Transcript 1. A5VQXTE
การส่ งเสริมสุขภาพตามกล่ มุ วัย
จารุวรรณ เย็นเสมอ
นักวิชาการสาธารณสุ ขชานาญการพิเศษ
1
HEALTH
• สุ ขภาพ : ภาวะทีม่ ีความสมบูรณ์ ของกาย จิตใจ สั งคมและจิตวิญญาณ
ไม่ ใช่ เพียงแต่ ปราศจากโรค
• สุ ขภาวะ: ภาวะทีเ่ ป็ นสุ ข ภาวะทีม่ ีความสมบูรณ์ ของกาย จิตใจ และสังคม มี
ลักษณะเป็ น พลวัตร คือ ไม่ ได้ อยู่นิ่ง แต่ เปลีย่ นแปลงไปตามเงื่อนไขปัจจัยชีวติ
• การดูแลสุ ขภาพแบบองค์ รวม
สุ ขภาพ
ว่ าด้ วย
เรื่องโรค
สุ ขภาพ
ว่ าด้ วย
สุ ขภาวะ
2
ที่มา: อาพล จินดาวัฒนะ, 2546
HEALTH
“ ภาวะของมนุษย์ ทสี่ มบูรณ์ ท้งั ทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและ
ทางสั งคมเชื่อมโยงกันเป็ นองค์ รวมอย่ างสมดุล ”
(ม.3 - พรบ.สุขภาพแห่ งชาติ 2550)
3
ทางใจ
ทางกาย
ร่ างกายแข็งแรง
เข้ าถึงบริการ
ทางสังคม
เสมอภาค เป็ นธรรม
สันติวธิ ี
HEALTH
จิตใจดี
มีความสุข
ทางปั ญญา
มีสติและปั ญญา
ฉลาด รู้เท่ าทัน
4
ระบบ : System
EVN
People
H
HCS
กิจกรรมหรือส่ วนต่ าง ๆ ที่สัมพันธ์ กนั หรือเกีย่ วข้ องกัน
ซึ่งนาไปสู่ เป้าหมายหลักเดียวกัน
5
ระบบสุ ขภาพ :
Health System
กิจกรรมหรือส่ วนต่ างๆ ทีม่ ีวตั ถุประสงค์ หลัก
เพือ่ การส่ งเสริม รักษา หรือฟื้ นฟูสุขภาพ
6
สุขภาพ : สุขภาวะ
จิตวิญญาณ (ปัญญา)
สังคม
จิต
กาย
ทีม
่ า: อาพล จินดาวัฒนะ, 2546
กลุ่มปกติ
กลุ่มเสี่ ยง
กลุ่มป่ วย
กลุ่มป่ วยทีม่ ภี าวะแทรกซ้ อ7น
สุขภาพ VS ทุกขภาพ
ส ุขภาพ & ส ุขภาวะ
คน
ครอบ
ครัว
ชุมชน
ท ุกขภาพ & ท ุกขภาวะ
ส ุขภาพดี & มีค ุณภาพชีวิต ป่วย & ตาย ด้วยเหต ุไม่สมควร
เครียด บีบคัน้
เห็นแก่ตวั
อ่อนแอ แตกแยก
ล่มสลาย
“อยูเ่ ย็น-เป็นส ุข”
ตัวใครตัวมัน
สิ่งแวดล้อม&สภาพแวดล้อมแย่
สังคม
“อยูร่ อ้ น - นอนท ุกข์”
8
ื่ มโยงและพลวัตรเกีย
ความเชอ
่ วกับระบบสุขภาพ
กรรมพันธุ์
พฤติกรรม
ความเชื่อ
ปัจเจกบุคคล
จิตวิญญาณ
วิถีชีวติ
การแพทย์ &สาธารณสุ ข
กระแสหลัก
การแพทย์ แผนไทย&
พืน้ บ้ าน
สุ ขภาพ
ระบบบริการ
สาธารณสุ ข
กายภาพ/ชีวภาพ
นโยบายสาธารณะ
เศรษฐกิจ/การเมือง
วัฒนธรรม/ศาสนา
ประชากร/การศึกษา
สภาพแวดล้อม ความมัน่ คง
การสื่ อสาร/คมนาคม
เทคโนโลยี/องค์ ความรู้
บริการส่ งเสริม&ป้ องกัน&
รักษา&ฟื้ นฟู
การแพทย์ ทางเลือกอืน่ ๆ
พลวัตร
9
ทีม
่ า: อาพล จินดาวัฒนะ, 2546
ระบบบริการสุ ขภาพ
Health Care System
องค์ ประกอบส่ วนหนึ่งของระบบสุ ขภาพ
กิจกรรมต่ างๆ ทีน่ าไปสู่ การบริการสุ ขภาพต่ างๆ
ทั้งในด้ านการส่ งเสริมสุ ขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและ
การฟื้ นฟูสุขภาพแก่ประชาชนหรือสาธารณะ
10
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แบบเครือข่าย
บนหลักการ
• ประกันคุณภาพ
2
ล้
า
นคน
• ประกันราคา
Ex. Cent.
• เข้ าถึงบริการ 1 ล้ านคน
2 แสนคน
8 หมื่นคน
3-5 หมื่นคน
1 หมื่นคน
ตติยภูมิ
ทุตยิ ภูมิ ระดับ 3
ทุตยิ ภูมิ ระดับ 2
ทุตยิ ภูมิ ระดับ 1
ปฐมภูมิ
• บริการระดับสู ง ต้ อง
คุ้มค่ าการลงทุน
• ความเชี่ยวชาญเฉพาะ
• เป็ นเครือข่ ายบริการ
บริการระดับต้ น
ประชาชน-ท้ องถิน่
ท้ องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง
ดาเนินการได้
แพทย์ ระดับปฐมภูมิและทุตยิ ภูมิ ระดับต้ น 1: 10,000 GP:SP = 40:60
การจัดเครือข่ ายบริการสุ ขภาพและ
การประกันคุณภาพบริการ
บริการตติยภูมิ
เฉพาะทาง
ทุตยิ ภูมิ
CUP
หน่ วยบริหารเครือข่ าย
PCU
PCU
PCU
บริ การเฉพาะ
มาตรฐานบริการ
เฉพาะทางพิเศษ
มาตรฐานบริการเฉพาะทาง
มาตรฐานสถานพยาบาล
(ต่าสุ ด 10-30 เตียง)
มาตรฐานคู่สัญญาปฐมภูมิ
โครงสร้าง บุคลากร
บริ การ การจัดการ
มาตรฐานคุณภาพ
องค์ ประกอบหลักของระบบบริการสุ ขภาพ
ทรัพยากรสาธารณสุ ข
โครงสร้ างองค์ กร
การบริหารจัดการ
การเงินการคลังสาธารณสุ ข
แบบแผนการให้ บริการสุ ขภาพ
13
ทรัพยากรสาธารณสุ ข
-แพทย์
-พยาบาล
บุคลากรด้ านสาธารณสุ ข
-เภสั ชกร
Man Power
-นักวิทยาศาสตร์ การแพทย์
-เจ้ าหน้ าทีส่ าธารณสุ ข ฯ
โครงสร้ างพืน้ ฐานด้ านบริการสาธารณสุ ข -จานวนเตียง
-สถานบริการสาธารณสุ ข
Health Facility
-อาคารสถานที่ต่างๆ
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์
Health Equipments & Supplies
-อุปกรณ์ ทจี่ าเป็ น
-เครื่องมือทางการแพทย์
-เวชภัณฑ์ ยาฯ
14
โครงสร้ างองค์ กร
การจัดระบบให้ บริการสาธารณสุ ข
3 รูปแบบ
รูปแบบองค์ กรเป็ นชั้นๆ ลดหลัน่ กันไป -ระบบการกากับ ตรวจสอบและ
ประสานงานโดยใกล้ชิด
Hierarchical Bureaucracies
รูปแบบความสั มพันธ์ โดยอาศัยกลไกตลาด - ระบบการให้ บริการทีเ่ ป็ นไป
ตามกลไกของตลาด
Market based Interaction
รูปแบบพันธสั ญญา
Contractual Arrangement
-ระบบความร่ วมมือระหว่ างหน่ วยงานของรัฐ
เอกชนในการให้ บริการด้ านสุ ขภาพพืน้ ฐาน
15
การบริหารจัดการ
การบริหารจัดการที่ดี : Good Governance
ทาให้ ระบบบริการสุ ขภาพบรรลุเป้ าประสงค์ -การมีสุขภาพดี
-เกิดความเป็ นธรรม
-เกิดความพึงพอใจ
บทบาทของรัฐในการบริหารจัดการบริหาร
บริการสุ ขภาพ
-กาหนดนโยบายสาธารณสุ ขและวิสัยทัศน์ ที่ให้ ทุกส่ วนในระบบ
มีความเข้ าใจและสร้ างเสริมพลังช่ วยกันไปในทิศทางเดียวกัน
-ควบคุมการปฏิบัติการและออกกฎหมาย ข้ อบังคับต่ างๆ
-การรวบรวมวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ การบริหารทีม่ ีคุณภาพ
16
การเงินการคลังสาธารณสุ ข
ค่ าใช้ จ่ายเพือ่ สุ ขภาพของประชาชน
-งบประมาณแผ่นดิน -นายจ้ าง
-องค์ กรอาสาสมัคร -ชุ มชนท้ องถิ่น
-การช่ วยเหลือจากต่ างประเทศ
-ค่ าใช้ จ่ายของครัวเรือน - อืน่ ๆ
-เป้ าประสงค์ ของระบบบริการสุ ขภาพทีด่ ี คือ ความเป็ นธรรมในการร่ วมจ่ าย
ค่ าบริการสุ ขภาพ
ค่ าใช้ จ่ายเพือ่ สุ ขภาพ ควรเฉลีย่ ไปตามความสามารถของบุคคล
-ระบบประกันสุ ขภาพทีค่ รอบคลุมประชากรทุกคน
โดยการเฉลีย่ จ่ ายล่วงหน้ า (Prepayment System) ตามสั ดส่ วนรายได้
ถือเป็ นมาตรการสาคัญ
“คนดีช่วยคนป่ วย คนรวยช่ วยคนจน”17
แบบแผนการให้ บริการสุ ขภาพ
รูปแบบการให้ บริการสุ ขภาพ (Delivery of Health Service)
-การให้ ความสาคัญกับบริการเพือ่ ส่ งเสริมสุ ขภาพ
-รู ปแบบการให้ บริการในลักษณะสาธารณสุ ขมูลฐาน
-การบริการสุ ขภาพเพือ่ ครอบครัว
-การบริการผู้ป่วยซ้าซ้ อน
-ระบบการส่ งต่ อ
-ระบบการให้ บริการเฉพาะกลุ่มประชากร
18
ประเภทของระบบบริการสุ ขภาพ
Type of Health Care System
Roemer 1993 วิเคราะห์ ระบบบริการสุ ขภาพพืน้ ฐานของ
องค์ ประกอบต่ างๆ ของระบบ ใน 165 ประเทศ ได้ จัดประเภทของ
ระบบบริการสุ ขภาพทัว่ โลกเป็ น 4 ประเภท
-ระบบบริการสุ ขภาพแบบเสรีนิยม
-ระบบบริการสุ ขภาพแบบสวัสดิการ
-ระบบบริการสุ ขภาพแบบครอบคลุม
-ระบบบริการสุ ขภาพแบบสั งคมนิยม
19
ระบบบริการสุ ขภาพแบบเสรีนิยม
- องค์ ประกอบต่ างๆ ของระบบบริการสุ ขภาพ
จัดในรู ปแบบเอกชนทีแ่ ข่ งขันภายใต้ ตลาดเสรีเป็ นส่ วนใหญ่
- รัฐมีส่วนเข้ าไปแทรกแซงกลไกตลาดน้ อย
- ค่ าใช้ จ่ายด้ านสุ ขภาพส่ วนใหญ่ มาจากเอกชน
- หน่ วยบริการส่ วนใหญ่ เป็ นของเอกชน
- เป็ นความรับผิดชอบของบุคคลทีจ่ ะดูแลตนเอง-เข้ าถึงบริการสุ ขภาพ
USA-Philippines
20
ระบบบริการสุ ขภาพแบบสวัสดิการ
-รัฐได้ เข้ าแทรกแซงกลไกตลาดในการจัดบริการสุ ขภาพหลาย ๆ ทาง
อาทิ ด้ านค่ าใช้ จ่ายในการรักษาพยาบาล
- บางรัฐได้ จัดสร้ างและกระจายสถานบริการขนาดเล็กในเขตชนบท
- รัฐเป็ นผู้รับจัดบริการพืน้ ฐาน อาทิ การฉีดวัคซีนป้ องกันโรค
การสุ ขาภิบาลสิ่ งแวดล้ อม การให้ การรักษาพยาบาลทีจ่ าเป็ น
West Europe (German), Canada, Australia, Japan
Latin America, India, Malasia
21
ระบบบริการสุ ขภาพแบบครอบคลุม
-รัฐได้ มบี ทบาทในระบบบริการสุ ขภาพมาก เพือ่ ให้ ประชากรทุกคนได้ รับ
บริการสุ ขภาพอย่ างครอบคลุมทัดเทียมกันภายใต้ เงื่อนไขระดับเศรษฐกิจ
ของประเทศ
-รัฐให้ ความสาคัญต่ อการจัดระบบบริการสุ ขภาพแก่ ประชาชน
-ประชาชนสามารถรับบริการสุ ขภาพโดยไม่ ต้องเสี ยค่ าใช้ จ่ายด้ วยตนเอง
โดยรัฐเป็ นผู้จัดสรรภาษีเป็ นค่ าใช้ จ่ายทั้งหมด
-สถานพยาบาลส่ วนใหญ่ อยู่ในการควบคุมของรัฐโดยตรง
England, Scandinavia, Italy, Greeze, Spain
Costarica & Srilanka
22
ระบบบริการสุ ขภาพแบบสั งคมนิยม
- รัฐได้ เข้ าไปจัดการบริการสุ ขภาพอย่ างสิ้นเชิง
- ไม่ อนุญาตให้ มกี ลไกตลาดเอกชนใด ๆ
- ใช้ วธิ ีวางแผนจัดการจากส่ วนกลาง
- ทรัพยากรสาธารณสุ ขต่ างๆ อยู่ภายใต้ การควบคุมของรัฐ
- ประชาชนทุกคนจะได้ รับบริการจากรัฐ
Russia, Cuba
23
ระบบบริการสุ ขภาพของไทย (ปัจจุบัน)
- ระบบบริการสุ ขภาพของไทยปัจจุบัน เป็ นระบบบริการสุ ขภาพ
แบบสวัสดิการ
- มีโครงสร้ างของระบบบริการสาธารณสุ ขครอบคลุมทุกระดับ
(จังหวัด-หมู่บ้าน)
- ให้ การบริการสาธารณสุ ขในลักษณะผสมผสาน
(Integrated Health Service)
24
ระบบบริการสุ ขภาพของไทย (ต่ อ)
- มุ่งเน้ นเป้ าหมายในการจัดระบบบริการคุณภาพ
- ให้ ความสาคัญกับประชาชนจะได้ รับบริการสุ ขภาพอย่ างเสมอภาค
(Equity) ตามความจาเป็ นด้ านสุ ขภาพอนามัยโดยเสี ยค่ าใช้ จ่าย
ตามความสามารถที่ช่วยได้
-การบริการของเอกชนจะกระจายไปตามศักยภาพของเศรษฐกิจ
ในพืน้ ที่ต่างๆ
25
ปัญหาระบบบริการสุ ขภาพของไทย
มีปัญหาสาคัญ 5 ด้ าน ได้ แก่
• ปัญหาความไม่ เป็ นธรรม :
การกระจายทรัพยากร
การเข้ าถึงและการใช้ บริการ (คนเมืองเข้ าถึงได้ มาก)
สถานพยาบาล (นอก-ใน เขตเมือง)
การรับภาระค่ าใช้ จ่ายด้ านสุ ขภาพ (คนจนมีสัดส่ วนค่ าใช้ จ่ายด้ านสุ ขภาพ
สู งกว่ าคนรวย)
26
ปัญหาระบบบริการสุ ขภาพของไทย (ต่ อ)
• ปัญหาประสิ ทธิภาพของระบบบริการสาธารณสุ ข :
ประสิ ทธิภาพของบริการ (รักษามีประสิ ทธิภาพทาให้ สุขภาพดีน้อย
กว่ าส่ งเสริม)
ประสิ ทธิภาพในการลงทุนด้ านเตียง (อัตราครองเตียง <80%)
• คุณภาพระบบบริการ (รัฐ-เอกชน ต่ างกัน ด้ านบริการ ค่ าใช้ จ่าย)
• การเข้ าถึงบริการในยามฉุกเฉิน (กรณีอุบัติเหตุ)
• ความไม่ ครอบคลุมของหลักประกันสุ ขภาพ
27
กระบวนทัศน์ ใหม่ ระบบบริการสุ ขภาพ (สร้ างนาซ่ อม)
1. สุ ขภาพเสี ย
สุ ขภาพดี
Illness
Wellness
2. ซ่ อมนา
สร้ างนา
Repairing
Building
3. วิทยาการ&สาขาเดีย่ ว
สหวิทยาการ&สหสาขา
Single disciplinary & sector
Multidisciplinary &
intersectoral
28
4. บริบททางการแพทย์
บริบททางสั งคม
Medical Model
Social Model
- โรคภัยไข้ เจ็บ
สุ ขภาวะ/ทุกขภาวะ
- ให้ ความสาคัญแก่ปัจจัยด้ านสั งคม-สิ่ งแวดล้อม
-เน้ นมาตรการทางสั งคม
5. ฐานโรงพยาบาล (รับ)
Hospital-based
ฐานชุ มชน (รุก)
Community-based
6. ปัจเจกบุคคล
ประชากร
Individual
Population
29
7. บริการสาธารณสุ ข
Health Service
เคลือ่ นไหวทางสั งคม
Social Movement
- People Participation
-Empowerment
-Partnership/Networking
ผลักดันนโยบาย
8. มุ่งปรับพฤติกรรม
ส่ วนบุคคล
สาธารณะ
9. Primary
Primary-Secondary-Tertiary
Prevention
10. Provider
Prevention
Supporter / Advocater / Partnership
30
ปรัชญาพืน้ ฐานในกระบวนทัศน์ ใหม่ ของระบบสุ ขภาพ
ปรัชญาพืน้ ฐาน คือ แนวคิดหลักของกระบวนทัศน์ ใหม่ ของระบบสุ ขภาพ
กาหนดปรัชญาพืน้ ฐานภายใต้ พ.ร.บ. สุ ขภาพแห่ งชาติ 8 ประการ
• ความเป็ นองค์ รวม : มุ่งสร้ างระบบบริการทีด่ ูแลเป็ นองค์ รวม กาย จิตใจ สั งคม และ
จิตวิญญาณ
• การมีส่วนร่ วม : เน้ นให้ ทุกภาคส่ วนในสั งคมมีส่วนร่ วมในการพัฒนาระบบสุ ขภาพ
• นโยบายสาธารณะเพือ่ สุ ขภาพ : เน้ นกาหนดนโยบายเพือ่ ส่ งเสริมสุ ขภาพ
• ความเสมอภาค : เสมอภาคในระดับของสุ ขภาพ การเข้ าถึง และภาระค่ าใช้ จ่าย
31
ปรัชญาพืน้ ฐานของระบบสุ ขภาพ
• ประสิ ทธิภาพ : เลือกใช้ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม ซึ่งก่ อให้ เกิดผลลัพธ์ ทางสุ ขภาพสู งสุ ด
• คุณภาพ : มุ่งพัฒนามาตรฐานการบริการ
• พัฒนาศักยภาพผู้บริโภค : พัฒนาให้ ผ้ บู ริโภคมีความเข้ มแข็ง เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์
ได้ อย่ างถูกต้ อง
• การพึง่ ตนเอง : พัฒนาการดูแลสุ ขภาพของตนเองของประชาชน
32
การแปลงนโยบายสู่การปฏิบตั ิ
33
ยุทธศาสตร์ สุขภาพกระทรวงสาธารณสุ ข
ด้ านส่ งเสริมสุ ขภาพ และป้ องกันโรค
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2557
5 Flagship Project
34
โครงสร้างแผนงานเขตสุ ขภาพ ปี 57
บริ การ
สส ปก
พัฒนาบริการ 10 สาขา
พัฒนาระบบส่ งต่ อ
คุณภาพบริการ
การแพทย์ ฉุกเฉิน/
อุบตั ิเหตุ/ยาเสพติด
โครงการพระราชดาริ
สตรีและเด็ก 0-5 ปี
เด็กวัยเรียน 6-14 ปี
วัยรุ่น 15-21 ปี
วัยทางาน 15-59 ปี
ผู้สูงอายุและผู้พกิ าร
บริหาร
การเงินการคลัง
การบริหารกาลังคน-จริยธรรม
การบริหารระบบข้ อมูล
การบริหารเวชภัณฑ์
พัฒนาประสิ ทธิภาพการซื้อ-จ้ าง
อาหารปลอดภัย
การควบคุมโรคติดต่ อ
สิ่ งแวดล้ อมและระบบทีเ่ อือ้ ต่ อสุ ขภาพ
การมีส่วนร่ วมภาคประชาชน
35
อาเภอสุ ขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ ว
พ่ อ แม่ สุ ขภาพดี
เด็กเจริญเติบโต
พัฒนาการสมวัย
เด็กไทยสู งใหญ่
สมองดีมีทักษะชีวติ
วันทางาน
สุ ขภาพดี
-รพ.สายใยรัก
(ANC/LR/
WCCคุณภาพ
)
-ตาบลนมแม่
-ศูนย์ เด็กเล็ก
คุณภาพ
-ทันตสุ ขภาพ
-โรงเรียนส่ งเสริม
สุ ขภาพ
-ส่ งเสริมโภชนาการ
และสุ ขภาพอนามัย
เด็กและเยาวชน
-ทันตสุ ขภาพ
-วัยรุ่ นตั้งครรภ์
-รพ.ส่ งเสริม
สุ ขภาพ
-คนไทยไร้ พุง
-หมู่บ้าน ลด
หวาน มัน เค็ม
-คัดกรองสุ ขภาพ
-ส่ งเสริม 3 อ
ผู้สูงอายุ
80 ปี ยังแจ๋ ว
-คลินิกผู้สูงอายุ
คุณภาพ
-อาเภอสุ ขภาพดี
80 ปี ยังแจ๋ ว
-ตาบล LTC
วัดส่ งเสริม
สุ ขภาพ
36
ตาบลสุ ขภาพดี 80 ปี ยังแจ๋ ว
พ่ อ แม่ สุ ขภาพดี
เด็กเจริญเติบโต
พัฒนาการสมวัย
-มารดาตาย 15:แสน
-ทารกตาย 15:พัน
-BA 25:พัน
-LBW 7 %
-ANCก่ อน 12 wk.
/
5ครั้งคุณภาพ/ 3 ครั้ง
หลังคลอด 60%
-นมแม่ 6เดือน 50 %
-พัฒนาการสมวัย
เด็กไทยสู งใหญ่
สมองดีมีทักษะชีวติ
วันทางาน
สุ ขภาพดี
ผู้สูงอายุ
80 ปี ยังแจ๋ ว
-นร.มีส่วนสู งระดับดี
รูปร่ างสมส่ วน 70 %
-นร.เป็ นโรคอ้ วน 15 %
-เด็กไทยฟันดี
-มารดา15-19ปี ตั้งครรภ์
ไม่ เกิน 50:พันประชากร
-โรงเรียนส่ งเสริมสุ ขภาพ
ระดับทอง 60 %
-โรงเรียนส่ งเสริมสุ ขภาพ
ระดับเพชร1แห่ ง/อาเภอ
-รพ./รพ.สต.มี
คลินิก DPAC
เพิม่ ขึน้
-องค์ กรไร้ พุง
-หมู่บ้าน ลดหวาน
มัน เค็ม เพิม่ ขึน้
-ปชช. มี3อ. 2 ส.
เพิม่ ขึน้
-ปชช. มีรอบเอว 90
/80 ซม. เพิม่ ขึน้
-ผู้สูงอายุได้ รับการ
พัฒนาทักษะกาย
ใจ 80 %
-มีสุขภาพทีพ่ งึ
ประสงค์ 30 %
-อาเภอสุ ขภาพดี
80 ปี ยังแจ๋ ว 1 อ.
-ตาบล LTC
20 %
37
วัดส่ งเสริมสุ ขภาพ
ื่ มโยงและพลวัตรเกีย
ความเชอ
่ วกับระบบสุขภาพ
มารดาตาย
ทารกตาย
ศูนย์ เด็กเล็กคุณภาพ
หมู่บ้านสายใยรัก
ศูนย์ 3 วัย สายใยรัก
ปัจเจก
บุคคล
LBW/BA
พัฒนาการ
ชุ มชน
ตาบลนมแม่
โภชนาการ/นมแม่
ทันตสุ ขภาพ
วัคซีน
LR คุณภาพ
WCC คุณภาพ/
กระตุ้นพัฒนาการ
หมู่บ้านไอโอดีน
แม่ และเด็ก
ระบบบริการ
สาธารณสุ ข
รพ./รพ.สต. สายใยรักฯ
ANC คุณภาพ
38
ตัวชี้วดั กลุ่มสตรี และเด็ก 0-5 ปี
เป้ าหมายบริการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ ครั้งแรกก่ อน 12 สั ปดาห์
หญิงตั้งครรภ์ ได้ รับบริการฝากครรภ์ คุณภาพ 5 ครั้ง(12,18,26,32,38)
มารดาหลังคลอดได้ รับการดูแล 3 ครั้งตามเกณฑ์
เด็กแรกเกิดถึงต่ากว่ า 6 เดือนแรก มีค่าเฉลีย่ กินนมแม่ อย่ างเดียว
เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ได้ รับการคัดกรองพัฒนาการ
เด็ก 0-5 ปี มีพฒ
ั นาการสมวัย
เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการล่ าช้ าได้ รับการกระตุ้นพัฒนาการ
เด็กปฐมวัย (3 ปี ) มีปัญหาฟันนา้ นมผุ
เด็ก 0-5 ปี มีส่วนสู งระดับดีและรู ปร่ างสมส่ วน
เด็ก 0-5 ปี ได้ รับวัคซีนครบตามเกณฑ์
เป้ าหมายเชิงผลลัพธ์
1. อัตราส่ วนมารดาตาย ไม่ เกิน 15 ต่ อพันการเกิดมีชีพ
2. เด็ก 0-5 ปี มีพฒ
ั นาการสมวัย ไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 85
ร้ อยละ 60
ร้ อยละ 60
ร้ อยละ 65
ร้ อยละ 50
ร้ อยละ 80
ร้ อยละ 85
ร้ อยละ 80
ร้ อยละ 57
ร้ อยละ 70
ร้ อยละ 95
39
ื่ มโยงและพลวัตรเกีย
ความเชอ
่ วกับระบบสุขภาพ
เจริญเติบโต(สู งดีสมส่ วน)
IQ/EQ
วัคซีน
สุ ขภาพจิตดี
สุ ขภาพตา/หู
ปัจเจกบุคคล
สุ ขภาพช่ องปาก
คลินิกPsychosocial
คลินิกวัยรุ่น YFHS
Teen UP care
เด็กวัยเรียน
วัยรุ่ น
ระบบบริการ
สาธารณสุ ข
อุบตั ิเหตุ
ยาเสพติด
บุหรี่/แอลกอฮอล์
ตั้งครรภ์ ไม่ พร้ อม
เด็กจมนา้
สภาพแวดล้อม เพศสัมพันธ์
ทักษะชีวติ /ความ
เข้ มแข็งทางใจ
สื่ อเทคโนโลยี/องค์ ความรู้
โรงเรียนส่ งเสริมสุ ขภาพ
โรงเรียนทางเลือกสาหรับวัยรุ่ น
OSCC/OSOD
40
ตัวชี้วดั กลุ่มเด็กวัยเรียน
เป้ าหมายบริการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
โรงเรียนมีการพัฒนาก้ าวสู่ โรงเรียนส่ งเสริมสุ ขภาพแนวใหม่
โรงเรียนมีการจัดการคุณภาพอาหารตามเกณฑ์ โภชนาการและอาหารปลอดภัย
นักเรียน ป.1 ได้ รับวัคซีน MMR(หัด คางทูม หัดเยอรมัน)
ร้ อยละ 95
นักเรียน ป.6 ได้ รับวัคซีน dT(คอตีบ บาดทะยัก)
ร้ อยละ 95
โรงเรียนมีนักเรียนได้ รับวัคซีนครอบคลุมตามเกณฑ์
ร้ อยละ 95
โรงเรียนปลอดนา้ อัดลม นา้ หวาน ขนมกรุ บกรอง
ร้ อยละ 75
เด็ก ป.1 ได้ รับการตรวจช่ องปาก
ร้ อยละ 85
เด็ก ป.1 ได้ รับการเคลือบหลุมร่ องฟัน ไม่ น้อยกว่ า
ร้ อยละ 30
นักเรียนได้ รับบริการตรวจวัดสายตาและการได้ ยนิ
ร้ อยละ 70
41
ตัวชี้วดั กลุ่มเด็กวัยเรียน
เป้ าหมายเชิงผลลัพธ์
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
นักเรียนมีภาวะอ้ วน ไม่ เกิน
ร้ อยละ 15
เด็ก 6-14 ปี มีส่วนสู งระดับดีและรูปร่ างสมส่ วน
ร้ อยละ 70
เด็กไทยมี IQ เฉลีย่
ไม่ น้อยกว่ า 100
เด็กไทยมี EQ ไม่ ต่ากว่ าเกณฑ์ มาตรฐาน
ร้ อยละ 70
นักเรียนทีต่ รวจพบว่ ามีปัญหาการมองเห็นและการได้ ยนิ ได้ รับการดูแลช่ วยเหลือ ร้ อยละ 70
โรงเรียนทีม่ สี ภาวะฟันผุ ไม่ เกินร้ อยละ 55 ลดลง
ร้ อยละ 1
อัตราการเสี ยชีวติ จากการจมนา้ อายุ 0-15 ปี ต่ อประชากรแสนคน
ไม่ เกิน 8
42
ตัวชี้วดั กลุ่มเด็กวัยรุ่น
เป้ าหมายบริการ
1. สถานบริการมีระบบบริการทีเ่ ป็ นมิตรกับวัยรุ่ น (YFHS) และ
การดูแลทางด้ านสั งคมจิตใจ (Psychosocial care)
2. สถานบริการมีระบบการส่ งต่ อเพือ่ ดูแลช่ วยเหลือวัยรุ่ นและเยาวชนกลุ่มเสี่ ยง
ระหว่ างสถานบริการและสถานศึกษา
3. สถานบริการมีบริการเชิงรุ กในพืน้ ทีท่ ี่วยั รุ่ นและเยาวชนรวมตัวกัน
4. วัยรุ่ น 15-19 ปี ได้ รับบริการคุมกาเนิดหลังคลอดหรือแท้ งก่ อนออกจาก รพ.
5. วัยรุ่ น 15-19 ปี ได้ รับบริการคุมกาเนิดแบบกึง่ ถาวรหลังคลอดหรือแท้ ง
ก่อนออกจาก รพ.
43
ตัวชี้วดั กลุ่มเด็กวัยรุ่น
เป้ าหมายเชิงผลลัพธ์
1. ความชุ กของผู้บริโภคเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ ในประชากร
อายุ 15 – 19 ปี
ไม่ เกินร้ อยละ 13
2. อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15 - 19 ปี ต่ อพันประชากร ไม่ เกิน 50
3. ร้ อยละศูนย์ ให้ คาปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic )
และเชื่อมโยงกับระบบช่ วยเหลือ
ร้ อยละ 70
44
ื่ มโยงและพลวัตรเกีย
ความเชอ
่ วกับระบบสุขภาพ
โรคติดต่ อทาง
เพศสั มพันธ์
อ้ วนลงพุง
DM/HT
สุ ขภาพจิต
การออกกาลังกาย
การบริโภคอาหาร
ความเครียด
พฤติกรรมเสี่ ยง
สถานประกอบการ
สภาพแวดล้อม
อุบตั ิเหตุ
การโฆษณาชวนเชื่อ
มะเร็ง
ปัจเจกบุคคล
โรคจากการ
ประกอบอาชีพ
คลินิกวางแผนครอบครัว
รพ.ส่ งเสริมสุ ขภาพ
มาตรฐานการคัดกรองสุ ขภาพ
วัยทางาน
ระบบบริการ
สาธารณสุ ข
ความเจริญทางเทคโนโลยี
คลินิก DPAC
คลินิก NCD
การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมกลุ่มเสี่ ยง
45
ตัวชี้วดั กลุ่มวัยทางาน
เป้าหมายบริการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ประชากรวัยทางานอายุ 35 ปี ขึน้ ไป ได้ รับการคัดกรองความเสี่ ยงสู งต่ อ
การเกิดภาวะความดันโลหิตสู งและเบาหวาน
ร้ อยละ 90
ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสู งได้ รับการประเมินโอกาสเสี่ ยง
ต่ อโรคหัวใจและหลอดเลือด
ร้ อยละ 60
ประชากรวัยทางาน ได้ รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ในหญิงอายุ 30 – 60 ปี ผลงานสะสม
ร้ อยละ 80
คุณภาพของ DPAC - รพศ./รพท./รพช.
ร้ อยละ 50
- รพ.สต.
ร้ อยละ 30
คลินิก NCD คุณภาพ
ร้ อยละ 70
ศูนย์ การเรียนรู้ องค์ กรต้ นแบบไร้ พุง
จานวน 2 แห่ ง
46
เป้าหมายเชิงผลลัพธ์
1. ประชากรวัยทางานในแต่ ละพืน้ ที่ดาเนินการ (Setting )
สามารถจัดการตนเองได้ ตามเกณฑ์ ที่กาหนด
- ตาบลสุ ขภาพดี
- หมู่บ้านลดหวานมันเค็ม
- ตาบลจัดการสุ ขภาพดี
- วัดส่ งเสริมสุ ขภาพระดับพืน้ ฐานขึน้ ไป
- อาเภอควบคุมโรคแบบยัง่ ยืน
2. อัตราการประสบอันตรายจากการทางาน ลดลงจากปี ทีผ่ ่านมา
3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจต่ อแสนประชากร
4. อัตราตายจากอุบัตเิ หตุทางถนนต่ อแสนประชากร
ร้ อยละ 20
ร้ อยละ 20
ร้ อยละ 70
ร้ อยละ 50
ร้ อยละ 70
ร้ อยละ 10
ไม่ เกิน 23
ไม่ เกิน 20
47
ื่ มโยงและพลวัตรเกีย
ความเชอ
่ วกับระบบสุขภาพ
ข้ อเสื่ อม
อ้ วนลงพุง
ตาบล LTC
วัดส่ งเสริมสุ ขภาพ
ความเครียด
พฤติกรรมเสี่ ยง
ขาดผู้ดูแล
สภาพแวดล้อม
ประเมินADL
อาเภอ/ตาบล
80 ปี ยังแจ๋ ว
พิการ
DM/HT
ปัจเจกบุคคล
ซึมเศร้ า
สมองเสื่ อม
สุ ขภาพช่ องปาก
ฟันเทียม
คลินิกสายตาเลือนราง
HHC/HW
สู งอายุ/
ผู้พกิ าร
ระบบบริการ
สาธารณสุ ข
มาตรฐานการคัดกรองสุ ขภาพ 5โรค
คลินิก สู งอายุคุณภาพ
คลินิก เวชกรรมฟื้ นฟู
พัฒนาทักษะกายใจโดยทีมสหวิชาชีพ
48
ตัวชี้วดั กลุ่มวัยสู งอายุ/ผู้พกิ าร
เป้ าหมายบริการ
1. ผู้สูงอายุได้ รับการคัดกรองสุ ขภาพทั้งด้ านกายและจิต
ร้ อยละ 60
- การทากิจวัตรประจาวัน (ADL)
- โรคทีเ่ ป็ นปัญหาสาคัญ/พบบ่ อยในผู้สูงอายุ (DM HT ฟัน สายตา)
- กลุ่ม Geriatric Syndrome (ภาวะหกล้ม , การกลั้นปัสสาวะ,
สมรรถภาพสมองMMSE, การนอนไม่ หลับ , ภาวะซึมเศร้ า, ข้ อเข่ าเสื่ อม)
2. ผู้สูงอายุ/ผู้พกิ ารได้ รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ
ร้ อยละ 80
3. ผู้สูงอายุมพี ฤติกรรมสุ ขภาพที่พงึ ประสงค์
ร้ อยละ 30
4. รพท./รพศ. มีคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
ร้ อยละ 30
5. รพช.มีคลินิกผู้สูงอายุที่ให้ บริการประเมิน/ คัดกรอง/รักษาเบือ้ งต้ น ร้ อยละ 30
6. รพท./รพศ. มีคลินิกเวชกรรมฟื้ นฟูคุณภาพ
ร้ อยละ 70
49
ตัวชี้วดั กลุ่มวัยสู งอายุ/ผู้พกิ าร
เป้ าหมายผลลัพธ์
1. ตาบลดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว
ร้ อยละ 20
2. ตาบลมีกระบวนการดูแลสุ ขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ร้ อยละ 60
3. คนพิการทางการเคลือ่ นไหว(ขาขาด)ได้ รับบริการ ร้ อยละ 80
50
การพัฒนาเครือข่ ายงานส่ งเสริมสุ ขภาพ
ข้ อเสนอแนะ
1 ผู้รับผิดชอบงานของ CUP (รพ. สสอ.)
2 แบ่ งผู้ประสานงานตามกลุ่มวัย
3 ระบบการติดต่ อ ประสานงาน
4 การสื่ อสาร
51