5. มุมมองการวัดคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบ TQF สู่อาเซียน
Download
Report
Transcript 5. มุมมองการวัดคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบ TQF สู่อาเซียน
มุมมองการวัดคุณลักษณะบัณฑิต
ตามกรอบ TQF สู่อาเซียน
ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
มสธ. : 6 กันยายน 2556
LEARNING OUTCOMES / MALAYSIA
PSYCHOMOTOR/PRACTICAL/TE
CHNICAL SKILLS
(range and complexity)
SOCIAL SKILLS,
RESPONSIBILITY
CIVIC
ENGAGEMENT
Life Long
Learning &
Information
Management
Critical
Thinking &
Scientific
Approach
Communicatio
n Leadership
& team skills
Managerial &
Entrepreneurial
Skills
PROFESSIONALISM,
VALUES, ETHICS, ATTITUDES
KNOWLEDGE
depth, breadth &
relative difficulty
of specific content
21st Century Competencies and Desired Student
Outcomes (Singapore MOE)
Academic Achievement
Source : http://www.moe.gov.sg/media/press/2010/03/moe-to-enhance-learning-of-21s.php
The 21st Century Knowledge-and-Skills Rainbow
Learning and Thinking Skills
Critical Thinking and Problem Solving
Communication and Collaboration Skills
Creativity and Innovation Skills
Contextual Learning Skills
Core Subjects and
21st Century Themes
Source : Partnership for 21st Century Skills, 2006 (Bellanca and Brandt,2010)
enGauge 21st Century Skills
Academic Achievement
•
Basic, Scientific, Economic,
And Technological Literacies
•
Visual and Information Literacies
•
Multicultural Literacy and
Global Awareness
Inventive Thinking
•
Adaptability, Managing
Complexity, and Self-Direction
•
Curiosity, Creativity,
And Risk Taking
•
Higher-Order Thinking and
Sound Reasoning
21st Century Learning
Effective Communication
•
Teaming, Collaboration,
And Interpersonal Skills
•
Personal, Social,
And Civic Responsibility
•
Interactive Communication
High Productivity
•
Prioritizing, Planning, and
Managing for Results
•
Effective Use of Real-World Tools
•
Ability to Produce Relevant,
High-Quality Products
Academic Achievement
Academic Achievement
Digital-Age Literacy
Academic Achievement
Source : North Central Regional Educational Laboratory & the Mitiri Group, 2003 (Bellanca and Brandt,2010)
The Future of 21st Century Work
IN MORE DEVELOPED
COUNTRIES
Creative
Work
Routine
Work
• Research
• Development
• Design
• Marketing and Sales
• Global Supply Chain
Management
Routine
Work
DONE BY PEOPLE
DONE BY MACHINES
IN LESS DEVELOPED COUNTRIES
Source : Trilling & Fadel, 21st Century Skills, 2009
7 ทักษะเพื่อการอยูร่ อด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)
การร่วมมือกับเครือข่ายต่างๆ (Collaboration Across Networks and
Leading by Influence)
การปรับตัวและการมีความแคล่วคล่องว่องไว (Agility and Adaptability)
การคิดริเริ่มและการเป็ นผูป้ ระกอบการที่สร้างสรรค์ (Initiative and
Entrepreneurship)
การสื่อสารทัง้ ทางการพูดและการเขียน (Effective Oral and Written
Communication)
การเข้าถึงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (Access and analyzing Information)
การใฝ่ รูแ้ ละมีจินตนาการ (Curiosity and Imagination)
Source : Wagner, 2008, (ทิ ศนา แขมมณี , 2555)
st
Conclusion : “7 Cs” skills of 21 century learning
•
•
•
•
•
•
•
Critical thinking and problem solving
Creativity and innovation
Collaboration, teamwork, and leadership
Cross-cultural understanding
Communications, information, and media literacy
Computing and ICT literacy
Career and learning self-reliance
Source : Trilling & Fadel, 2009)
กับดักของ Neo Factory Model
โรงเรียนตามรูปแบบโรงงานใหม่
1. มีมาตรฐานหลากหลาย
2. มีลกั ษณะสนองนานาชาติ
3. ระบบการเรียนยืดหยุ่น
4. มีการจัดการโดยใช้เทคโนโลยี
5. ออกแบบผลผลิตใหม่
6. เพิ่มองค์ประกอบใหม่ / หลักสูตรใหม่
7. เทคโนโลยีใหม่
8. เน้ นระบบอิเล็กทรอนิกส์
ผูซ้ ื้อ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่
ตามทันผลิตภัณฑ์ใหม่ได้
เรียนรู้นวัตกรรมใหม่
สื่อสารระดับนานาชาติ
ร่วมมือกับคนอื่นๆ ได้ดี
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
เปลี่ยนสินค้าใหม่ได้เรื่อยๆ
คุณลักษณะบัณฑิตตามภาคธุรกิจ/ขาย-ซื้อ
ทักษะพร้อมทางานได้ทนั ที
ปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงใหม่ได้
แก้ปัญหาได้ดี / สื่อสารได้ดี / เข้ากับคน (นานาชาติ)
ภาษาและคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
เป็ นพลเมืองดี /รับผิดชอบ
ขยัน อดทน ทางานหนัก
ทักษะโลกาภิวตั น์
การศึกษาเพื่อผูซ้ ื้อหรือผูผ้ ลิต
ผูผ้ ลิต
ผูซ้ ื้อ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่
ตามทันผลิตภัณฑ์ใหม่ได้
เรียนรู้นวัตกรรมใหม่
สื่อสารระดับนานาชาติ
ร่วมมือกับคนอื่นๆ ได้ดี
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
เปลี่ยนสินค้าใหม่ได้เรื่อยๆ
ใช้ของใหม่ได้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
มองข้ามเทคโนโลยีใหม่ไปได้
สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ได้เอง
พัฒนานวัตกรรมที่สอดคล้องสังคม
เน้ นสาระในการสื่อสาร
ร่วมมือเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ก้าวหน้ าขึน้
รู้จกั ตัวเองและพัฒนาเพื่อเป็ นตัวของตัวเอง
เป็ นผูก้ าหนดการเปลี่ยนแปลงได้
ออกแบบสินค้าใหม่ส่ตู ลาดเสมอ
สร้างของใหม่ได้
นวลักษณ์ : การศึกษาเพื่อผูซ้ ้ ือ ผูผ้ ลิต และ
ผูช้ ้ ีทิศทางการเปลี่ยนแปลง
1. เรียนรูธ้ รรมชาติมนุษย์และรูจ้ กั ตนเองอย่างดีพอ
2. เรียนรูแ้ นวคิดไทยและวัฒนธรรมไทยอย่างวิเคราะห์
3. เข้าใจวัฒนธรรมสมัยใหม่ในเชิงที่มาและผลกระทบ
4. มองเห็นคุณค่าที่แท้ของสิ่งของและนวัตกรรม
5. ตามทันการเปลี่ยนแปลงของโลกและมีสว่ นร่วม
6. เข้าใจกระบวนการผลิตและสามารถพัฒนาการผลิตขึ้นเองได้
7. เข้าใจคนอื่นและรูว้ ิธีการนาการเปลี่ยนแปลงร่วมกัน
8. ออกแบบและพัฒนาทิศทางของสังคมที่เหมาะสมได้
9. มีความเข้มแข็งในจริยธรรมและความเหมาะสมดีงาม
มีบทบาทในการนาการเปลี่ยนแปลงที่ดีงาม
ลักษณะบัณฑิตกับสังคมไทย
เศรษฐกิจ
• ผลประโยชน์
• บริโภคนิยมสูง
สังคม
• ค่านิยมเปลี่ยน
• เสื่อมโทรมลง
•
•
•
•
การเมือง
วิเคราะห์
สร้างสรรค์
มีผลงาน
รับผิดชอบ
สองขัว้ การเมือง
แย่งชิงพลเมือง
นานาชาติ
บทบาทภูมิภาค
อิทธิพลมหาอานาจ
มองออก แก้ไข รู้ลึกถึงประเด็นของสังคมและโลก
นาตนเองและนาองค์กรได้อย่างสร้างสรรค์
ก้าวพ้นบริโภคนิยมสู่ผลผลิตนิยมได้
รับผิดชอบในเชิงบุคคลสู่จริยธรรมในสังคม
ลักษณะคนรุ่นใหม่
บริโภคนิยม
C ritical Mind
บริโภค/ตามอย่าง
บริโภค/สร้างสรรค์
C reative Mind
สร้างสรรค์
ตามอย่าง
P roductive Mind
ผลิตผล/สร้างสรรค์
ผลิตผล/ตามอย่าง
R esponsible Mind
ผลิตผลนิยม
CCPR Model
Critical Mind
• มองสังคมให้รอบด้าน
• รูท้ ่มี าที่ไป
• เข้าใจเหตุและผล
Productive Mind
• คานึ งถึงผลผลิต
• มีวธิ ีการและคุณภาพ
• ค่าของผลงาน
Creative Mind
• คิดต่อยอดจากที่มีอยู่
• ประยุกต์และใช้ประโยชน์
• มองประเด็นใหม่ได้
Responsible Mind
• นึ กถึงสังคม/ประเทศชาติ
• มีจติ สานึ กสาธารณะ
• คุณธรรม/จริยธรรม/ความดีงาม
“ปัญจลักษณ์”
เป้าหมายเพื่อความเป็นเลิศในการผลิตบัณฑิต
ขอบเขตของการเรียนรู ้
กรอบ
ระดับ
การพัฒนา
คุณธรรมและ
จริยธรรม
ความรู ้
ทัว่ ไปและวิชาชีพ
ทักษะทาง
เชาวน์ปญั หา
ทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความ
รับผิดชอบ
ทักษะการวิเคราะห์
การสื่อสารและการใช้
เทคโนโลยี
ประยุกต์แนวคิด
ทฤษฎี
แก้ปญั หาพื้นฐาน
แปลความหมายและการ
นาเสนอ
อนุ ปริญญา
รับผิดชอบใน
การงาน
ปริญญาตรี
มีจริยธรรมและ ความ ครอบคลุมทฤษฎี
รับผิดชอบ
และหลักการ
เข้าใจและคิด
แก้ปญั หาที่ซบั ซ้อน
ค้นหา เลือกใช้กลไกที่
เหมาะสม
ทักษะในวิชาชีพและ
วิชาการ
หลักสูตรปริญญาตรี
และประกาศนี ยบัตร
บัณฑิต
ร่วมและช่วยพัฒนา ความรูร้ ะดับสูง
ตนเองและผูอ้ น่ื
ประยุกต์ทฤษฎี
มีอทิ ธิพลทางบวก
ตัวผูอ้ น่ื
เลือกใช้ส่อื กับกลุ่มผูฟ้ ัง
ที่หลากหลาย
ปริญญาโท
รับผิดชอบ เป็ นผูน้ า ทฤษฎี วิจยั และ
พัฒนาการล่าสุด
อิสระในการสูแ้ ละ
แก้ปญั หา
กระตือรือร้นรับและกระตุน้ สื่อสารผลการ
ผูอ้ น่ื
ค้นคว้าวิจยั
ประกาศนี ยบัตร
บัณฑิต ขัน้ สูง
รับผิดชอบ
พัฒนาการล่าสุด
ของการวิจยั
รูจ้ กั ค้นหาปัญหา
ทางานด้วยความรับผิดชอบ ร่วมมือร่วมใจกับผูอ้ น่ื
ในสาขาเกี่ยวข้อง
ปริญญาเอก
จัดการและลึกซึ้งกับ ลุ่มลึกและวิจยั ใน
ปัญหาทางจริยธรรม ระดับสูง
ความท้าทายของ
ประเด็น
ภาวะผูน้ าในสาขา
สือ่ ความคิดและข้อสรุป
อย่างมีประสิทธิภาพ
ภาพรวมการสอน / การประเมิน
คุณธรรม
ความรู้
ทักษะ ปัญญา
รู้ - ฝึ ก - ติด
รับ-เข้าใจ-แสดงออก
คิด - แลก - คิด
ความสัมพันธ์ฯ
รับผิดชอบ
ทา - ร่วม - แลก
ทักษะการ
วิเคราะห์/ตัวเลข
รู้ - ฝึ ก - ทวน
วิเคราะห์ตวั เอง
มีงานให้
รู้วิธีการ
สร้างความเข้าใจ ทาความเข้าใจ
บรรเลงร่วมกัน
ไปด้วยกัน
ผ่านตัวอย่าง
ให้วิเคราะห์
ให้ทดสอบ
ขยันวิจารณ์
พลันทางาน
ร่วมฝึ กฝน
เจาะตัวเอง
กรอบประเมิน
บูรณาการทุกส่วน
ประสานความเข้าใจ แลกกันยล
เห็นแบบอย่าง
รับข้อมูล
เกรงกลัวต่อบาป เชิญแสดง (ความรู้) ล้วนแต่สาคัญ
ให้แบบอย่าง
คนประเมิน
บุคลิก
ความรู้
วิเคราะห์
รับผิดชอบ
เลือก
นิสยั
ความเข้าใจ
วิจารณ์
ทางานร่วม
ตัดสินใจ
ที่มา : ไพฑูรย์ สินลารัตน์ , 2553
ระบบวัดและประเมิน (1)
ประเมินภายในโดยหน่วยงานของสถาบันเอง
ประเมินทุกระดับ ปี 1, 2, 3, 4
ประเมินหลายวิธี, ปริมาณ, คุณภาพ
เครื่องมือของคุณภาพ / สร้างขึ้นเอง
Focus Group
Field Observation, etc.
One-Minute Papers
Portfolio
ศูนย์พฒ
ั นาการเรียนการสอน / ศูนย์วิจยั สถาบัน
Upcraft and Others. Challenging and Supporting The First Year Students, 2005
ระบบวัดและประเมิน (2)
ประเมินภายนอกโดยหน่วยงานภายนอก
ประเมินภาพรวม (มหาวิทยาลัยรวมกันจัดเอง)
หน่วยงานประเมินทั ่วไป
หน่วยประเมินเฉพาะด้านความสามารถในวิชาชีพ
Critical Thinking Test
Creative Test
Problem Solving Test
ศูนย์ทดสอบของแต่ละสถาบัน
ฯลฯ
Upcraft and Others. Challenging and Supporting The First Year Students, 2005
ระบบวัดและประเมิน (3)
ประเมินระหว่างประเทศโดยหน่วยงานกลาง
Asean Secretariat / AUN / RIHED
ความร่วมรมือระหว่างสถาบัน
Seminar
แบบสอบถาม
ข้อเสนอแต่ละสถาบัน