ดาวน์โหลดเอกสาร

Download Report

Transcript ดาวน์โหลดเอกสาร

Primary Health care
Krittin Bunditanukul Pharm.D, BCPS
Department of Pharmacy Practice, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Chulalongkorn University
Primary care

การบริการระดับแรกทีอ่ ยู่ใกล้ชิดชุ มชนมาก ทีส่ ุ ด โดยดูแลสุ ขภาพ
ประชาชน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุ มชนอย่ างใกล้ชิด โดยดูแล
ตั้งแต่ ก่อนป่ วย ไปจนถึงการดูแลเบือ้ งต้ น เมื่อเจ็บป่ วยและหลังเจ็บป่ วย
ทั้งด้ านร่ างกาย จิตใจ สั งคมและ จิตวิญญาณ เพือ่ ให้ เกิดชุ มชนเข้ มแข็ง
ต่ อไป
Primary care unit

การจัดพืน้ ทีใ่ นอาคาร และมีองค์ ประกอบ บุคคล วัสดุ สิ่ งของ และระบบ
ทางาน เพือ่ จัดบริการปฐมภูมิ โดยมีสัดส่ วน และองค์ ประกอบเพือ่
จัดบริการทีช่ ัดเจน ถูกต้ องตามความหมาย ของบริการปฐมภูมิ
(Primary Care)
Primary health care

หมายถึง การดาเนินงานสาธารณสุ ขของประชาชน โดยประชาชน เพือ่
ประชาชน โดยเจ้ าหน้ าทีเ่ ป็ นผู้กระตุ้นให้ คาปรึกษาแนะนา
Primary medical care

เป็ นการจัดบริการของหน่ วยงานรัฐทีใ่ ห้ บริการทาง การแพทย์ และการ
สาธารณสุ ขทีเ่ ป็ นบริการด่ านแรก ซึ่งการดาเนินการอาจใช้ ปรัชญาของ
สาธารณสุ ขมูลฐาน หรือเทคนิคบริการทีเ่ จ้ าหน้ าทีเ่ ป็ นผู้ให้ บริการก็ได้
Primary care = PHC + PMC
Primary care
-ร้ านยา
-คลินิก
-สถานบริการสาธารณสุ ข
ชุ มชนชุ มชน (PCU)
-โรงพยาบาลส่ งเสริม
สุ ขภาพตาบล (รพสต)
Secondary
care
-โรงพยาบาลชุ มชน
Tertiary care
-โรงพยาบาลจังหวัด
-โรงพยาบาลขนาดใหญ่
-โรงเรียนแพทย์
พฤติกรรมสุ ขภาพ
Primary care
-ร้ านยา
-คลินิก
-สถานบริการสาธารณสุ ข
ชุ มชนชุ มชน (PCU)
-โรงพยาบาลส่ งเสริม
สุ ขภาพตาบล (รพสต)
Secondary
care
-โรงพยาบาลชุ มชน
Tertiary care
-โรงพยาบาลจังหวัด
-โรงพยาบาลขนาดใหญ่
-โรงเรียนแพทย์
ร้ านยา

ร้ านยาเป็ นหน่ วยหนึ่งของระบบสุ ขภาพทีอ่ ยู่ใกล้ชิดประชาชน ไม่
เพียงแต่ ทาหน้ าทีด่ ้ านการกระจายยาเท่ านั้น แต่ ยงั มีบทบาทสาคัญ
เปรียบเสมือนเป็ น "ทีพ่ งึ่ ด้ านสุ ขภาพของชุมชน" เป็ นทางเลือกหนึ่ง
ของประชาชนในการใช้ บริการเมื่อมีอาการหรือเจ็บป่ วยเบือ้ งต้น
(common illness) นอกเหนือจากการจาหน่ ายยา ร้ านยายัง
เป็ นแหล่งทีส่ ามารถให้ คาแนะนาในการดูแลสุ ขภาพตนเอง ตลอดจนการ
แนะนาและส่ งต่ อไปยังแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญตามความเหมาะสม
ร้ านยา

สถานการณ์ ประเทศไทยมีร้านยาจานวนมาก และกระจายในเขตต่ างๆทัว่
ประเทศ เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบสาธารณสุ ข ทาให้ ประชาชนเข้ าถึง
บริการสุ ขภาพจากร้ านยาได้ โดยง่ าย ประกอบกับร้ านยาเป็ นหน่ วยหนึ่ง
ในภาคเอกชน การบริหารจัดการหรือการดาเนินการต่ าง ๆ จึงสามารถ
ช่ วยประหยัดงบประมาณการคลังของ รัฐในการดูแลสุ ขภาพของคนไทย
ซึ่งมีแนวโน้ มทีเ่ พิม่ มากขึน้ มาโดยตลอดได้
ร้ านยา

ความแตกต่ างของคุณภาพการบริการของร้ านยาเป็ นประเด็นหนึ่งที่
สาธารณชนให้ ความสนใจ ทั้งนีเ้ พือ่ ให้ ตอบสนองความต้ องการของ
ผู้บริโภค หรือผู้ป่วย มาตรฐานร้ านยาจึงถูกพัฒนาขึน้ ทั้งนีโ้ ดยมีความ
มุ่งหมายทีส่ าคัญในการพัฒนาร้ านยา ให้ สามารถเป็ นหน่ วยบริการหนึ่ง
ในเครือข่ ายระบบบริการสุ ขภาพปฐมภูมิ ภายใต้ การสร้ างหลักประกัน
สุ ขภาพถ้ วนหน้ า ซึ่งประชาชนทุกคนสามารถเข้ าถึงบริการด้ านสุ ขภาพ
ได้ ตามความจาเป็ น และมีเสรีในการเลือกใช้ บริการได้ ตามความพึงพอใจ
ร้ านยาคุณภาพ

ร้ านยาคุณภาพคือ ร้ านยาทีผ่ ่ าน “การรับรองจากสภาเภสั ชกรรม” ว่ ามี
มาตรฐานการให้ “บริการด้ านยาและสุ ขภาพทีด่ ี มีคุณภาพ” โดยมีการ
พัฒนามาตรฐานด้ านต่ าง ๆ มากกว่ าเกณฑ์ ทสี่ านักงานคณะกรรมการ
อาหารและยากาหนดในกฎหมาย ทั้งนีส้ ภาเภสั ชกรรมเป็ นผู้ให้ การ
รับรองคุณภาพดังกล่าว
ร้ านยาคุณภาพ

ร้ านยาคุณภาพ มีการบริการทีแ่ ตกต่ างจากร้ านขายยาทัว่ ไป เป็ นบริการที่
ไม่ ได้ มุ่งเน้ นเฉพาะการขายยา แต่ เป็ นบริการแบบวิชาชีพทีบ่ ริการทั้งใน
ส่ วนของผลิตภัณฑ์ (product service) และในส่ วนของ
บริการข้ อมูลและข้ อแนะนา (information service)
ส่ งผลให้ เกิดการใช้ ยาทีเ่ หมาะสมในชุ มชน อันทาให้ เกิดการพัฒนา
คุณภาพ ของระบบบริการสุ ขภาพโดยรวม เพือ่ คุณภาพชีวติ และสุขภาพ
ทีด่ ีขนึ้ ของประชาชนคนไทย
ร้ านยาคุณภาพ

ร้ านยาคุณภาพ ทีผ่ ่ านการรับรองจากสภาเภสั ชกรรมแล้ว จะให้ บริการที่
ดี มีคุณภาพหลัก ๆ 3 ด้ านดังนี้
1.เกณฑ์ มาตรฐานทางด้ านสถานที่ ได้ แก่ สะอาด สงบ สว่ าง
2.เกณฑ์ มาตรฐานทางด้ านบุคลากร ได้ แก่ มีเภสั ชกรอยู่ประจาตลอด
ระยะเวลาทาการ
3.เกณฑ์ มาตรฐานทางด้ านสิ นค้ าและบริการได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ ยาต้ องได้
คุณภาพ มีการจัดเก็บทีด่ ี ไม่ มียาหมดอายุ หรือยาทีต่ ่ากว่ าเกณฑ์
มาตรฐาน
1. สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่ งสนับสนุนบริการ
1. 1 สถานที่
มีอาณาบริเวณแยกจากสถานที่แวดล้ อมเป็ นสั ดส่ วน
มีความสะอาด แสงสว่ างเหมาะสม อากาศถ่ ายเท มี
การจัดการควบคุมสภาวะแวดล้ อมทีเ่ หมาะสมต่ อ
การรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์
มีบริเวณที่จัดเรียงยาที่ต้องปฏิบัตกิ ารโดยเภสั ชกร
เท่ านั้น และเป็ นทีร่ ับรู้ ของผู้รับบริการอย่ างชัดเจน
มีส่วนให้ คาแนะนาและคาปรึกษาทีเ่ ป็ นสั ดส่ วนและมี
ป้ายแสดงเห็นเด่ นชัด
1. สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่ งสนับสนุนบริการ
1.2 ป้ายสั ญญลักษณ์
ป้ายแสดงชื่อ รู ปถ่ าย เลขทีใ่ บประกอบวิชาชีพ เวลา
ปฏิบัตกิ ารของเภสั ชกรทีก่ าลังปฏิบัติหน้ าที่ ไว้ ในที่
เปิ ดเผย
1.3 อุปกรณ์
อุปกรณ์ ในการให้ บริการสุ ขภาพทีเ่ หมาะสมเพือ่
ประโยชน์ ในการติดตามผล
ตู้เย็นเก็บเวชภัณฑ์ โดยเฉพาะ เพียงพอ มีการบันทึก
อุณหภูมิสม่าเสมอ
1. สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่ งสนับสนุนบริการ
1.4 ภาชนะบรรจุ
ยาทีม่ ีไว้ เพือ่ บริการ ควรอยู่ในภาชนะเดิม ที่มีฉลาก
ครบถ้ วนตามที่กฎหมายกาหนด ไม่ ควรมีการเปลีย่ น
ถ่ ายภาชนะ
ภาชนะบรรจุทเี่ หมาะสมในการให้ บริการ เช่ น
คานึงถึงปริมาณ การป้ องกันยาเสื่ อม
1.5 สิ่ งสนับสนุนบริการ
มีฉลากช่ วย เอกสารความรู้ สนับสนุนการ
บริการอย่ างเหมะสม
2. การบริหารจัดการเพือ่ คุณภาพ
2.1 บุคลากร(ผู้มหี น้ าทีป่ ฏิบัติการ)
เป็ นเภสั ชกรทีส่ ามารถประกอบวิชาชีพตามใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพเภสั ชกรรม อยู่ปฏิบัตห
ิ น้ าทีต่ ลอดเวลาที่
เปิ ดทาการ
2. การบริหารจัดการเพือ่ คุณภาพ
2.2 กระบวนการคุณภาพ
ระบบการจัดเก็บเอกสารทีเ่ หมาะสม
การประกาศสิ ทธิผู้ป่วยทีค่ วรได้ รับ
การวิเคราะห์ ความเสี่ ยงและแนวทางการบริหารจัดการ เช่ น ความ
ปลอดภัยของการให้ บริการ การจ่ ายยาผิด
การค้ นหาความต้ องการลูกค้ า
บันทึกบริการสาหรับรายทีต่ ิดตามต่ อเนื่อง
3.การปฏิบัติตามบทบาทวิชาชีพเภสั ชกรรม
3.1การจัดหา การควบคุม ยาและเวชภัณฑ์
เกณฑ์ การคัดเลือกยา ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ
การเก็บรักษายาให้ คงคุณภาพตลอดเวลา
บัญชีควบคุมและตรวจสอบยาหมดอายุ
3.2แนวทางการให้ บริการทางเภสั ชกรรม
การส่ งเสริมมการใช้
ยาอย่
ระบบควบคุ
ยาเสพติ
ด าวังเหมาะสม
ตถุออกฤทธิ์ฯ ยาควบคุมพิเศษทีร่ ัดกุม
ก่ อนการส่ งมอบยาทุกครัต้ งลอดเวลา
จะต้ องระบุผู้รับบริการทีแ่ ท้ จริง
และสามารตรวจสอบได้
ค้ นหาความต้ องการ ความคาดหวัง โดยซักประวัติ
มาตรฐานร้ านยา
3.การปฏิบัติตามบทบาทวิชาชีพเภสั ชกรรม
3.2แนวทางการให้ บริการทางเภสั ชกรรม
แนวทางการส่ งมอบยา
ก.เภสั ชกรเป็ นผู้ส่งมอบยาให้ แก่ ผู้รับบริการโดยตรง
ข. ฉลากยาประกอบด้ วยชื่อสถานบริการ ชื่อ
ผู้ป่วย วันที่ ชื่อการค้ า ชื่อสามัญทางยา ข้ อบ่ งใช้
วิธีใช้ ข้ อควรระวัง วันหมดอายุ
ค. การส่ งมอบจะต้ องอธิบายการใช้ ยา การปฏิบัตติ ัวของ
ผู้ป่วยอย่ างชัดเจน ทั้งโดยวาจา และลายลักษณ์ อกั ษร
มาตรฐานร้ านยา
3.การปฏิบัติตามบทบาทวิชาชีพเภสั ชกรรม
3.2แนวทางการให้ บริการทางเภสั ชกรรม
จัดทาประวัตกิ ารใช้ ยาของผู้รับบริการที่
ติดตามต่ อเนื่อง
กาหนดขอบเขตและแนวทางการส่ งต่ อผู้ป่วยทีเ่ ป็ นรู ปธรรม
มาตรฐานร้ านยา
3.การปฏิบัติตามบทบาทวิชาชีพเภสั ชกรรม
3.2แนวทางการให้ บริการทางเภสั ชกรรม
แนวทางการให้ คาปรึกษาสาหรับผู้ป่วยทีต่ ดิ ตามต่อเนื่อง
การเฝ้ าระวัง APR และให้ มีระบบรายงานไปยังหน่ วยงานที่
รับผิดชอบ
ร่ วมมือกับแพทย์ หรือบุคลากรสาธารณสุ ขอืน่ ๆเพือ่ เป้าหมายสู งสุ ด
ในการรักษา
มาตรฐานร้ านยา
4.การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ จริยธรรม
ร้ านยาทีใ่ ห้ บริการจะต้ องไม่ ถูกเพิกถอนใบอนุญาต หรือระหว่ าง
การพักใช้ ใบอนุญาตทีเ่ กีย่ วข้ อง
จะต้ องปฏิบัตติ ามกฎหมาย และระเบียบรวมถึงการจัดทา
รายงานเอกสารในส่ วนที่เกีย่ วข้ อง
มียาทีต่ รงกับประเภทใบอนุญาต และถูกต้ องตามกฎหมาย
มาตรฐานร้ านยา
4.การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ จริยธรรม
จะต้ องให้ ความเคารพ และเก็บรักษาความลับ ข้ อมูลผู้ป่วย
โดยจัดระบบป้องกันข้ อมูลและรายงานทีเ่ ป็ นของผู้ป่วย
ไม่ จาหน่ ายยาทีอ่ ยู่ในความรับผิดชอบของเภสั ชกร ในขณะที่
เภสั ชกรไม่ อยู่ปฏิบัตหิ น้ าที่
มาตรฐานร้ านยา
5.การให้ บริการและการมีส่วนร่ วม
ในชุมชนและสั งคม
ส่ งเสริมการใช้ ยาอย่ างเหมาะสมในชุมชน เช่ นการร่ วมในโครงการ
รณรงค์ ด้านสุ ขภาพต่ างๆ
มีส่วนร่ วมในการป้ องกันปัญหาที่เกิดจากการใช้ ยาที่ไม่
เหมาะสมในชุมชน
จะต้ องไม่ มีผลิตภัณฑ์ ทบี่ นั่ ทอนสุ ขภาพอยู่ในส่ วนที่ได้ รับ
อนุญาต เช่ นบุหรี่ สุ รา เครื่องดืม่ ทีม่ ีแอลกอฮอล์ เป็ นต้ น
Community pharmacist
การประกอบวิชาชีพเภสั ชกรรมในร้ านยา
 บทบาทสาคัญได้ แก่

การซักประวัติ
 การจ่ ายยา
 การติดตามการใช้ ยา
 การให้ คาปรึกษาในการใช้ ยา และการดูแลตนเอง
 การดูแลโรคเบือ้ งต้ นทั้งโรคเฉียบพลัน และโรคเรื้อรัง
 การส่ งเสริมการสุ ขภาพและการป้ องกันโรค
 การคัดกรองการเจ็บป่ วย
 การส่ งต่ อผู้ป่วยไปพบแพทย์

คุณสมบัตเิ ภสัชกรชุมชน
 มนุ ษยสัมพันธ์ดี
ร่าเริง แจ่มใส
 Good communication skill
 Professional mind attitude
 Public mind
 Service mind
 Systematic approach
ความท้ าทายในการปฏิบัตวิ ชิ าชีพเภสั ชกรรมในร้ านยา
 ผู้ป่วยพบเภสั ชกรชุ มชน ก่ อนพบแพทย์
 ต้ องสร้ างข้ อมูลและประวัตเิ องทั้งหมด
 การทาบันทึกข้ อมูลผู้ป่วย
 ความสานึกในการเป็ นทีมสุ ขภาพ
 ความรั บผิดชอบต่ อผู้มารั บริ การ
 การติดตาม
จุดแข็งของร้ านยา
 ใกล้ บ้าน ใกล้ ชุมชน
 จุดต่ างจากสถานพยาบาลอืน
่
 ผู้ป่วย
Acute
Chronic
 ผู้มีสุขภาพดี
 ผู้ดูเสมือนสุ ขภาพดี
ผู้ให้ บริบาลเภสั ชกรรม

ต้ องสร้ างความมั่นใจ
มีการใช้ ยาอย่างเหมาะสม
 ในประสิ ทธิภาพของยา
 ในการใช้ ยาอย่ างปลอดภัย
 ผู้ป่วยสามารถให้ ความร่ วมมือได้ เชื่อใจได้

สามารถ ค้ นหา แก้ปัญหา และป้องกันปัญหาที่เกิดจากการใช้ ยา
 สามารถดาเนินการได้ ในร้ านยา และต้ องสามารถให้ บริการผู้ป่วยได้ ทุก
ประเภท และทุกๆโรคทีไ่ ด้ รับการรักษาด้ วยยา

ผู้ให้ บริบาลเภสั ชกรรม

คุณสมบัติของผู้ให้ บริการ
 ต้ องเข้ าใจถึงความรับผิดชอบทีจ่ ะเกิดขึน
้
 เรี ยนรู้ ทจ
ี่ ะสร้ างความสั มพันธ์ ในการดูแลกับผู้ป่วย
 ต้ องมีกระบวนการคิดอย่ างสมเหตุผลในการตัดสิ นใจ
 ต้ องการองค์ ความรู้ เฉพาะ
 มีทักษะทางคลินิก
 ในการให้ บริการ อยู่บนพืน
้ ฐานมาตรฐานการบริการ มาตรฐานและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ
บทบาทเภสั ชกรชุมชน
Primary Care
1. บทบาทในการส่ งเสริม
สุ ขภาพ (Health
Promotion)
2. บทบาทในการป้ องกันโรค
(Health Prevention)
3. ให้ บริการสุ ขภาพเบือ้ งต้ น
(Disease Management)
Chronic Care
1. การติดตามผู้ป่วยเรื้อรัง
2. Refer and Refill
3. Couselling /
Pharmaceutical care
4. ADR/APR
5. Home Health Care
การคัดกรองโรค

การตรวจคัดกรองโรค (screening) หมายถึง การตรวจคัด
กรองโรค หรือความพิการต่ างๆ ทีย่ งั ไม่ ได้ ปรากฏให้ เห็น โดยการตรวจ
ทางห้ องปฏิบัติการหรือการทดสอบอืน่ ๆ ทาให้ สามารถแยกผู้ป่วยหรือผู้
ทีม่ ีสิ่งผิดปกติในร่ างกายได้ การตรวจคัดกรองโรคอาจทาในประชากร
ทั้งหมด เลือกทาเฉพาะในกลุ่มทีม่ ีอตั ราเสี่ ยงต่ อการเกิดโรคสู ง
การคัดกรองและส่ง
ต่อผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ยง

ประเมินผูป้ ่ วยที่มารับ
บริการ ตามแบบฟอร์ม
การคัดกรองและส่งต่อ
การสร้ างเสริมสุ ขภาพ
การสร้ างเสริมสุ ขภาพ คือ กระบวนการเกือ้ หนุนและสนับสนุนส่ งเสริม
ให้ บุคคลและกลุ่มคนมีความสามารถในการควบคุมดูแลสุ ขภาพของ
ตัวเองและพัฒนาสุ ขภาพของตัวเอง
 การสร้ างเสริ มสุ ขภาพทีจ
่ ะได้ ผลดี บุคคลและกลุ่มคนต้ องเป็ นผู้กระทา
เอง ไม่ ใช่ รอหรือหวังพึง่ บริการจากแพทย์ และบุคลากรสาธารณสุข
เท่ านั้น

Promoting healthy behavior
เภสั ชกรมีบทบาทในการส่ งเสริมให้ ประชาชนมีพฤติกรรม
สุ ขภาพทีถ่ ูกต้ อง เช่ น
1. การรับประทานอาหารให้ ถูกสุ ขลักษณะ
2. ให้ การแนะนาในการเลิกดืม่ สุ รา และการเลิกสู บบุหรี่
3. ส่ งเสริมการรักษาสุ ขอนามัยในช่ องปาก
4. ส่ งเสริมให้ ใช้ ผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมภายใต้ หลักฐานการสนับสนุนทางวิชาการ
5. ลดหรือหยุดพฤติกรรมเสี่ ยง เช่ น การใช้ ยาชุ ด การใช้ ถุงยางอนามัยแทนการใช้
ยาคุมฉุกเฉิน
คาถามสาคัญก่อนจ่ายยา
1. ใครเป็ น ?
2. มีอาการอย่างไรบ้าง ?
3. เป็ นมานานเท่าไหร่แล้ว ?
4. เคยเป็ นมาก่อนหรือไม่ ?
คาถามสาคัญก่อนจ่ายยา(ต่อ)
5. ถามถึงอาการในโรคที่สงสัย ?
6. มีโรคประจาตัวหรือไม่ ?
7. แพ้ยาอะไรหรือไม่ ?
8. ยาที่ใช้อยูเ่ ป็ นประจา
9. อาชีพอะไร (สิ่งแวดล้อม) ?
การจ่ายยา
หมายถึง กระบวนการประเมินการสั ่งใช้ยา
หรือประเมินความจาเป็ นในการใช้ยา และคัดสรร
ยาตามหลักการวิชาชีพ และหลักฐานทางวิชาการ
ให้มีความครบถ้วนเหมาะสม และสมเหตุสมผล
IESAC
I
E
S
A
C

=
=
=
=
=
Indication
Efficacy
Safety
Adherance
Cost
Life style modification
การลดความเสี่ ยง
การปรับวิถช
ี ีวติ (3อ,
2ส)
เพิม
่ ประสิ ทธิภาพในจากการรักษาด้ วยยา
Follow-up

วัตถุประสงค์ ในการติดตามผู้ป่วย คือพิจารณาถึงผลของการรักษาด้ วยยา
โดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายของการรักษา ตามช่ วงเวลาทีค่ าดหวัง เพือ่
นาไปสู่ การปรับแผนการรักษาผู้ป่วย
Follow-up

การปฏิบัติงานของเภสั ชกรชุมชน การพิจารณาว่ าผู้ป่วยมีความผิดปกติ
ใดอย่ างแน่ ชัดนั้นทาได้ ยาก เนื่องจากไม่ มีข้อมูลการตรวจร่ างกาย หรือ
การตรวจทางห้ องปฏิบัตกิ าร ทาให้ การจ่ ายยาของเภสั ชกรชุ มชนจะ
ขึน้ กับการคาดการณ์ ความน่ าจะเป็ นของความผิดปกติของผู้ป่วย จาก
การซักประวัติ จึงอาจตัดสิ นใจไม่ ถูกต้ อง หรือไม่ ใช่ การตัดสิ นใจทีด่ ที สี่ ุ ด
การติดตามผู้ป่วยเป็ นวิธีการสาคัญทีช่ ่ วยในการยืนยันความถูกต้ องใน
การตัดสิ นใจ หรือทาให้ เกิดการปรับเปลีย่ นการรักษา
Home health care
การติดตาม และประเมินการเกิดปัญหาจากการใช้ ยาของผู้ป่วย ใน
ระหว่ างนัด เพือ่ แก้ไขปัญหา หรือส่ งต่ อผู้ป่วยกลับไปพบแพทย์ ก่อน
กาหนด หากผู้ป่วยมีปัญหาจากการใช้ ยาเกิดขึน้
 ในบางครั้ง การลงชุ มชนเยีย่ มบ้ านจะเป็ นการช่ วย screen ผู้ป่วยที่
มีความเสี่ ยงในการเกิดโรคเรื้อรังต่ าง ๆ เพือ่ ผลักดันผู้ป่วยเข้ าสู่ ระบบ
สุ ขภาพ
 ผู้ป่วยบางรายอาจจะไม่ ทราบถึงโรคทีต
่ วั เองเป็ น หรือข้ อบ่ งใช้ ในการ
รับประทานยา ดังนั้นเภสั ชกรชุ มชนอาจจะต้ องทาการประเมินปัญหา
จากการใช้ ยาของผู้ป่วยจากยาทีผ่ ้ปู ่ วยได้ รับ

การส่ งต่ อผู้ป่วยอย่ างเหมาะสม






เมือ่ จ่ ายยาแล้วอาการไม่ ดขี ึน้ หรือดีขึน้ แต่ อาการกลับมาเป็ นซ้า
ผู้ป่วยทีม่ อี าการของโรครุ นแรง หรือมีความเสี่ ยงจะเป็ นโรคทีส่ ามารถก่อให้ เกิด
อันตรายรุ นแรงแก่ ผ้ ปู ่ วย
อาการผิดปกติ/โรคทีจ่ าเป็ นต้ องได้ รับการรักษาโดยแพทย์ หรือต้ องได้ รับการตรวจ
ยืนยันทางห้ องปฏิบัตกิ ารณ์
ผู้ทมี่ คี วามเสี่ ยงทีจ่ ะเป็ นโรคเรื้อรัง(โรคหลอดเลือด, เบาหวาน ฯลฯ)
ผู้ทเี่ ป็ นโรคเรื้อรังได้ รับการวินิจฉัย(diagnosis) และได้ รับการรักษา
(treatment) แล้วไม่ ไปรับการรักษาอย่ างต่ อเนื่องมาซื้อยาทานเอง
เมือ่ พบความผิดปกติจากการใช้ ยาทีไ่ ด้ รับการสั่ งจ่ ายมาจากแพทย์(drugs
related problem)
หลักการทัวไปในการส่
่
งต่อ
การส่ งต่ อควรเป็ นการส่ งต่ อด้ วยเอกสารระบุรายละเอียดต่ างๆ ของ
ผู้ป่วย เพือ่ ให้ แพทย์ ผู้เกีย่ วข้ องได้ รายละเอียดมากทีส่ ุ ด
 อาจมีการแนบเอกสารอ้ างอิงทางวิชาการ หรือการศึกษาทางวิชาการ
เพือ่ เป็ นข้ อมูลแก่ แพทย์
 มีข้อมูลและคาเสนอแนะของเภสั ชกร ที่ผ่านการประเมินอย่างเป็ น
ระบบมาแล้ ว เพือ่ แจ้ งให้ แพทย์ ทราบ
 ควรแจ้ งให้ ผ้ ูป่วยทราบว่ าควรจะไปพบแพทย์ ผ้ ูเชี่ยวชาญเฉพาะด้ าน
ใดเป็ นพิเศษหรือไม่

Thank you
for
attention