แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู

Download Report

Transcript แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู

สมหวัง พิธิยานุวฒ
ั น์
ภาคีสมาชิก สานักธรรมศาสตร์ และการเมือง
ประธานคณะกรรมการคัดเลือกฯ และ
กรรมการบริหารครู พนั ธ์ ใหม่
อนุกรรมการคุรุศึกษาแห่ งชาติ
คุณภาพครู : ประเด็นท้ าทายในการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่ อง
I คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จากวิทยาลัยวิชาการศึกษามหาสารคาม
วิวฒั น์ สู่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (คณะศึกษาศาสตร์ )
เป็ น คณะศึกษาศาสตร์คุณภาพของประเทศ
ได้การรับรองมาตรฐานคุณภาพ สมศ. อยูใ่ นระดับดีมาก ซึ่ งเป็ นสถาบันเดียว
ใน 57 สถาบันกลุ่มศึกษาศาสตร์ /ศึกษาศาสตร์
 มีผลการปฏิบตั ิราชการตามคารับรองปฏิบตั ิราชการเป็ นอันดับ 1 ในกลุ่มคณะ
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ 3 ปี ซ้อน (ปี งบประมาณ 2550-2552)
 มีผลประเมินการประกันคุณภาพภายในปี พ.ศ. 2552 อยูใ่ นระดับดีมาก




I คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
 ขอแสดงความชื่นชมยินดีกบั คณบดี คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นิสิต และบุคลากร
ทุกคน
 มองไปข้างหน้า
 เป้ าหมายของคณบดี
  รักษาแชมป์ เป็ นที่ 1 ของคณะครุ ศาสตร์ /ศึกษาศาสตร์ ในภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนือ
  เป็ นที่ 1-5 ของคณะครุ ศาสตร์ /ศึกษาศาสตร์ของประเทศ
 จากผลประเมินรอบสามของ สมศ.

 เป้ าหมายที่ทา้ ทาย น่าจะเป็ นที่ 1 ของประเทศ จากการประเมินรอบ
สามของ สมศ. (รักษาแชมป์ ) และเทียบเคียงได้กบั National Institute of
Education Technological University ของ สิ งคโปร์ ในอีก 4 ปี ข้างหน้า
(2554-2557)
II การพัฒนาวิชาชีพครู ให้ เป็ นวิชาชีพชั้นสู งเพือ่ ปฏิรูปการศึกษา
 สถานภาพครู
 เงื่อนไขของวิชาชีพครู
 แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู
สถานภาพครู
1. เป็ นบุคลากรวิชาชีพ (มาตรา 4)
2. เป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพชั้นสู ง (มาตรา 52)
3. มีหน้าที่หลักด้านการเรี ยนการสอน และ ส่ งเสริ ม
การเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน
เงือ่ นไขของวิชาชีพครู
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ได้รับการศึกษาอบรมเป็ นพิเศษ
มีจรรยาบรรณ : เงื่อนไขทัว่ ไป และเงื่อนไขเฉพาะครู
มีมาตรฐานวิชาชีพ : TQF
มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ : ทัว่ ไป , เฉพาะ
มีองค์กรวิชาชีพกากับดูแล : คุรุสภา
มีการพัฒนาตนเองต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู
3.1 การศึกษาสาหรับครู ใหม่
หลักสู ตรครู ใหม่
ปริ ญญาตรี ทางการศึกษา 5 ปี  5+1 ปี ได้ปริ ญญาโททางการศึกษา (นัก
การศึกษา)
ปริ ญญาตรี ทางเนื้อหา 4 ปี + 1 ปี ประกาศนียบัตรบัณฑิต  4+1+1 ปี ได้
ปริ ญญาโททางการสอนวิชาเฉพาะ (ครู )
 การผลิตครู ยคุ ใหม่ บูรณการกับการพัฒนาครู ประจาการ และการวิจยั ในชั้น
เรี ยน โดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน
 สถานศึกษาที่มีคุณภาพเป็ นสถานศึกษาร่ วมผลิตครู ยคุ ใหม่ ร่ วมพัฒนาครู
ประจาการ และร่ วมพัฒนาวิชาชีพครู
 ทางานแบบเครื อข่าย: หนึ่งคณะศึกษาศาสตร์ หนึ่งจังหวัด
ปฏิวตั ิการผลิตและพัฒนาครู ของประเทศ
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู










3.2 การพัฒนาครู ประจาการ
บูรณการกับการผลิตครู
ยึดฐานโรงเรี ยน (school based teacher development : SBTD)
ระยะสั้นพัฒนาให้เป็ นครู ปฏิรูปการศึกษามีประมาณร้อยละ 20 ของครู พัฒนาให้เป็ น
ครู ผนู้ าการเปลี่ยนแปลง
เป็ นการอบรมทางไกลอย่างใกล้ชิด
ใช้สื่อประสม
ใช้คูปองพัฒนาครู
โดยหน่วยใช้ครู ทุกหน่วยร่ วมดาเนินการ
มีการประกันคุณภาพการพัฒนาครู และใช้ผลประเมินเป็ นเงื่อนไขหนึ่งของการได้หรื อ
ต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
มีการขึ้นทะเบียนหรื อออกใบอนุญาตให้บุคคลหรื อหน่วยงานที่ทาหน้าที่พฒั นาครู
มีโปรแกรมพิเศษสาหรับการเป็ นครู ใหม่ในช่วง 2-3 ปี แรก (induction program)
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู





3.3 มาตรฐานวิชาชีพ
คุณสมบัติพ้นื ฐาน ต้องจบไม่ต่ากว่าปริ ญญาตรี ทางการศึกษา
ความรู้ความสามารถ
การปฏิบตั ิหน้าที่ : สอนและส่ งเสริ มพัฒนาผูเ้ รี ยน
ผลงานในหน้าที่
ค่าของครู ให้ดูที่ศิษย์
ผลงานนวัตกรรมทางการศึกษา
การปฏิบตั ิงาน + car, KM
 พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
การปฏิบตั ิที่ดี
นวัตกรรม
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู
3.4 องค์กรวิชาชีพ : คุรุสภา
 กาหนดจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ
 ออก พักใช้ เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
 กากับการปฏิบตั ิตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 พัฒนาวิชาชีพครู
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู
3.5 สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการ
ศึกษา (สคบศ.)
 เป็ นหลักในการพัฒนาครู
 ทางานร่ วมกับเครื อข่าย
 ส่ งเสริ มและเผยแพร่ นวัตกรรมในกานพัฒนาครู
 ดูแลกองทุนพัฒนาครู
 พัฒนารู ปแบบ สื่ อ และ หลักสูตรการพัฒนาครู
 เป็ นสถาบันอิสระในกากับของรัฐ
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู







3.6 สถาบันคุรุศึกษาแห่งชาติ (สคศ.)
วางแผนและประสานจัดทาแผนผลิตครู ยคุ ใหม่ให้ตรงตามความต้องการ
ของผูใ้ ช้ ทั้งปริ มาณและคุณภาพ
วิจยั และพัฒนาระบบการผลิตครู ของประเทศ
ประสานการผลิตครู กบั คลัสเตอร์ ต่างๆ
เป็ นศูนย์ประสานและส่ งเสริ มเครื อข่ายการผลิตครู
สร้างความเข้มแข็งให้สถาบันฝ่ ายผลิตครู
ดูแลกองทุนส่ งเสริ มการริ เริ่ ม สร้างสรรค์ของครู ให้กา้ วหน้าตามวิทยฐานะ
เป็ นสถาบันอิสระในกากับของรัฐ
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู
3.7 โครงสร้างเงินเดือนใหม่
“เพื่อให้มีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสังคม
และวิชาชีพในฐานะผูป้ ระกอบวิชาชีพชั้นสู ง”
(มาตรา 55)
เงินเดือน
แจกแจงตามวิทยฐานะ
มีเงินวิทยฐานะ
มี 4 แท่ง ไม่มีซี
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครู
3.8 การพัฒนาต่อเนื่อง
 กรอบการบริ หารงานบุคคลโดย ก.ค.ศ. และอนุ
ก.ค.ศ.
 กรอบองค์กรวิชาชีพ: คุรุสภา ใช้หลักฐานการ
พัฒนาต่อเนื่องเป็ นเกณฑ์หนึ่งในการต่อใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ
III การปฏิรูปการศึกษาไม่ มีวนั สาเร็จ ถ้ าไม่ ปฏิรูปครู
หลักฐานการปฏิรูป 2517, 2542
การปฏิรูปการผลิตครู ยคุ ใหม่ เพื่อการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561)
 สร้างแรงจูงใจให้ผเู ้ รี ยน เพื่อให้คนดี คนเก่งมาเป็ น
ครู สร้างความหลากหลายในวิชาชีพครู
โครงการครู พนั ธุ์ใหม่ version 00 ปี 2547
โครงการครู พนั ธุ์ใหม่ ปี 2552-2558
มี 2 โครงการ คือ
โครงการที่ 01 โครงการผลิตครู พนั ธ์ ใหม่ นาร่ อง version 01
เป็ นการประกันงานบรรจุเป็ นข้าราชการครู ทนั ทีเมื่อสาเร็ จการศึกษา
เป้ าหมายปี 2552 จานวน 2000 คน
ปี 2553 จานวน 2000 คน
คุณสมบัติของผูม้ ีสิทธิสมัคร เป็ นนิสิต/นักศึกษาชั้นปี ที่ 5 รุ่ นปี พ.ศ.2552 และ
เป็ นนิสิต/นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 รุ่ นปี พ.ศ.2553 โดยต้องมี GPAX ทางวิชาเนื้อหา
วิชาครู และโดยรวมไม่ต่ากว่า 3.00
รุ่ นปี 2552 ผลการคัดเลือกได้ผรู ้ ับทุน โดยได้รับโอกาสประกันการมีงานทาเป็ นข้าราชการ
ครู จานวน 948 คน ว่าที่ครู ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 927 คน และครู
อาชีวศึกษา 21 คน ต่ากว่าเป้ าหมายที่ตอ้ งการครู ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1867 คน และครู อาชีวศึกษา 133 คน
รุ่ นปี 2553 อยูร่ ะหว่างการคัดเลือกสถาบันฝ่ ายผลิต และจะรับสมัครนักศึกษา ซึ่ งคาดว่า
เดือนกันยายน 2553 จะทราบผลดาเนินการ
โครงการที่ 02 โครงการผลิตครูพนั ธ์ ใหม่ version 02 ระหว่ างปี พ.ศ.
2554-2558 โดยให้ ทุนการศึกษาและประกันการมีงานทา
 เป้ าหมายการผลิตครู ของ โครงการผลิตครู พนั ธ์ใหม่ version 02
ประเภท หลักสูตร
ประเภทครู
ปี การศึกษา
2554 2555 2556 2557 2558 รวม
รวม
62,00 62,00 62,00 62,00 5,200 30,000
รวมทั้งโครงการ
รวมหลักสูตร 5 ปี
รวมหลักสูตรป.บัณฑิต
(4+1)
ขั้นพื้นฐาน 5,70 5,70 5,70 5,70 4,80
0
0
0
0
0
อาชีวศึกษา 500 500 500 500 400
รวม
3,70 3,70 3,70 3,70 2,700
0
0
0
0
ขั้นพื้นฐาน 3,400 3,400 3,400 3,400 2,500
อาชีวศึกษา 300 300 300 300 200
รวม
2,500 2,50 2,50 2,50 2,50
0
0
0
0
27,600
2,400
17,500
16,100
1400
12,500
โครงการที่ 02 โครงการผลิตครูพนั ธ์ ใหม่ version 02 ระหว่ างปี พ.ศ.
2554-2558 โดยให้ ทุนการศึกษาและประกันการมีงานทา
 มติคณะกรรมการบริ หาร จะปรับจาก 5 ปี เป็ น 5+1 ได้ปริ ญญาโท และ 4+1 เป็ น 4+1+1 ได้ปริ ญญาโท

โครงการส่ งเสริ มการผลิตครู ที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ โดยการ
ให้ทุนการศึกษา และเมื่อสาเร็ จการศึกษาจะได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ชวั่ คราวและได้รับการ
บรรจุเข้ารับราชการครู ทนั ที

เมื่อรับราชการครบ 1 ปี และผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กาหนดจะได้รับใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพครู รวมทั้งจะได้รับการสนับสนุนส่ งเสริ มให้ได้พฒั นาและเพิม่ พูนวิทยฐานะอย่างต่อเนื่อง

เมื่อปฏิบตั ิงานครบ 2 ปี จะได้รับทุนศึกษาต่อระดับปริ ญญาโททุกคน

เป้ าหมายในการดาเนินงานตั้งแต่ พ.ศ. 2553-2560 รวม 8 ปี ๆละ 580 คน รวมจานวน 4,640 คน
ผูส้ มัครต้องมี GPAX โดยรวมไม่ต่ากว่า 2.75

สสวท. กาลังจะเสนอปรับในปี 2555 เป็ นการผลิตครู ระดับปริ ญญาโทแทนประกาศนียบัตร
บัณฑิต (ป. บัณฑิต ยังมีปี 2553 ส่ วนปี 2554 งดรับ)

ในระยะยาว ไม่เกินปี พ.ศ. 2561

จะเปลี่ยนการผลิตครู ระบบเปิ ดไม่จากัดจานวน เป็ นการผลิตครู ตามความต้องการที่จะใช้จริ ง
และผลิตโดยศูนย์แห่งความเป็ นเลิศทางวิชาการผลิตครู ในแต่ละสาขาวิชา ในแต่ละสถาบันฝ่ ายผลิตและ
นักศึกษาครู จะได้รับทุนทุกคน พร้อมประกันการมีงานทาได้นบั อายุราชการตั้งแต่วนั ที่ได้รับทุน
เช่นเดียวกับข้าราชการทหาร บัณฑิตครู พนั ธุ์ใหม่จะได้รับเงินสมเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพชั้นสู ง ทั้งนี้จะ
เป็ นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติดว้ ยความเต็มใจของทุกฝ่ าย ซึ่งจะเป็ นผลลัพธ์ที่เป็ นผลพลอยได้ที่พึง
ประสงค์ของโครงการผลิตครู พนั ธ์ใหม่ version 02
ส่ งเสริมความเข้ มแข็งของสถาบันผลิตครู
 ส่ งเสริ มให้มีคลัสเตอร์ ในการผลิตครู ในแต่ละสาขาวิชา ทั้งเป็ นความร่ วมมือใน
ประเทศและต่างประเทศ

มีสถาบันคุรุศึกษาแห่งชาติ ช่วยในการประสานส่ งเสริ มและสร้างความ
เข้มแข็งให้สถาบันการผลิตครู

ทุนปริ ญญาเอกและทุนหลังปริ ญญาเอกในต่างประเทศ เช่น ทุนโครงการค
ปก. ทางคุรุศึกษา

การพัฒนาครู ของครู

ทุนสนับสนุนการวิจยั และงานสร้างสรรค์ให้คณาจารย์ในสถาบันผลิตครู

เงินทุนเพื่อปรับความทันสมัยในทางวิชาการและการผลิตครู

ส่ งเสริ มการบูรณาการการผลิตครู การพัฒนาครู และการวิจยั โดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐาน
การพัฒนาสื่ อ และเทคโนโลยีสนับสนุนการผลิตครู
 สถาบันเทคโนโลยีการศึกษาแห่งชาติ (มาตรา 62)
 ประกันคุณภาพระดับหลักสู ตรและการเรี ยน
การสอนตาม TQF สาขาวิชา ครุ ศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์
 Quality Faculty of education
 Learning and Developed Nation
VI งานวิจัยคัดสรรเกีย่ วกับการปฏิรูปการศึกษาและการปฏิรูป
ครู
 วัฎจักรกระบวนการคุรุศึกษาเพื่อการปฏิรูปการศึกษาและเปลี่ยนแปลง
ประเทศ (จาก Sir Michel Barber)
ระบบการคุรุศึกษา
ระบบโรงเรี ยนที่ดี
การปฏิรูปการศึกษา
การศึกษาขั้นสูง
หลักสูตรและการเรี ยน
การสอนที่ดี
1. ระบบการครุศึกษาทีด่ ี
ระบบการคัดคนเข้าเรี ยน
ระบบการผลิตครู ก่อนประจาการ
การเตรี ยมบัณฑิตครู ในพื้นที่โรงเรี ยนเป้ าหมาย
การพัฒนาครู ในระยะแรกของการทางาน
การพัฒนาครู ประจาการ
2. ระบบโรงเรียนทีด่ ี
คุณภาพครู : คุณภาพของระบบการศึกษาไม่สามารถ
สูงกว่าคุณภาพครู
การพัฒนาการเรี ยนการสอนจะนาไปสู่การพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รี ยน
ต้องทาให้เด็กทุกคนได้เรี ยนรู้ตามศักยภาพ
ภาวะผูน้ าทางวิชาการของครู ใหญ่มีความสาคัญต่อ
การพัฒนาการสอนของครู
3. หลักสู ตรและการเรียนการสอนทีด่ ี
 Well Educated = E (K + T + L)
E = Ethics จริ ยธรรม
K = Knowledge ความรู้
T = Thinking ความคิด
L = Leadership ภาวะผูน้ า
 เพื่อให้สามารถดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีอยูอ่ ย่างปลอดภัย มี
ความสุ ข ประสบความสาเร็ จรู ้จกั แบ่งปั นสังคม และมีฐานะความเป็ นอยูท่ ี่ดี
 เพื่อพัฒนาความคิด เจตคติ คุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ และ
ความเข้าใจ
 การวางแผน สร้างประสบการณ์ในการเรี ยนรู ้ท้ งั หมดโดยเน้นการ
สร้างคุณค่าหรื อค่านิยมพื้นฐานและการวางเป้ าหมายในชีวิต
4. การพัฒนาการศึกษาขั้นสู ง
 การพัฒนาการศึกษาสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ
 การพัฒนากาลังคนตามความต้องการของภาคการผลิต
 สนับสนุนงบประมาณอย่างเป็ นธรรมและทัว่ ถึง
 กาหนดมาตรฐานการศึกษาให้อยูใ่ นระดับสากล
 การพัฒนาอาชีวศึกษา (จาก 30:70 เป็ น 60:40 ในปี 2561)
 การพัฒนาอุดมศึกษา พร้อมรับ AEC 2015 WTO
งานวิจยั ของ John Hattie : Visible
Learning : A Synthesis of Over 800
Meta-Analysis Related to Achievement
ในบทที่ 7 เรื่ อง The contributions from the Teachers
Most : 1. the quality of teachers
2. the nature of the teacher student
relationships.
Medium effects : 1. teacher expectations particularly
when lower expectations are held
for all their students
2. teacher professional development
Low effects come from teacher education programs
เราต้องประกันให้ได้วา่ คุณวุฒิครู มาพร้อมกับคุณภาพ คุณภาพครู ตอ้ งมาจาก
effective teacher programs
คุณจบมามีความสามารถอะไรบ้าง มีความเป็ นครู เพียงใด เหมาะสมกับคุณวุฒิที่ได้รับหรื อไม่
IV ครู ยุคใหม่ เพือ่ คนไทยยุคใหม่
 คนไทยยุคใหม่ : เป้ าหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2561)
คนไทยสามารถสื่ อสาร
และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้
คนไทยมีมนุษย์สัมพันธ์
ทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้
คนไทยมีคุณภาพได้
มาตรฐานระดับสากล
คนไทย
คนไทยใฝ่ สัมฤทธิ์ คิดเป็ น
ทาเป็ น แก้ปัญหาได้
คนไทยมีแรงบันดาลใจใฝ่ รู้
มีฉนั ทะ และทักษะในการเรี ยนรู้
คนไทยใฝ่ ดีมีคุณธรรม
จริ ยธรรม
ครู นกั วิจยั
ครู มืออาชีพ
ครู ศึกษิต
ผูด้ ีผมู้ ีการศึกษา
6 ประการของน.ม.ส.
ครู
ยุคใหม่
ครู ผนู้ า
ครู เพื่อศิษย์
ยึดมัน่ ในกัลยาณมิตร
ธรรม 7 ประการ
ครู นักวิจัย
การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
นักคิดชอบตั้งคาถาม
ครู นกั วิจยั
แหล่งความรู ้
การวิจยั การเรี ยนการสอน
ใฝ่ รู้
ครู ผ้ ูนา
ผูส้ ร้างวิสัยทัศน์
เจนจัดวางแผน
ทางานเชิงรุ ก
ครู ผนู้ า
พัฒนาศิษย์
และการสอน
หนักแน่น กล้าตัดสิ นใจ
ฉับไวแก้ปัญหา
ครูเพือ่ ศิษย์ ยดึ มั่นในกัลยาณมิตรธรรม 7 ประการ
น่ารัก
น่าพอใจ
ไม่ชกั นาในเรื่ องเหลวไหล
สามารถกล่าวถ้อย
แถลงที่ลึกซึ้งได้
รู้สึกอุ่นใจและปลอดภัย
น่าเคารพ
ครู เพื่อศิษย์
ยึดมัน่ ในกัลยาณมิตร
ธรรม 7 ประการ
อดทนต่อถ้อยคา
ทรงความรู้แท้จริ ง
น่ายกย่อง
มีวาทศิลป์
รู้จกั พูด
ครูศึกษิตผู้ดีผู้มีการศึกษา 6 ประการของน.ม.ส.
ความสามารถทางภาษา
อย่างน้อย 2 ภาษา
แปลความคิดเป็ น
การกระทาได้สาเร็ จ
เจริ ญกาย
เจริ ญปัญญา
แสวงหาความรู้
ครู ศึกษิต
ผูด้ ีผมู้ ีการศึกษา
6 ประการของน.ม.ส.
ประพฤติดี มารยาทดี
รสนิยมดี
คิดตรึ กตรองถ่องแท้
ครู มอื อาชีพ
การสื่ อสาร
มีความรู ้ทางวิชาการ
จรรยาบรรณ
ICT
ครู มืออาชีพ
มีอุดมการณ์วิชาชีพ
มุ่งคุณภาพของศิษย์
มีทกั ษะวางแผน
และจัดการเรี ยนรู ้
เชี่ยวชาญตาม
มาตรฐานวิชาชีพ
ME
(I + K + S +
กัลยาณมิตร
อุดมการณ์ ความรู ้ทาง
แห่งวิชาชีพ วิชาการ
ครู
เชี่ยวชาญทักษะ
วิชาชีพการ
จัดการเรี ยนรู ้
ประพฤติดี
มารยาทดี
แรงบันดาล
ใจ
ทักษะการเรี ยนรู ้
จรรยาบรรณ
ครู
จินตนาการ
ทักษะการ
สื่ อสารและ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
คุณธรรมรู ้ดี
รู ้ชวั่ รู ้ผิดรู ้ถกู
หิ ริโอตัปปะ
ทักษะชีวิตและ
อาชีพ
ทักษะการวิจยั
เพื่อพัฒนาการ
เรี ยนการสอน
และวิชาชีพครู
T + L)
ความคิดอย่าง ภาวะผูน้ า
เป็ นระบบ และ
คิดสร้างสรรค์





M = Morality
E = Ethics
I = Ideology, Inspiration, Imagination
K = Knowledge
S = Learning Management Skills; Learning
and Innovation Skills; Digital Skills; and
Life and Career Skills
 T = Thinking
 L = Leadership
 จากสมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครู ยคุ ใหม่ นาไปจัดทา
TQF สาหรับครู ยคุ ใหม่ แล้วจึงจัดทาหลักสู ตรและการเรี ยนการสอนบ่ม
เพาะครู ยคุ ใหม่ เพื่อก่อให้เกิดการปฏิรูปการเรี ยนรู ้ในระบบโรงเรี ยนของ
ประเทศไทยต่อไป
V แนวปฏิบัติที่ดขี องระบบการศึกษาระดับสากล
1. ดึงดูดและคัดสรรครู จากท็อป 5 % ของผูส้ าเร็จปริ ญญาตรี โดยมีการอบรมการเป็ นครู
คุณภาพสูง
ไทย : ท็อป 5 % ของปริ ญญาตรี น้อยคนที่จะเลือกเป็ นครู หรื อเรี ยนวิชาครู ต่อ 4 +
1 (ประสบการณ์จากโครงการ สควค.)
2. ค่าตอบแทน ภาวะการทางาน และการให้ทุน ที่นาไปสู่การกระจายครู ที่มีคุณภาพอย่าง
เป็ นธรรม
ไทย : ค่าตอบแทนของครู ในตอนแรกเริ่ มไม่ดึงดูด ท็อป 5 % หรื อ ท็อป 10 % มา
เป็ นครู
ถึงแม้มีการยกย่องครู ดีเด่นแห่งชาติ ครู แกนนา ฯลฯ แต่การกระจายครู ที่มีคุณภาพ ยัง
ไม่เกิดขึ้น
อาจเกิดขึ้นบ้างจากโครงการผลิตครู พนั ธุ์ใหม่ พ.ศ. 2547 แต่จะเกิดผลเด่นชัดจาก
โครงการผลิตครู พนั ธุ์ใหม่ 01 และ 02 และโครงการผลิตครู ส.ค.ว.ค. ยิง่ ถ้า
คณะรัฐมนตรี ให้ปรับเป็ น 5 + 1 และ 4 + 1 + 1 แล้วได้ปริ ญญาโท จะทาให้เกิดการ
กระจายครู ที่มีคุณภาพไปยังโรงเรี ยนที่ขาดแคลนครู อย่างเป็ นธรรมมากขึ้น
V แนวปฏิบัติที่ดขี องระบบการศึกษาระดับสากล
3. ครู ใหญ่มาจากครู เก่งที่ผา่ นการอบรมที่เข้มข้น มีอานาจการตัดสิ นใจ
และเป็ นผูน้ าด้านวิชาการโดยเฉพาะด้านการสอน
 ไทย : ครู ใหญ่มีภาระการบริ หารทัว่ ไปมากเกินไป ไม่ได้แสดง
บทบาทเป็ นผูน้ าทางวิชาการและการสอน การคัดเลือกไม่ได้คดั จาก
ครู เก่งที่มีแววในการบริ หารจัดการ ใช้การสอบเป็ นหลัก มีความ
รับผิดชอบแต่ไม่มีอานาจตัดสิ นใจเต็มที่ ทั้งนี้เพราะโรงเรี ยนของรัฐ
ยังไม่เป็ นนิติบุคคล แม้จะมีความพยายาม 10 ปี มีโรงเรี ยนนิติบุคคล
โรงเดียว คือเป็ นโรงเรี ยนมหิ ดลวิทยานุสรณ์ เป็ นโรงเรี ยนสาหรับผู ้
มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ เป็ นโรงเรี ยนจัดตั้งใหม่มี
ฐานะเป็ นองค์การมหาชน บริ หารโดยองค์คณะบุคคล คือ
คณะกรรมการบริ หาร
V แนวปฏิบัติที่ดขี องระบบการศึกษาระดับสากล
4. สังคมถือว่าครู เป็ นผูป้ ฏิบตั ิวชิ าชีพชั้นสูง ต้องมีจรรยาบรรณ และได้รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง สังคมไทยถือว่าครู เป็ นผูป้ ฏิบตั ิวชิ าชีพชั้นสูงต้องมีจรรยาบรรณ
ตามที่กฎหมายกาหนด แต่ในส่ วนสาระสาคัญ สังคมไทยรวมทั้งสังคมครู ไทยยัง
ไม่ตระหนักถึงความเป็ นวิชาชีพชั้นสูงอย่างแท้จริ ง ครู จึงไม่ได้รับเงินเดือนใน
ฐานะผูป้ ระกอบวิชาชีพชั้นสูงเช่นวิชาชีพอื่นๆ และครู จึงไม่ได้รับการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง ขณะนี้คุรุสภากาลังให้ความสาคัญเรื่ องการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ การ
ออกใบอนุญาตหรื อต่อใบอนุญาตต้องมีการทดสอบสมรรถนะและคุณลักษณะที่
พึงประสงค์มิใช่พิจารณาจากตัวหนังสื อในหลักสูตรเท่านั้น ก.ค.ศ. กาลังมีความ
เคลื่อนไหวเกี่ยวกับเงินเดือนและสวัสดิการต่างๆให้สมกับเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพ
ชั้นสูง ที่ได้รับการศึกษาอบรมเป็ นพิเศษโดยเฉพาะครู ยคุ ใหม่จากโครงการผลิตครู
พันธุ์ใหม่ของ สกอ. และครู สควค. จาก สสวท. อย่างไรก็ดีโดยสภาพปั จจุบนั
อาวุโสและความสัมพันธ์ส่วนตัวมีความสาคัญต่อการเลื่อนตาแหน่งและการพัฒนา
ทางวิชาชีพมากกว่าความสามารถของครู แต่ละคน
V แนวปฏิบัติที่ดขี องระบบการศึกษาระดับสากล
5. ทั้งครู และระบบการศึกษากาหนดเป้ าหมายให้เด็กทุกคนประสบความสาเร็ จโดย
มีมาตรการติดตามช่วยเหลือเด็กที่ลา้ หลัง
 ไทย : ทั้งครู และระบบการศึกษาไทยมีการกาหนดเป้ าหมายให้เด็กทุกคน
ประสบความสาเร็ จ เป็ นความคาดหวังและความปรารถนา แต่มาตรการ
ช่วยเหลือสนับสนุนของเรามีขอ้ จากัดมาก ทาให้เรื่ องนี้มีปัญหา แม้กระทัง่ มี
สถิติสารวจพบว่า เด็กร้อยละ 25 จบ ป. 6 แต่ยงั อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้

ช่องว่างระหว่างเมืองกับชนบททั้งผลสัมฤทธิ์ ของนักเรี ยน และคุณภาพ
ของครู รวมทั้งคุณภาพของโรงเรี ยนยังคงกว้างอยู่ จากผลการประเมินคุณภาพ
และมาตรฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพบว่า การปฏิรูปการศึกษาทาให้
ช่องว่างระหว่างคุณภาพของสถานศึกษาในเมืองและชนบทยิง่ แตกต่างกันมาก
ขึ้น ผลการปฏิรูปการศึกษาส่ งผลทางบวกกับสถานศึกษาในเมืองมากกว่า
สถานศึกษาในชนบท ทาให้ความคาดหวังให้เด็กชนบทห่างไกลประสบ
ความสาเร็ จในการเรี ยนจึงยังเป็ นความฝันต่อไป : คงต้องรอครู ยคุ ใหม่
สรุปคุณภาพของครูยุคใหม่ เพือ่ การปฏิรูปการศึกษา
Morality & Ethics
Know
ledge
Skills
Ideology
Inspiration
Imagination
Thinking &
Reasoning
Leader
ship
Teacher Standards and Learning
Outcomes Assessment
Curriculum and Instruction : Teacher Education
Preservice Teacher education and Teacher Development
Contexts and Learning Environments
 Learning Outcomes and
Assessment Framework for New
Generation of Teacher (Adapted
from Trilling & Fadel : 2009 and
Barber : 2010)
คาปรารภสุ ดท้ ายของ ดร. โกวิท วรพิพฒ
ั น์ (2542)
อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
1. ยกหรื อแยก การฝึ กหัดครู มาให้เด่นชัด การฝึ กหัดครู ตอ้ งคัดคนเป็ นพิเศษ ทั้ง
เก่งและมีคุณลักษณะที่เหมาะสม ต้องจัดแบบกินนอน แบบนักเรี ยนนายร้อย
จปร. ได้เงินเดือนระหว่างเรี ยน ใครเรี ยนเก่งแต่นิสัยไม่เหมาะเป็ นครู ให้คดั
ออกไปเรี ยนอย่างอื่น
2. จัดเงินเดือนครู ทานองเงินเดือนผูพ้ ิพากษา ให้ตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ
3. ให้สวัสดิการครู ให้ดีเป็ นพิเศษ
4. ให้ประเมินผลการเรี ยนตามมาตรา 26 มิใช่ประเมินแต่วชิ าหนังสื อ ไม่ได้
ประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์เลย ในมาตรา 26 ให้สอบวัดคุณลักษณะ
ควบคู่กบั วิชาหนังสื อด้วย อย่าลืมนาผลประเมินไปปรับปรุ งผลการเรี ยนการ
สอน และนาไปพิจารณาในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาด้วย