Service
(C)
Blocked Out
(Step 4)
Blocked Out
(Step 4)
Blocked Out
(Step 3)
Quality
(D)
Blocked Out
(Step 4)
Blocked Out
(Step 4)
Blocked Out
(Step 4)
Overseas Market
(A)
Home
Market (B)
Customer
Service (C)
Quality
(D)
A,2
C,1
A,1
C,1
B,1
Overseas Market
(A)
Home Market
(B)
Customer Service
(C)
Quality
(D)
Blocked Out
(Step 3)
C,2
Grid Analysis
Factors:
Cost
Board
Storage
Comfort
Fun
Look
Total
1
0
0
1
3
3
0
3
2
2
1
1
Family Car
2
2
1
3
0
0
Estate Car
2
3
3
3
0
1
Factors:
Cost
Board
Storage
Comfort
Fun
Look
Weights:
4
5
1
2
3
4
Sports Car
4
0
0
2
9
12
27
0
15
2
4
3
4
28
Family Car
8
10
1
6
0
0
25
Estate Car
8
15
3
6
0
4
36
Weights:
Sports Car
Total
Decision Tree Analysis
PMI stands for
'Plus/Minus/Implications'
Plus
Minus
Implications
More going on (+5)
Have to sell house (-6)
Easier to find new job?
(+1)
Easier to see friends (+5)
More pollution (-3)
Meet more people? (+2)
Easier to get places (+3)
Less space (-3)
More difficult to get own
work done? (-4)
No countryside (-2)
More difficult to get to
work? (-4)
+13
-18
-1
่
ส่วนที่ 8 นโยบายสาธารณะเพือ
สุขภาพ
่ ขภาพ
นโยบายสาธารณะเพือสุ
( Healthy Public Policy)
่
“นโยบายสาธารณะทีแสดงความห่
ว งใย
่
่
ขภาพ และพรอ้ มทีจะ
อย่างชด
ั เจนเรืองสุ
ร ับผิดชอบต่อผลกระทบทางด้านสุขภาพ
ที่ อ า จ จ ะ เ กิ ด จ า ก น โ ย บ า ย นั้ น
ขณะเดีย วกัน ก็ เ ป็ นนโยบายที่มุ่ ง สร า้ ง
สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ทั้ ง ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ท า ง
่ อต่
้ อการมีชวี ต
่ สุขภาพดี
กายภาพทีเอื
ิ ทีมี
และมุ่งให้พลเมืองมีทางเลือกและสามารถ
เข้า ถึง ทางเลือ กที่ก่ อให้เ กิด สุ ข ภาพที่ดี
ต ัวอย่างของนโยบายสาธารณะ
ในระด ับต่างๆ และผลกระทบต่อ
สุขภาพ
่
ตัวอย่างนโยบายสาธารณะทีมาจากภาคร
ัฐ
้ ่
ร ฐั บาลด าเนิ นโครงการพัฒ นาพืนที
ช า ย ฝั่ ง ท ะ เ ล ต ะ วั น อ อ ก (Eastern
่ อให้เกิดการลงทุนและ
Seaboard) ทีก่
โ อ ก า ส ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อุ ต ส า ห ก ร ร ม
่
ขณะเดีย วกัน ก็ ไ ด้น ามาซึงมลภาวะและ
ส ร ้ า ง ค ว า ม เ สี ย ห า ย ต่ อ
่
ทร ัพยากรธรรมชาติ สิงแวดล้
อม ความ
มั่ น ค งใ น ชี วิ ต ข อ ง ชุ ม ช น ร ว ม ถึ ง
่
ตัวอย่างนโยบายสาธารณะทีมาจาก
่
ท้องถิน
เทศบาลนครแห่ ง หนึ่ งมีนโยบายที่จะ
่ นที
้ สวนสาธารณะภายในเมื
่
เพิมพื
อง และ
จัดใ ห้ม ี ก ิ จ กร ร ม ต่ า งๆ ม าก ม าย เ พื่ อ
ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ
ความสัม พัน ธ อ์ น
ั ดีใ นสัง คมเมื อ ง โดย
ได้ร บ
ั ความสนั บ สนุ นอย่ า งกว้า งขวาง
จากหน่ วยงานราชการ เอกชน และ
องค ์กรชุมชนต่างๆ
่
ต ัวอย่างนโยบายสาธารณะทีมาจาก
ภาคเอกชน
บริษ ัท เอกชนรายใหญ่ แ ห่ ง หนึ่ งได้
ส่ ง เสริมให้เ กษตรกรท าการผลิต สิน ค้า
เกษตร โดยมีข อ
้ ตกลงล่ ว งหน้ า หรือ ที่
เรียกว่า “การเกษตรแบบมีพน
ั ธะสัญญา”
่
ซึงในภายหลั
ง ร ฐั บาลเห็น ว่า มีป ระโยชน์
เ นื่ อ ง จ า ก เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม ร า ยไ ด้ ข อ ง
เกษตรกร จึงได้ส่ ง เสริมให้เ กษตรกรท า
ก า ร ผ ลิ ตใ น ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ก ล่ า ว อ ย่ า ง
กว้า งขวาง และกลายเป็ นส่ ว นหนึ่ งของ
่
ตัวอย่างนโยบายสาธารณะทีมาจากภาค
ประชาชน
องค ก
์ รพัฒ นาเอกชนจ านวนมาก และ
ประชาชนที่เห็ น ด้ว ยกว่ า 50,000 คน
ร่ ว ม กั น เ ส น อ ร่ า ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ต ิ
หลัก ประกัน สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ เข้า สู ่ ก าร
่
พิจารณาของร ัฐสภา เพือประกาศใช้
เป็ น
กฎหมายต่อไป
่ ขภาพ
พัฒนาการนโยบายสาธารณะเพือสุ
ในเวทีระหว่างประเทศ
กร ะ แ ส แ น ว คิ ด ก า ร พัฒ น า สุ ข ภ า พ
่ ก ารหัน มาให้ค วามส าค ญ
อนามัย เริมมี
ั กับ
่ นอกระบบบริการมากขึน
้ เช่น ด้าน
ปั จจัยอืนๆ
เศรษฐกิ จ และสัง คม เพราะมี ผ ลกระทบต่ อ
สุ ข ภาพมากกว่ า ระบบบริก ารสุ ข ภาพ ดัง
ป ร า ก ฏใ น ก ฎ บัต ร อ อ ต ต า ว า ว่ า ด้ ว ย ก า ร
ส่ ง เสริม สุ ข ภาพ (ค.ศ.1986) ที่เน้ น ประเด็ น
่ ขภาพมาเป็ นข้อแรก
นโยบายสาธารณะเพือสุ
้ั า ด้ว ย
มีก ารจัด ประชุม ระด บ
ั สากลหลายคร งว่
่ ขภาพ การส่งเสริม
่
อมเพือสุ
การสร ้างสิงแวดล้
สุ ข ภาพโดยการร่ว มมือ กัน หลายสาขา การ
สร า้ งความเข้ม แข็ ง ของชุ ม ชนและประชา
นโยบายสาธารณะเพือ
สุขภาพ
่
ทีปรากฏในร
ัฐธรรมนู ญ พ.ศ.
2540่ 59 บัญญัตไิ ว้วา่ “...บุคคลย่อมมีสท
• มาตราที
ิ ธิ ์
้
ได้ร ับข้อมู ล คาชีแจงและเหตุ
ผล จากหน่ วย
ราชการ หน่ วยงานของร ัฐ ร ัฐวิสาหกิจ หรือ
่ ก่อนการอนุ ญาตหรือการ
ส่วนราชารท้องถิน
่
ดาเนิ นโครงการหรือกิจกรรมใดทีอาจมี
่
ผลกระทบต่อคุณภาพสิงแวดล้
อม สุขภาพ
อนามัย คุณภาพชีวต
ิ หรือส่วนได้ส่วนเสีย
่
่ ยวกับตนหรื
่
่
สาค ัญอืนใดที
เกี
อชุมชนท้องถิน
่
และมีสท
ิ ธิแสดงความคิดเห็นของตนในเรือง
ดังกล่าว...”
่ การระบุสท
• บทบัญญัตอ
ิ นๆ
ื่ ทีมี
ิ ธิของประชาชน
่ ขภาพ
นโยบายสาธารณะเพือสุ
่
ทีปรากฏในร่
าง พ.ร.บ.สุขภาพ
แห่งชาติ
้
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตน
ิ ี ได้ให้ความหมายของ
่ ขภาพ หมายความว่า แนว
นโยบายสาธารณะเพือสุ
่ ่งสร ้างสภาพแวดล้อมทังทาง
้
ทางการพัฒนาทีมุ
่ อต่
้ อการมีสุขภาพ ทาให้
สังคมและทางกายภาพทีเอื
่ อให้เกิดสุขภาพ
ประชาชนเข้าถึงทางเลือกทีก่
มาตรา 21 บุคคลหรือคณะบุคคลมีสท
ิ ธิร ้องขอให้มก
ี าร
ประเมินและมีสท
ิ ธิรว่ มในกระบวนการประเมินผล
กระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
่ าเนิ นการต่าง ๆ เพือสร
่
มาตรา 27 ร ัฐมีหน้าทีด
้างโอกาส
่
ปกป้ อง คุม
้ ครองและจัดการเพือการสร
้างเสริม
สุขภาพให้ประชาชน ให้ความสาคัญกับนโยบาย
่ ขภาพและต้องร ับผิดชอบต่อการขจัด
สาธารณะเพือสุ
่ กคามสุขภาพประชาชนจากนโยบาย
ปั จจัยทีคุ
่
สาธารณะหรือการดาเนิ นการของร ัฐหรือองค ์กรอืน
ๆ ด้วย
มาตรา 42 ให้ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.)
มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี ้
(1) เสนอแนะและให้คาปรึกษาต่อคณะร ัฐมนตรีและ
่
ร ัฐสภาเกียวก
บ
ั การกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร ์
ด้านสุขภาพ
(2) เสนอแนะและให้คาปรึกษาต่อคณะร ัฐมนตรีและ
่
่
ร ัฐสภาพเกียวก
บ
ั การให้มห
ี รือการแก้ไขเพิมเติ
ม
กฎหมาย ระเบียบปฏิบต
ั ห
ิ รือมาตรการต่าง ๆ ให้
สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร ์ด้านสุขภาพ
ตาม (1)
(3) เสนอแนะและให้คาปรึกษาในการออก
กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศตาม
พระราชบัญญัตน
ิ ี้
(4) เสนอแนะและให้คาปรึกษาต่อองค ์การต่าง ๆ ทัง้
่ ยวก
่
ภาคร ัฐและเอกชน ในส่วนทีเกี
บ
ั สุขภาพหรือการ
ดาเนิ นการให้เป็ นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร ์ด้าน
สุขภาพ ตาม (1)
่
(6) กาหนดมาตรการเพือเสริ
มสร ้างความร่วมมือ
และประสานงานระหว่างภาคการเมือง ส่วนราชการ
ร ัฐวิสาหกิจเอกชน ประชาชนและองค ์กรต่าง ๆ ใน
่
่ ยวก
่
เรืองที
เกี
ับสุขภาพ
่
(7) ส่งเสริมและสนับสนุ นการจัดกลไกเพือการ
ศึกษาวิจย
ั เผยแพร่ ประยุกต ์ใช้ และการสร ้าง
เครือข่ายความรู ้ด้านสุขภาพ
่ ส่วนร่วมจากทุกฝ่ายเพือ
่
(8) จัดให้มก
ี ลไกเฉพาะทีมี
ทางานพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร ์ด้านสุขภาพ
่
่ ๆ ที่
ตามมาตรา 68, 74, 77 และ 85 หรือเรืองอื
น
สาคัญ
(9) จัดให้มส
ี มัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปี ละ
หนึ่ งครง้ั และสนับสนุ นให้มส
ี มัชชาสุขภาพเฉพาะ
้ ่
(11) จัดให้มก
ี ารทารายงานวิเคราะห ์สถานการณ์
ระบบสุขภาพอย่างน้อยปี ละหนึ่ งครง้ั และให้เสนอต่อ
่ กษาเศรษฐกิจและ
คณะร ัฐมนตรี ร ัฐสภา สภาทีปรึ
สังคมแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ และ
เผยแพร่ให้ประชาชนทราบ
(12) กาหนดนโยบาย ควบคุม กาก ับ และดู แลการ
ดาเนิ นการของคณะกรรมการบริหารและสานักงาน
้
่
(13) แต่งตังคณะอนุ
กรรมการหรือคณะทางานเพือให้
่
่ คสช. มอบหมาย
ปฏิบต
ั ห
ิ น้าทีตามที
่ นตามที
่
่ าหนดไว้ใน
(14) ปฏิบต
ั ห
ิ น้าทีอื
ก
้ อกฎหมายอืนให้
่
่
พระราชบัญญัตน
ิ ี หรื
เป็ นหน้าทีของ
่
คสช. หรือตามทีคณะร
ัฐมนตรีมอบหมาย หรือตาม
ข้อเสนอจากสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
่ งกล่าวข้างต้น คสช. อาจมอบ
ในการปฏิบต
ั ห
ิ น้าทีดั
ให้สานักงานเป็ นผู ป
้ ฏิบต
ั ห
ิ รือเตรียมข้อเสนอมายัง
มาตรา 67 การสร ้างเสริมสุขภาพ ตามมาตรา 66
ให้มแ
ี นวทางและมาตรการต่าง ๆ ดังนี ้
่ ขภาพ และ
(1) สร ้างนโยบายสาธารณะเพือสุ
สร ้างกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจาก
่ ่งให้เกิดการเรียนรู ้ร่วมกน
นโยบายสาธารณะ ทีมุ
ั ของ
ทุกภาคส่วนในสังคม โดยใช้วช
ิ าการอย่างเพียงพอ มี
่
กลไกดาเนิ นงานทีโปร่
งใส ตรวจสอบได้ ประชาชนมี
ส่วนร่วมร ับรู ้ข้อมู ลร่วมเสนอ ร่วมดาเนิ นการ ร่วมใช้
่
ับการอนุ มต
ั ิ
ผลการประเมินและร่วมตัดสินใจเกียวก
่
อนุ ญาตการดาเนิ นนโยบายและโครงการสาคัญทีอาจ
มีผลกระทบต่อสุขภาพ....
้ เป้ าหมายการพัฒนาระบบสาธารณสุขที่
ดังนัน
่ อต่
้ อการเสร ้างเสริมสุขภาพจะ
มุ่งสร ้างระบบทีเอื
่