presentationkm1 CT

Download Report

Transcript presentationkm1 CT

Critical
Thinking
in Critical
Leader
ดร.สิริภกั ตร์ ศิริโท
CCPR Model
Critical Mind
• มองสังคมให้รอบด้าน
• รูท้ ่มี าที่ไป
• เข้าใจเหตุและผล
Productive Mind
• คานึ งถึงผลผลิต
• มีวธิ ีการและคุณภาพ
• ค่าของผลงาน
Creative Mind
• คิดต่อยอดจากที่มีอยู่
• ประยุกต์และใช้ประโยชน์
• มองประเด็นใหม่ได้
Responsible Mine
• นึ กถึงสังคม/ประเทศชาติ
• มีจติ สานึ กสาธารณะ
• คุณธรรม/จริยธรรม/ความดีงาม
รากฐานของแนวคิด การคิด
เชิงวิจารณญาณ
Socrates สอนให้ ร้ ูจักการตัง้ คาถามสาหรับปั ญหา
สิ่งที่ยังสับสน สิ่งที่มีหลักฐานไม่ เพียงพอ และที่ไม่ สามารถ
หาเหตุผลหรือความรู้มาอธิบายได้
พระพุทธเจ้ า ของ “ปุจฉาวิสัชนา”
John Dewey บิดาของแนวคิดสมัยใหม่ สาหรั บ
การคิดเชิงวิจารณญาณ - “การคิดเชิงสะท้ อนความคิด
(reflective thinking)”
นิยามของการคิดเชิงวิจารณญาณ
“kriticos” + “kriterion”
การพิจารณาอย่ างไตร่ ตรองและชาญฉลาด บนฐานของมาตรฐาน
Glaser (1941, อ้ างถึงใน Fisher, 2001)
1) เจตคติในการที่จะพิจารณาปั ญหาหรื อสิ่งที่ผ่านเข้ ามาอย่ างมีปัญญา
ภายใต้ ประสบการณ์ ท่ มี ีอยู่ของตน
2) ความรู้ เกี่ยวกับวิธีการได้ มาซึ่งคาตอบอย่ างมีตรรกะและใช้ เหตุ
3) ทักษะในการนาวิธีการดังกล่ าวไปใช้
การคิดเชิงวิจารณญาณต้ องใช้ ความพยายามที่ม่ ันคงในการ
ตรวจสอบความเชื่อหรื อความรู้ ใดๆ โดยอาศัยพยานหลักฐานหรื อ
ข้ อเท็จจริงมาสนับสนุน ก่ อนที่จะนามาซึ่งการลงข้ อสรุ ปใดๆ
The National Council for
Excellence in Critical Thinking
กระบวนการฝึ กฝนทางปั ญญาอย่ างกระตือรือร้ น และมีทกั ษะ
ในการสร้ างกรอบแนวคิด การนาไปประยุกต์ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ และ/หรือ การประเมินข้ อมูลซึ่งเก็บรวบรวมมาหรือ
สร้ างขึน้ จากการสังเกต ประสบการณ์ การสะท้ อนความคิด การ
คิดอย่ างมีเหตุผล หรือจากการสื่อสาร และนามาเป็ นเครื่ องชีน้ า
ความเชื่อและการกระทา
“กระบวนการทางปั ญญา ในการไตร่ ตรองปั ญหา ข้ อ
กล่ าวอ้ าง หรือสมมติฐาน อย่ างมีตรรกะและมีเหตุผล
โดยทาการค้ นคว้ าข้ อมูลหรือหลักฐานสนับสนุน หรือทา
การตรวจสอบและประเมินความถูกต้ อง น่ าเชื่อถือของ
ข้ อมูลหรือหลักฐานที่สนับสนุนอย่ างไม่ มีอคติ ก่ อนลง
ข้ อสรุ ป หรือเชื่อความคิดเห็น ข้ อสมมติ หรือความรู้ท่ ี
ได้ รับนัน้ ”
Good Leader
VS
Great Leader
Critical Skills for Leader
American Management Association, 2010
ทักษะที่จาเป็ น 4 ประการ (4C) ที่จะสนับสนุนให้ องค์ การประสบ
ความสาเร็จในศตวรรษที่ 21 ได้ แก่
การคิดเชิงวิจารณญาณและการแก้ ปัญหา (Critical Thinking &
Problem Solving)
การสื่อสาร (Communication)
การร่ วมมือกันและการสร้ างทีมงาน (Collaboration and Team Building)
การสร้ างสรรค์ และการสร้ างนวัตกรรม (Creativity and Innovation) :
ทักษะการคิดทีผ่ ู้บริหารยุคใหม่ ควรมี
ระบุชี้ปัญหาทีแ่ ท้ จริง
รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินข้ อมูลสนับสนุนอย่ าง
รอบคอบ
กาหนดทางเลือกในการแก้ ปัญหา
ประเมินผลกระทบของแต่ ละทางเลือกอย่ างลึกซึ้ง
ตัดสิ นใจเลือกทางเลือกทีด่ ที สี่ ุ ด โดยใช้ วจิ ารณญาณอย่ าง
รอบคอบ
(Sies, 2010)
โมเดลทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ 6 ประการ
Facione, Peter A.. 1990. Critical thinking: A
Statement of Expert Consensus for Purposes
of Educational Assessment and
Instruction. California Academic Press. [Online] Available on:
http://assessment.aas.duke.edu/documents/D
elphi_Report.pdf. Retrieved August 7, 2012
The Six Core
Critical Thinking
Skills
(Facione, Peter A.. 1990)
Dispositional Characteristics
Being Inquisitive
Open-minded
Judicious
Systematic
Truth-seeking
Confident in Reasioning
(Facione, Peter A.. 1990)
การพัฒนาทักษะในการคิดเชิงวิจารณญาณ
8 นิสัยส่ งเสริมการคิดเชิงวิจารณญาณ
ใส่ ใจกับการทาให้ ส่ งิ นัน้ ถูกต้ องมากกว่ าคิดว่ าสิ่งนัน้ ถูกต้ องอยู่แล้ ว
หลีกเลี่ยงการด่ วนสรุ ปและด่ วนตัดสินใจ
ตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูลก่ อนจะยอมรั บข้ อมูลนัน้ ว่ าถูกต้ อง
ไม่ ยดึ ติดกับผลการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้ จนมากไป ทาให้ ไม่ กล้ าตัดสินใจ
พร้ อมที่จะเรี ยนรู้ อยู่ตลอดเวลา และเปิ ดรั บข้ อมูลใหม่ ๆ เสมอ
มีความยืดหยุ่นและพร้ อมที่จะพิจารณาแนวคิดหรื อทางเลือกใหม่ ๆ
ใช้ กระบวนการคิดเชิงวิจารณญาณในการพิจารณาตนเอง
มีสไตล์ การแสดงพฤติกรรมที่โดดเด่ นแตกต่ าง มั่นใจตนเอง แต่ ไม่ หลงตน
ยีดหยุ่นแต่ กล้ าที่จะตัดสินใจ
(Guinn and Williamson, 2011)
RED Model
แหล่งทีม่ า : Key to Critical Thinking, Critical Thinkind Means Business, Judy
Chartrand, Heather ishikawa and MA, and Scott Flander, 2009
กลยุทธ์ การสอนการคิดเชิงวิจารณญาณ
เทคนิคการประเมินห้ องเรี ยน (CATs: Classroom Assessment
Techiniques)
การเรี ยนแบบร่ วมมือ (Cooperative Learning)
การใช้ กรณีศึกษา หรื อวิธีการอภิปราย (Case Study / Discussion Method)
การเรี ยนรู้ จากการวิจัย (Research based learning)
การตัง้ คาถามจากการอ่ าน (Reader’s Questions)
การเรี ยนรู้ จากรู ปแบบการประชุม (Conference Style Learning)
การมอบหมายงานเขียน (Writing Assignments