LSM 712 หลักสปรัชญาและทฤษฎีการจัดการชั้นสูง

Download Report

Transcript LSM 712 หลักสปรัชญาและทฤษฎีการจัดการชั้นสูง

ความรู้
รองศาสตร์ ดร.เชาว์ โรจนแสง
ความรู้
ความรู้ (Knowledge) หมายถึง สิ่ งทีอ่ ธิบายหรือพรรณนาเกีย่ วกับ
ปรากฏการณ์ ต่าง ๆ อย่ างมีเหตุผล เพือ่ ทาความเข้ าใจและทานายปรากฏการณ์
นั้นๆ
ความรู้ทมี่ ีการจัดระบบแล้ว เรียกว่ า องค์ ความรู้ การแสวงหา
ความรู้จากอดีตถึงปัจจุบันจาแนกเป็ น 4 ยุค คือ ยุคโบราณ ยุคอริ
สโตเติล ยุคเบคอน และยุคปัจจุบัน องค์ ความรู้เกีย่ วกับปรากฏการณ์
ต่ าง ๆ ได้ รับการพัฒนาและถ่ ายทอดจนกลายเป็ นศาสตร์ ต่าง ๆ
ศาสตร์ ทางการจัดการ เป็ นองค์ ความรู้ทอี่ ธิบายความพยายามในการ
ดาเนินการร่ วมกัน เพือ่ การบรรลุเป้าหมายทีก่ าหนดไว้
มนุษย์ โดยธรรมชาติปรารถนาทีจ่ ะพัฒนาชีวติ และความเป็ นอยู่ของ
ตนเองให้ ดียงิ่ ขึน้ ภายใต้ สภาพแวดล้อมทีเ่ ป็ นอยู่
มนุษย์ แสวงหาความรู้ การแสวงหาความรู้ของมนุษย์ ต้งั แต่ อดีตถึง
ปัจจุบันจาแนกเป็ น 4 ยุค
ยคุ ที่ 1 ยคุ โบราณ ได้ ความรู้โดยการพบโดยบังเอิญ ปทัสถาน
ของสั งคมทีถ่ ือปฏิบัติจนเป็ นขนบธรรมเนียมประเพณี
การสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ การยกย่ องผู้มีชื่อเสี ยงหรืออานาจ
เป็ นปราชญ์ แล้วมีผู้สมัครเป็ นสาวก
การแสวงหาความรู้จากประสบการณ์ ส่วนตัวและการลองผิดลอง
ถูก
ยคุ ที่ 2 ยคุ อริ สโตเติล (Aristotle) ได้ รับการย่ องย่ องเป็ นบิดาของวิชา
ตรรกศาสตร์ เป็ นผู้ค้นคิดแสวงหาความรู้โดยใช้ เหตุผล ทีเ่ รียกว่ า
Syllogistic Reasoning หรืออุปมาน (Deductive Reasoning)
องค์ ประกอบหรือขั้นตอนการแสวงหาความรู้วธิ ีนีม้ ี 3 ประการ
1. เหตุใหญ่ (Major premise) เป็ นข้ อตกลงที่กาหนดขึน้
2. เหตุย่อย (Minor premise) เป็ นเหตุผลเฉพาะกรณีทตี่ ้ องการ
ทราบความจริง
3. ข้ อสรุป (Conclusion) เป็ นการลงความเห็นจากการ
พิจารณาความสั มพันธ์ ของเหตุใหญ่ และเหตุย่อย
แบบของการหาเหตุของอริสโตเติล แบ่งเป็ น 4 แบบ
1. การหาเหตุผลเฉพาะกล่ มุ (Categorical syllogism) เป็ นวิธีการหาเหตุผลที่
สามารถลงสรุ ปในตัวเองได้ เช่ น
เหตุใหญ่ : ทุกคนเกิดมาแล้ วต้ องตาย
เหตุย่อย : นายสมานเกิดเป็ นคน
ข้ อสรุ ป : นายสมานต้ องตาย
2. การหาเหตุผลตามสมมุติฐาน (Hypothetical Syllogism) เป็ นวิธีการหา
เหตุผลทีก่ าหนดสถานการณ์ ขนึ้ มักมีคาว่ า “ถ้ า....แล้วละก็......” การหาเหตุผลชนิดนี้
ข้ อสรุ ปจะเป็ นจริงหรือไม่ แล้ วแต่ สภาพการณ์ เพียงแต่ เป็ นเหตุผลทีถ่ ูกต้ องตามหลัก
ตรรกศาสตร์ เท่ านั้น เช่ น
เหตุใหญ่ : ถ้ าอุณหภูมิ 100 องสาเซลเซียสนา้ จะเดือด
เหตุย่อย : อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
ข้ อสรุป : นา้ เดือด
3. การหาเหตุผลทีม่ ีทางเลือก (Alternative Syllogism) เป็ นวิธีการหา
เหตุผลทีก่ าหนดสถานการณ์ ทเี่ ป็ นทางเลือก “ไม่ อย่ างใดก็อย่ างหนึ่ง” หรือ
อยู่ในรูปทีเ่ ป็ น “อาจจะ” อย่ างใดอย่ างหนึ่งก็ได้ เช่ น
เหตุใหญ่ : ข้ าราชการทีร่ ับราชการอาจจะได้ รับความพอใจจากเงินเดือน
หรือเกียรติยศเป็ นสิ่ งตอบแทนการทางาน
เหตุย่อย : ข้ าราชการทีร่ ับราชการไม่ ได้ รับความพอใจจากเงินเดือนเป็ น
สิ่ งตอบแทนการทางาน
ข้ อสรุป : ข้ าราชการที่รับราชการอาจจะได้ รับความพอใจจากเกียรติยศ
เป็ นสิ่ งตอบแทนการทางาน
4. การหาเหตุผลทีต่ ่ างออกไป (Disjunctive Syllogism) เป็ นวิธีการหา
เหตุผลทีอ่ าศัยการเชื่อมโยงกัน โดยเหตุย่อยเป็ นตัวบอกกรณีบางส่ วนใน
เหตุใหญ่ เช่ น
เหตุใหญ่ : อุบัติเหตุทางการจราจรส่ วนใหญ่ เกิดจากผู้ขับขี่มึนเมา
เหตุย่อย : นายประเสริฐดื่มสุ ราก่อนขับรถ
ข้ อสรุป : นายประเสริฐอาจไม่ ประสบอุบัติเหตุทางจราจร
ให้การหาความรู้ตามวิธีของอริ สโตเติลได้ถกู วิพากษ์วิจารณ์ โดยฟรานซิ ส
เบคอน ว่ามีจุดอ่อนหรื อข้อบกพร่ องไม่ช่วยค้นพบความรู ้ใหม่ เพราะ
ข้อสรุ ปที่ได้จากัดอยูใ่ นขอบเขตของเหตุใหญ่ ข้อสรุ ปจะมีความเที่ยงตรง
เพียงใดขึ้นอยูก่ บั ความเท็จจริ งของเหตุใหญ่และเหตุยอ่ ย ถ้าข้อเท็จจริ งทั้ง
สองนี้ขาดความเที่ยงตรง ก็อาจทาให้ขอ้ สรุ ปขาดความเที่ยงตรงได้
3. ยคุ ฟรานซิส เบคอน
ฟรานซิส เบคอน(Francis Bacon) ได้ เสนอวิธีการหาความรู้ เรียกว่ าวิธี
อนุมาน (Inductive Reasoning) ซึ่งเป็ นวิธีที่อาศัยการเก็บรวบรวมข้ อมูล
ก่อนแล้วจึงทาการวิเคราะห์ ข้อมูลเหตุย่อย ๆ เพือ่ ดูความสั มพันธ์ ระหว่ าง
ข้ อมูลเหล่านั้นในอันทีจ่ ะสรุปเหตุหรือผล
องค์ ประกอบหรื อขั้นตอนในการอนุมานแบ่ งได้ เป็ น 3 ขั้น
1. การเก็บรวบรวมข้ อมูลหรือข้ อเท็จจริงเป็ นรายละเอียดย่ อย ๆ ก่อน
2. วิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ ดูความสั มพันธ์ ระหว่ างข้ อเท็จจริงย่ อยเหล่านั้น
3. สรุปผล
การแสวงหาความรูโ้ ดยวิธขี องเบคอนมี 3 แบบ
1. การอนุมานอย่ างสมบูรณ์ (Perfect Induction) เป็ นการเก็บรวบรวม
ข้ อมูลทุกๆ หน่ วยในหมู่ประชากร เพือ่ ดูรายละเอียดของหน่ วยย่ อยทั้ง
หมดแล้วจึงวิเคราะห์ ข้อมูล ตีความและสรุปผล
-
วิธีการี้จะทาให้ ได้ ความรู้จริงทีเ่ ชื่อถือได้ อย่ างสมบูรณ์ แต่ ในทางปฏิบัติ
อาจทาไม่ ได้ เพราะสิ้นเปลืองเวลา แรงงาน และค่ าใช้ จ่ายสู ง
2. การอนุมานทีไ่ ม่ สมบูรณ์ (Imperfect Induction) การอนุมานแบบนีจ้ ะ
เลือกตรวจสอบวิเคราะห์ ข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่ างทีเ่ ป็ นตัวแทนของ
ประชากรแล้วจึงสรุปหรืออนุมานว่ าประชากรทั้งหมดมีลกั ษณะเช่นไร
วิธีนีส้ ะดวกในการปฏิบัติการเพราะประหยัดแรงงาน เวลา และ
ค่ าใช้ จ่าย
3. การอนุมานแบบเบคอนเนียน (Baconian Induction) เป็ นการอนุมานทีไ่ ม่
สมบูรณ์ วธิ ีหนึ่งซึ่งเบคอนเสนอว่ า ในการตรวจสอบข้ อมูลควรแจงนับหรือ
ศึกษารายละเอียดของข้ อมูลเป็ น 3 กรณีคือ
1) พิจารณาส่ วนที่มีลกั ษณะเหมือนกัน
2) พิจารณาส่ วนที่มีลกั ษณะแตกต่ างกัน
3) พิจารณาส่ วนที่มีความเปลีย่ นแปรไป
-
4. ยคุ ปัจจบุ ัน
ในคริสต์ ศตวรรษที่ 19 ชาร์ ลส์ ดาร์ วนิ (Charles Darwin) ได้
เสนอวิธีการค้ นหาความรู้ทผี่ สมผสานวิธีการของอริสโตเติล และเบคอน
เข้ าด้ วยกันเรียกว่ า วิธีอุปมานและอนุมาน (Deductive Inductive
Method)
ซึ่งต่ อมา จอห์ น ดิวอี (John Duwey) ได้ แก้ไขให้ ชื่อใหม่ ว่า Reflective
Thinking เพราะกระบวนการหาความรู้แบบนีใ้ ช้ วธิ ีคดิ ใคร่ คราญอย่ าง
รอบคอบซึ่งเขียนไว้ ในหนังสื อ “How We Think” เมื่อปี ค.ศ.1910 ได้
แบ่ งขั้นในกระบวนการแสวงหาความรู้ไว้ เป็ น 5 ขั้นคือ
1) ปรากฏความยุ่งยากเป็ นปัญหาเกิดขึน้
2) ขั้นจากัดขอบเขตและนิยามความยุ่งยากเพือ่ ให้ ปัญหากระจ่ างชัดขึน้
3) ขั้นเสนอแนะการแก้ปัญหาหรือตั้งสมมุติฐาน
4) ขั้นอุปมานเหตุผลของสมมติฐานทีต่ ้งั ขึน้
5) ขั้นการทดสอบสมมติฐาน ขั้นตอนนีเ้ ป็ นขั้นตอนเดียวกับวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ คือเริ่มต้ นจากการระบุปัญหาแล้วจึงอุปมานเพือ่ หาคาตอบ
หรือตั้งสมมติฐานขึน้ ต่ อมาก็ทาการรวบรวมข้ อมูล วิเคราะห์ ข้อมูล และ
สรุปผล
ความรู ้ (Knowledge)
- ความรู้ (Knowledge) หมายถึง สิ่ งทีพ
่ รรณนาหรืออธิบายเกีย่ วกับ
ปรากฏการณ์ ต่างๆ อย่ างมีเหตุผล เพือ่ ความเข้ าใจ และทานาย
ปรากฏการณ์
- ความรู้ทมี่ ีการจัดระเบียบแล้ว เรียกว่ าองค์ ความรู้ (Body of
Knowledge)
- การจัดระบบองค์ ความรู้ทสี่ าคัญ คือการสร้ างทฤษฎี
ในปัจจุบันองค์ ความรู้ สามารถจาแนกได้ เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. องค์ ความรู้เกีย่ วกับปรากฏการณ์ ธรรมชาติ เรียกว่ าวิทยาศาสตร์
(Pure Science)
2. องค์ ความรู้เกีย่ วกับมนุษย์ ทอี่ ยู่รวมกันเป็ นสั งคมเรียกว่ า วิทยาศาสตร์
สั งคม (Social Science)
3. การจัดการธุรกิจ เป็ นองค์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมสาขาวิชา
หนึ่ง เนื่องจากธุรกิจเป็ นหน่ วยทางสั งคมทีท่ าหน้ าทีผ่ ลิตสิ นค้ า และบริการ
ตอบสนองความต้ องการของมนุษย์ เพือ่ พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวติ
มนุษย์ ให้ ดีขนึ้
ศาสตร์ โดยทัว่ ไปมีความม่ งุ หมายทีจ่ ะทาความเข้ าใจสภาพของโลกรอบๆ
ตัวโดยมีการดาเนินกิจกรรมทีส่ าคัญอย่ ู 3 ประการคือ
1. การพรรณนา หรืออธิบายปรากฏการณ์
2. การค้ นคว้ าหากฎเกณฑ์ แห่ งความสั มพันธ์ ระหว่ างสิ่ งต่ างๆ
3. การรวบรวมกาหนดทฤษฎีและกฎขึน้ เป็ นหลักยึด ศาสตร์ ทางการ
จัดการ มีจุดมุ่งหมาย คือ
1) ศาสตร์ ทางการจัดการจะสั งเกตและอธิบายถึงปรากฏการณ์ ต่างๆ
ที่เกิดขึน้ ในการบริหารองค์การ โดยเฉพาะภาครัฐบาลตามเกณฑ์ ที่กาหนด
ขึน้ เช่ น การเข้ าออกจากงาน การขาดงาน
2) ศาสตร์ ทางการจัดการจะค้ นคว้ าถึงระเบียบกฎเกณฑ์ จาก
ปรากฏการณ์ ทเี่ กิดขึน้ ประจา เพือ่ ดูพฤติกรรมแห่ งความสั มพันธ์ ของ
สิ่ งของหรือเหตุการณ์ ต่างๆ ว่ าเกิดขึน้ เป็ นระเบียบหรือระบบอย่ างใด
บ้ างหรือไม่ เช่ นการศึกษาว่ าสิ่ งจูงใจทีเ่ ป็ นตัวเงินมีความสั มพันธ์ กบั
อัตราการขาดงานหรือไม่
3) ศาสตร์ ทางการจัดการจะพยายามรวบรวมกฎเกณฑ์ และ
ระเบียบของความสั มพันธ์ ต่างๆ ที่ได้ ศึกษาค้ นคว้ าอย่ างละเอียดแจ่ มชัด
และเชื่อมั่น ได้ ต้งั กฎหรือทฤษฎีต่างๆ ขึน้ เช่ น ทฤษฎีการจูงใจ ทฤษฎี
ภาวะผู้นา
แสวงหาความรู้หรือกระบวนการวิจัยทางการจัดการเป็ นในลักษณะ
เช่ นเดียวกับลักษณะของศาสตร์ ทั่วไป คือ
1. ศาสตร์ มีลกั ษณะทีเ่ ป็ นหลักความจริ งตามเหตุผลหรื อเรี ยกว่ า ตรรกวิทยาศาสตร์
จะต้ องมีลกั ษณะของการกระทาทีม่ ีเหตุผล (Rational) มีคาอธิบายต่ างๆ จะต้ องเห็นจริง
หรือมีความรู้ สึกว่ าเป็ นจริง (Make sense) ค้ นคว้ าและแสวงหาความจริงด้ วยเหตุผลมี
2 วิธีคอื เหตุผลเชิงอุปทาน (Deduction logic) และเหตุผลเชิงอนุมาน (Inductive logic)
1) การให้ เหตุผลเชิงอุปมาน เป็ นการค้ นคว้ าแสวงหาความจริงโดยเริ่มต้ น
จากการศึกษากฎหรือทฤษฎีทมี่ ีผ้ คู ้ นพบอยู่ก่อนแล้ ว แล้ วนาเอากฎหรือทฤษฎีน้ันไปใช้
อธิบายเหตุการณ์ เฉพาะอย่ างทีเ่ กิดขึน้ หรือสั งเกตพบ
2) การให้ เหตุผลเชิงอนุมาน เป็ นการค้ นคว้ าแสวงหาความจริงทีเ่ ริ่มต้ นจาก
การสั งเกตปรากฏการณ์ ทเี่ กิดขึน้ อย่ างถี่ถ้วน แล้ วรวบรวมข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องตั้งเป็ นกฎ
หรือทฤษฎีทวั่ ไปแสดงถึงความสั มพันธ์ ระหว่ างสิ่ งของ หรือเหตุการณ์ ต่างๆ ทีส่ ั งเกตพบ
ขึน้
2. ศาสตร์ มีลกั ษณะเชื่อว่ าเหตุการณ์ หรื อพฤติกรรมทีเ่ กิดขึ้นจะต้ องมีเหตุเป็ น
ตัวกาหนด ปรากฏการณ์ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ มีสาเหตุสามารถทดลอง ศึกษา และอธิบายให้ เป็ น
ทีเ่ ข้ าใจอย่ างมีเหตุผลได้ วิธีการศึกษาวิจัยถึงความสั มพันธ์ เชิงสาเหตุและผลเรียกว่ า
Causal Inferences หรือ Causal Relationship มุ่งศึกษาให้ ร้ ู แจ้ งว่ าอะไรเป็ นต้ นเหตุให้
เกิดผลหรือปรากฏหารแต่ ละอย่างขึน้
3. ศาสตร์ คานึงถึงกฎเกณฑ์ ที่นาไปใช้ ได้ กบั เหตุการณ์ ทวั่ ไป ศาสตร์ หนึ่งๆ
พยายามทีจ่ ะแสวงหาความรู้ เพือ่ อธิบายหรือทานายปรากฏการณ์ ต่างๆ เป็ นการทัว่ ไป
ไม่ จากัดกาลเทสะ จึงทาการศึกษาค้ นคว้ าเพือ่ หากฎเกณฑ์ ทจี่ ะใช้ กบั พฤติกรรมจานวน
มากหรือใช้ เป็ นการทั่วไปได้
4. ศาสตร์ มักคานึงถึงความสะดวกและง่ ายต่ อการเข้ าใจได้ ในการอธิบาย
ปรากฏการณ์ ใดปรากฏการณ์ หนึ่ง ถ้ าใช้ องค์ ประกอบหรือปัจจัย (Factors) น้ อยตัว
ทีส่ ุ ดทีจ่ ะสามารถอธิบายสะดวกและง่ ายต่ อการเข้ าใจได้ แต่ ในทางปฏิบัติแล้ วการใช้
ปัจจัยมากตัวยิง่ ทาให้ การอธิบายมีความถูกต้ องแม่ นยามากขึน้ การวิจัยจะต้ อง
ตัดสิ นใจตั้งแต่ เริ่มต้ นว่ าจะเลือกอะไรระหว่ างความสะดวกง่ ายกับความถูกต้ อง
แม่ นยาที่จะได้ รับโดยทัว่ ไปเน้ นทั้งสองอย่าง
วิธีการวิเคราะห์ ปัจจัย (factor Analysis) เป็ นเทคนิคการวิเคราะห์
ข้ อมูลทีน่ ิยมใช้ ในการศึกษาวิจัยเหตุการณ์ ทมี่ ีตวั แปรหลายตัว
5. ศาสตร์ จะต้ องจากัดขอบเขตเหตุการณ์ ทจี่ ะศึกษาอย่ างแจ่ มชัด การศึกษาวิจยั
แต่ละครั้ง จะต้องจากัดขอบเขตเรื่ องที่จะศึกษาให้รัดกุมกะทัดรัดโดยขอบเขตและความ
พยายามของเรื่ องที่จะศึกษาโดยเฉพาะเจาะจง
การกาหนดขอบเขตให้ชดั เจนจะช่วยให้การทดสอบและการวัดความสัมพันธ์
ของตัวแปรหรื อปั จจัยต่างๆ ได้ถกู ต้องยิง่ ขึ้น
6. ศาสตร์ ต้องสารวจตรวจสอบโดยการสังเกตได้ กฎหรื อทฤษฎีที่กาหนดขึ้น
จะหาประโยชน์ไม่ได้ถา้ ไม่สามารถจะยืนยันโดยข้อมูลที่รวบรวมและสิ่ งที่สังเกตได้
การตรวจสอบจากการสังเกตและการรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical
verification) ผูท้ าการวิจยั จะต้องสามารถกาหนดสภาวะการณ์ที่สามารถแย้งว่ากฎหรื อ
ทฤษฎีน้ นั ๆ ไม่ถกู ต้องได้
7. ศาสตร์ สามารถนาความคิดเห็นทีแ่ ตกต่ างกันแต่ ละบุคคลไปสู่ ความเป็ นจริ ง
ร่ วมกัน
- ความแตกต่ างในความเชื่อหรือความคิดเห็นของบุคคลมักจะเกิดขึน้ จากปัญหา
เกีย่ วกับกรอบทฤษฎีและการนิยามทีแ่ ตกต่ างกัน
- การกาหนดตัวแปรและมาตรวัดทีจ่ ะใช้ ในการวิจัย หากมีการใช้ กรอบทฤษฎี
และการนิยาม ตลอดจนกาหนดตัวแปรและมาตรวัดทีใ่ ช้ เหมือนกันทุกประการแม้ ผ้ วู จิ ัยจะ
มีความเชื่อหรือความคิดเห็นส่ วนตัวครั้งแรกที่แตกต่ างกัน การวิจัยต้ องพบผลทีเ่ หมือนกัน
8. ศาสตร์ เปิ ดโอกาสให้ มีการแก้ ไขข้ อบกพร่ องอย่ เู สมอ
- กฎหรือทฤษฎีต่าง ๆ จึงต้ องมีการเปลีย่ นแปลงแก้ไขให้ เหมาะสมที่จะใช้ กบั
ภาวะการณ์ แวดล้ อมอยู่เสมอ
- ศาสตร์ ต่าง ๆ ไม่ เพียงแต่ จะแสดวงหาความจริงเพือ่ ความจริง แต่ ค้นหาความ
จริงทีจ่ ะเป็ นประโยชน์ ต่อมนุษยชาติในสั งคมเป็ นสาคัญ
คาว่ า “ทฤษฎี” ได้ มีการกาหนดนิยามแบ่ งได้ เป็ น 2 นัย คือ
1. ทฤษฎีในความหมายกว้ าง
- Reynolds (1971:11) ทฤษฎี หมายถึง ข้ อความนามธรรมซึ่งพิจารณาเป็ นส่ วนหนึ่ง
ขององค์ ความรู้ ซึ่งจัดในรู ปของกลุ่มแห่ งกฎในลักษณะความเป็ นจริงไม่ ต้องพิสูจน์ หรือ
ลักษณะกระบวนการสาเหตุและผล
- Gibbs (1972:5) ทฤษฎี คือ กลุ่มของข้ อความทีม่ ีความสั มพันธ์ ต่อกันเชิงตรรกะ ใน
ลักษณะของการสนับสนุนเชิงประจักษ์ นิยมเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องเหตุการณ์ ของสิ่ งต่ างๆ
ทีไ่ ม่ ร้ ู จัก
ทฤษฎี คือ กรอบความคิดเกีย่ วกับการจัดองค์ ความรู้ ในลักษณะตัวแบบต่ างๆ โดยมุ่ง
เน้ นความสาคัญความสอดคล้ องของเนือ้ หาสาระภายในทฤษฎีเป็ นสาคัญ
2. ทฤษฎีในความหมายเฉพาะเจาะจง
- ทฤษฎีในความหมายเฉพาะเจาะจง หมายถึงกลุ่มของข้ อทฤษฎี ซึ่ง
เกีย่ วข้ องสั มพันธ์ สอดคล้องกันอย่ างเป็ นระบบ โดยมีเป้าประสงค์ หลักเพือ่
อธิบายปรากฏการณ์ ในรูปลักษณะความสั มพันธ์ เชิงสาเหตุและผล ระหว่ าง
แนวคิดสาคัญเกีย่ วข้ องกันทั้งหมด และอาจมีเป้าประสงค์ เพื่อการพรรณนา
หรือพยากรณ์ ปรากฏการณ์ น้ันๆ
- แนวคิด หมายถึง สั ญลักษณ์ ในลักษณะนามธรรมที่ทาหน้ าที่จัดระบบ
ความคิดและประสบการณ์ ให้ มีลกั ษณะทีส่ ามารถสื่ อความหมายได้ ไม่ ว่าโดย
ทางตรงหรือทางอ้อม
แนวคิดทางการจัดการ เช่ น ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล ความเป็ นเลิศ
ความสามารถทางการแข่ งขัน ความรับผิดชอบต่ อสั งคม
การกาหนดนิยามของแนวคิดสามารถกระทาได้ 2 ลักษณะคือ
1. การกาหนดนิยามตามพจนานุกรม เป็ นการให้ คาจากัดความของ
แนวคิดใดแนวคิดหนึ่ง โดยการใช้ แนวคิดอืน่ ๆ ที่มีความหมายใกล้ เคียงกัน
เพือ่ ขยายความซึ่งกันและกัน
2. การกาหนดนิยามปฏิบัติการ เป็ นการให้ คาจากัดความเพือ่ เปลีย่ นแปลง
แนวคิด ให้ มีสถานภาพเป็ นตัวแปรซึ่งกาหนดค่ าหรือวัดค่ าได้
หลักการ(Principle) หมายถึง กลุ่มของข้ อทฤษฎี ซึ่งได้ ผ่านการทดสอบ
เชิงประจักษ์ มาแล้วไม่ จากัดครั้งและต่ าง ได้ รับการสนับสนุนข้ อมูลอย่ าง
กว้ างขวางจนก่อให้ เกิดการยอมรับร่ วมกันอย่ างเป็ นเอกฉันท์ จากนักวิชาการ
ในสาขานั้นๆ
การทดสอบเชิงประจักษ์ หมายถึง การทดสอบทฤษฎีด้วยข้ อมูลทีไ่ ด้ รับการ
เก็บรวบรวมอย่ างเป็ นระบบ โดยอาศัยประสาทสั มผัสทั้งห้ าของมนุษย์
ตลอดจนการตีความข้ อมูล และการทาความเข้ าใจเกีย่ วกับปรากฏการณ์ ที่
มุ่งศึกษา
ทฤษฎี ประกอบด้ วยองค์ ประกอบ 4 ส่ วน คือ
1. กรอบอ้ างอิง (frame of reference) หมายถึง กรอบทีก่ าหนดสาหรับ
การศึกษาปรากฏการณ์ หรือกรอบทีจ่ ากัดมิติของการศึกษาค้นคว้ า
2. ฐานคติ (assumptions) หมายถึง พืน้ ฐานของแนวคิดทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
ปรากฏการณ์ ทมี่ ุ่งศึกษา
3. แนวคิด (Concepts) หมายถึง สั ญลักษณ์ ในลักษณะนามธรรมที่ทา
หน้ าทีจ่ ัดระบบความคิดและประสบการณ์ ให้ มีขอบข่ ายทีส่ ามารถสื่ อ
ความหมายได้
4. ข้ อทฤษฎี (theoretical propositions) หมายถึง ข้ อความที่แสดงความ
สั มพันธ์ ระหว่ างแนวคิดตั้งแต่ สองแนวขึน้ ไป
การจัดการธุรกิจเป็ นศาสตร์ ทางสั งคม (Social Science) ที่
เป็ นศาสตร์ เฉพาะวิชาชีพโดยทัว่ ไปนิยมจาแนกตามหน้ าที่ทางการ
บริหารธุรกิจ (Business Function) จาแนกเป็ น 4 ด้ าน
1. ทฤษฎีการจัดการทั่วไปและการจัดการดาเนินงาน
2. ทฤษฎีการจัดการการเงิน
3. ทฤษฎีการจัดการการตลาด
4. ทฤษฎีการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ปัจจุบันสถาบันการศึกษาทางด้ านบริหารธุรกิจ ของประเทศสหรัฐ
อเมริกาได้ จาแนกองค์ ความรู้ทางบริหารธุรกิจ เป็ น 12 ด้ านคือ
1. การบัญชี
7. สารสนเทศเทศทางการจัดการ
2. การจัดการ
8. การจัดการเชิงปฏิบัติการ
3. การประกอบ
9. การจัดการโลจิสติกส์ และการขนส่ ง
4. การเงิน
10. การจัดการธุรกิจระหว่ างประเทศ
5. การตลาด
11. การจัดการธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์
6. การจัดการธุรกิจทีไ่ ม่ มุ่งผลกาไร 12.การ ประกันภัย
กลุ่มแนวคิดและทฤษฎีแบบคลาสสิ ก
ในสมัย 5,000 ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช พระกรีกแห่ งวิหารซู เมอเรียน (Sumerian
Temple)
ได้ บันทึกระบบภาษีทจี่ ัดเก็บสาหรับการถือครองที่ดนิ และเงิน
ชาวอียปิ ต์ โบราณได้ สร้ างพีระมิดโดยอาศัยหน้ าที่ทางการจัดการ ได้ แก่ การวางแผน
การจัดองค์ การ และการควบคุมในการดาเนินโครงการขนาดใหญ่ เพือ่ ก่ อสร้ าง
มหาพีระมิด
ต่ อมาในสมัยกษัตริย์ฮามูราบี (Hammurabi) แห่ งราชอาณาจักรบาบิโลเนียได้บัญญัติ
กฎ 282 ข้ อที่เรียกว่ า Code of Hammurabi เพือ่ ใช้ เป็ นหลักในการปกครองของประเทศ
โบสถ์ โรมันคาทอลิกก็มีแนวปฏิบัติทางการจัดการสื บต่ อมายาวนาน ตั้งแต่ สมัย
ประวัติศาสตร์
แนวปฏิบตั ิและกฏเกณฑ์ในอดีตได้รับการศึกษาค้นคว้าและพัฒนามาจนกลายเป็ น
แนวคิดทางการจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลในยุคต่อมา
หลังการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 19 การผลิตมีขนาดใหญ่ข้ ึน
เจ้าของกิจการไม่อาจควบคุมการได้โญลาพัง การขยายตัวและความ
เจริ ญเติบโตของอุตสาหกรรมได้ก่อให้เกิดปั ญหาทางการจัดการ จนทาให้
เกิดการปฏิวตั ิทางการจัดการ
นักคิดรุ่นแรกทีไ่ ด้ บุกเบิกองค์ความรู้ทางการจัดการ ได้ แก่ นักอุตสาหกรรม
ชาวอังกฤษ โรเบิร์ต โอเวน (Robert Owen ค.ศ.1771-1858) นักคณิตศาสตร์
ชาวอังกฤษ ชาร์ ลส์ แบ็บเบจ (Charles Babbage ค.ศ.1798-1871) และวิศวกร
ชาวอเมริกนั เฮนรี่ ทาวน์ (Henry Towne ค.ศ. 1844-1924) ผลงานของนักคิด
เหล่านีไ้ ด้ มีบทบาทต่ อการพัฒนาองค์ความรู้ทางการจัดการ
ในปลายศตวรรษที่ 19 การขยายตัวของอุตสาหกรรมและการจัดการเป็ นไป
อย่ างรวดเร็ว มีการใช้ จ่ายเงินทุนและเวลาอย่ างมากในการฝึ กอบรม และพัฒนา
พนักงานให้ มีความรู้เกีย่ วกับเครื่องจักร และงาน
นักวิชาการและนักปฏิบัติในอุตสาหกรรมจึงศึกษาการเพิม่ ประสิ ทธิภาพ
การทางานในองค์ การโดยรวม การศึกษาค้ นคว้ าได้ พฒ
ั นาจนกลายเป็ น
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิ ค (Classical management
perspective) ซึ่งถือได้ ว่าเป็ นกลุ่มแนวคิด และทฤษฎีทางการจัดการกลุ่มแรก
ซึ่งแบ่ งออกเป็ น 2 สาขาย่ อยคือ
1. ทฤษฎีการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management Theory)
2.ทฤษฎีองค์ การ (Organization Theory)
การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management Theory) เป็ น
แนวคิดทางการจัดการทีม่ ุ่งเน้ นการศึกษางานโดยใช้ หลักเหตุผลด้ วยวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ เพือ่ ปรับปรุงประสิ ทธิภาพการทางานของพนักงานใน
องค์ การ นักคิดทีส่ าคัญในสานักนีไ้ ด้ แก่ เฟรดเดอริค ดับบลิว เทเลอร์
(Frederick W. Taylor)แฟรงค์ และลิเลียน กิลเบร์ ท (Frank and Lilian
Gilbreth) เฮนรี แกนท์ (Henry Gantt) และฮาร์ ริงตันอิเมอร์ สัน
(Harrington Emerson)
1. เฟรดเดอริ ค ดับบลิว เทเลอร์ (Frederick W. Taylor) และการจัด
การเชิงวิทยาศาสตร์ เฟรดเดริค ดับบลิว เทเลอร์ (Frederick W. Taylor
ค.ศ. 1856-1915) ได้ ศึกษาเพือ่ หาวิธีการทางานทีด่ ีทสี่ ุ ด (One Best Way)
ด้ านวิธีการศึกษาเวลาและการเคลือ่ นไหวในการทางาน (Time and Motion
Study) ด้ วยการทดลองที่โรงงานมิดเวล โรงงานที่ เบทเลแฮมและที่อนื่ ๆ จน
ค้ นพบและกาหนดมาตรฐานของการทางานในงานเฉพาะอย่ างหลายงาน
ของกระบวนการผลิตในโรงงานผลิตเหล็ก ช่ วยเพิม่ ผลผลิตให้ สูงขึน้ ได้
เทเลอร์ ได้ เสนอบทบาทที่ชัดเจนของฝ่ ายจัดการ และพนักงานใน
กระบวนการทางการจัดการได้ แก่ การวางแผน การจัดองค์ การ การควบคุม
และวิธีการทางานเฉพาะอย่ างได้ ค้นพบหลักเกณฑ์ เกีย่ วกับการกาหนดคุณ
สมบัติเฉพาะของวัตถุดิบ ระบบการควบคุมสิ นค้ าคงเหลือทีใ่ ช้ ในการประสาน
และควบคุมการจัดการในองค์ การ
เสนอระบบการจ่ ายค่ าตอบแทนเป็ นรายชิ้น (Price Rate Pay System)
ผลงานของเทเลอร์ ได้ รับการเผยแพร่ ตีพมิ พ์ผลงาน “Principles of
Scientific Management” ซึ่งเป็ นผลงานทีท่ าให้ เขาได้ รับการยกย่ องเป็ นบิดา
ของการจัดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
หลักการสาคัญของแนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ ของเทเลอร์
สรุปได้ ดังนี้
1.ใช้ หลักวิธีวทิ ยาศาสตร์ เพือ่ แสวงหาการทางานทีด่ ีทสี่ ุ ด
2. ยอมรับความกลมกลืนในกิจกรรมกลุ่มมากกว่ าความไม่ ปลอดภัย
3. มุ่งสู่ ความร่ วมมือของมนุษย์ในการทางาน
4. ทางานเพือ่ ผลผลิตสู งสุ ด
5. พัฒนาพนักงานทุกคนให้ ใช้ ความสามารถสู งสุ ด และสร้ างความมั่นคง
สู งสุ ดให้ บริษัท
2. แฟรงค์ และลิเลียน กิลเบร์ ท (Frank and Lilian Gilbreth) แนวคิดเรื่อง
การศึกษาความเคลือ่ นไหวในการทางาน แฟรงค์ และลิเลียน กิลเบร์ ท
(Frank and Lilian Gilbreth ค.ศ. 1886-1924) และลิเลียน กิลเบร์ ท (Lilian
Gilbreth ค.ศ. 1878-1972)
แฟรงค์ และลิเลียน ได้ ร่วมกันศึกษาการเคลือ่ นไหวในการทางานในโรงงาน
อุตสาหกรรมและหลักการเคลือ่ นไหวในการทางานศึกษาเวลาและการเคลือ่ น
ไหว (Time and Motion Study) ด้ วยการใช้ กล้องโทรทัศน์ จับภาพการเคลือ่ น
ไหวในการทางานแล้วนามาศึกษาวิเคราะห์ การเคลือ่ นไหวทีด่ ีทสี่ ุ ด
สองสามีภรรยาสกุล Gilbreth ได้ ประยุกต์ แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
ของ Taylor มาใช้ และผนวกกับความเข้ าใจในลักษณะบุคลิกภาพและความต้ องการของ
บุคคลในการทางาน
3. เฮนรี แกนท์ (Henry Gantt) แนวคิดเรื่องการจ่ ายค่ าตอบแทนแบบจูงใจ เฮนรี แกนท์
(Henry Gantt ค.ศ.1961-1919) เป็ นวิศวกรเครื่องกลที่ร่วมงานกับ Taylor สร้ างผลงาน
ต่ าง ๆ มากมาย เขาเชื่อมั่นในแนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ เช่ นเดียวกับเทเลอร์
แกนท์ ได้ ทางานเป็ นที่ปรึกษาให้ กบั บริษัทต่ างๆ มากมาย ในการคัดเลือกพนักงาน
ด้ วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ และพัฒนาการจ่ ายค่ าตอบแทนแบบจูงใจ (Pay Incentive) ด้ วย
โบนัส (Bonus)
แกนท์ เน้ นความต้ องการและความสนใจทั้งฝ่ ายบริหารและฝ่ ายพนักงาน การ
ร่ วมมือกันอย่ างกลมกลืนและการเห็นคุณค่ าในทุกปัญหาของการจัดการซึ่งมนุษย์ เป็ น
ส่ วนสาคัญทีส่ ุ ด
ผลงานของแกนท์ คือ กราฟการควบคุมทรัพยากรทางการจัดการทีเ่ รียกว่ า
Gantt Chart ซึ่งเป็ นเทคนิคทางการควบคุมทีใ่ ช้ กนั แพร่ หลายในปัจจุบัน
4. ฮาร์ ริงตัน อิเมอร์ สัน (Harrington Emerson) และแนวคิดเรื่องประสิ ทธิภาพ
ขององค์ การ ฮาร์ ริงตัน อิเมอร์ สัน (Harrington Emerson ค.ศ.1853-1931) เป็ นที่
ปรึกษาทางการจัดการทีม่ จี ุดเน้ นการอนุรักษ์ ทรัพยากรและขจัดการสู ญเปล่ า โดยอาศัย
หลักการเชิงวิทยาศาสตร์ และให้ ความสาคัญกับโครงสร้ างและเป้าหมายขององค์ การ
เขาได้ พฒ
ั นาหลักประสิ ทธิภาพ 12 ประการได้ แก่
หลักประสิทธิภาพ 12 ประการ ของ Emerson ได ้แก่
1. การกาหนดจุดหมายทีช่ ัดเจน (Clearly Defined Ideal)
2. การใช้ สามัญสานึก (Common Sense)
3. คาปรึกษาแนะนาทีส่ ามารถนาไปปฏิบัติได้ ดี (Competent Counsel)
4. วินัย (Discipline)
5. ความยุติธรรม (Fair Deal)
6. ข้ อมูลทีเ่ ชื่อถือได้ ฉับไว ถูกต้ อง และแน่ นอน (Reliable Immediate
Accurate and Permanent Records)
7. แผนแสดงรายละเอียดในการปฏิบัติการ (Dispatching)
8. มาตรฐานและตารางเวลา (Standards and Schedules)
9. สภาพมาตรฐาน (Standard Conditions)
10. การปฏิบัติการทีม่ ีมาตรฐาน (Standards and Operations)
11. คาชี้แนะการปฏิบัติทเี่ ป็ นมาตรฐานและเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
(Written Standard Practice Instructions)
12. รางวัลตอบแทนที่มีประสิ ทธิภาพ (Efficiency Reward)
ทฤษฎีองค์การแบบคลาสสิก
แนวคิดและทฤษฎีองค์ การ เป็ นสาขาแนวคิดทีส่ องในกลุ่มแนวคิดและ
ทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิ ก มีจุดเน้ นในการเพิม่ ประสิ ทธิภาพ และ
ประสิ ทธิผลขององค์ การโดยรวม นักวิชาการคนสาคัญได้ แก่
1. อังรี ฟาโยล์ (Henri Fayol) และการจัดการเชิงบริหาร อังรี ฟาโยล์
(Henri Fayol ค.ศ.1841-1925) เป็ นวิศวกรชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งพยายามพัฒนา
วิธีการจัดการเชิงระบบ
การศึกษาของฟาโยล์ เมื่อเปรียบเทียบกับเทเลอร์ แตกต่ างกันที่จุด
สนใจ
การจัดการของฟาโยล์อยู่ทนี่ ักบริหารระดับสู ง ขณะทีเ่ ทเลอร์
สนใจ
การบริหารในระดับโรงงาน (Shop Level) ฟาโยล์ตรวจสอบองค์ การ
จากบน
ลงล่าง และเสนอหน้ าทีท่ างการจัดการที่สามารถใช้ ได้ เป็ นสากลสาหรับ
องค์ การทุกประเภท
หน้ าทีท่ างการจัดการประกอบด้ วยหน้ าทีส่ าคัญ 5 ประการ
ได้ แก่
1. การวางแผน(Planning)
ฟาโยล์ยงั ได้ เสนอหลักทั่วไปของการจัดการ (General Principles
of Management) 14 ข้ อ สาหรับการจัดการทีม่ ีประสิ ทธิผล ได้ แก่
1. การแบ่ งงานกันทา (Division of Work)
2. มีอานาจหน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบ (Authority and
Responsibility)
3. วินัย (Discipline)
4. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command)
5. เอกภาพในการกาหนดทิศทางภารกิจ (Unity of Direction)
6. ผลประโยชน์ ส่วนตัวมีความสาคัญเป็ นรองผลประโยชน์ ส่วนรวม
(Subordination of Individual to the General Interest)
7. ค่ าตอบแทนและวิธีการจ่ ายค่ าตอบแทน (Remuneration and
Methods)
8. การรวมอานาจ (Centralization)
9. สายการบังคับบัญชาตามลาดับชั้น (Scalar Chain)
10. คาสั่ งทีเ่ ป็ นระเบียบ (Order)
11. หลักความเสมอภาค (Equity)
12. ความมั่นคงในงาน (Stability of Tenure)
13. ความคิดริเริ่ม (Initiative)
14. ความสามัคคี (Esprit de Corps)
ผลงานของฟาโยล์เป็ นทีย่ อมรับกันอย่ างแพร่ หลายและทาให้
เขาได้
รับยกย่ องเป็ นบิดาของแนวคิดการจัดการเชิงบริหาร (The
Administrative
Management)
2. แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) และทฤษฎีระบบราชการ
แมกซ์
เวเบอร์ (Max Weber ค.ศ.1864-1920) เป็ นนักสั งคมวิทยาชาวเยอรมัน
ทา
จากการศึกษาการทางานภายในองค์ การและโครงสร้ างของสั งคมโดย
ส่ วนรวมพบว่ าองค์ การขนาดใหญ่ ที่มีมากขึน้ ในสั งคม ได้ แก่ องค์ การ ธุรกิจ
ทหาร รัฐบาล การเมือง ซึ่งการดาเนินงานขององค์ การขนาดใหญ่ แตกต่ าง
จากองค์ การขนาดเล็ก
เวเบอร์ ได้ เสนอแนวคิดทฤษฎีระบบราชการ (Bureaucracy)
การศึกษาการทางานในโครงสร้ างขององค์การ เวเบอร์ พบว่ าแห่ งทีม่ าของ
อานาจมี 3 แหล่งคือ
1. อานาจที่เกิดขึน้ จากจารีตประเพณี
2. อานาจบารมีทเี่ กิดจากลักษณะพิเศษส่ วนตัวของผู้นา หรือผู้บริหาร
3. อานาจตามกฎหมาย
เวเบอร์ มีความเห็นว่ า อานาจทางการจัดการที่ได้ รับการยอมรับ
และมีความชอบธรรม คืออานาจตามกฎหมายหรือระเบียบข้ อบังคับใน
องค์ การ ส่ วนในด้ านทีเ่ กีย่ วกับลักษณะโครงสร้ างทีเ่ หมาะสมกับองค์ การ
ขนาดใหญ่ เวเบอร์ ได้ เสนอทฤษฎีระบบราชการ ซึ่งหมายถึงลักษณะ
ดังต่ อไปนี้
1. เป็ นการบริหารงานทีด่ ียดึ หลักการจัดสายการบังคับบัญชาตาม
ระดับชั้น
2. มีการแบ่ งงานกันทาตามกฎเกณฑ์
3. กฎเกณฑ์ ต้องเขียนเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
4. การปฏิบัติงานไม่ คานึงถึงตัวบุคคล
5. ผู้ปฏิบัตงิ านต้ องคานึงถึงความมีเหตุผล
6. ผู้ปฏิบัตงิ านต้ องมีความมัน่ คงในการทางาน
7. ผู้ปฏิบัตงิ านต้ องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ อย่ างเคร่ งรัด
8. มีการยึดหลักคุณธรรมและความรู้ ทางเทคนิคเป็ นกฎเกณฑ์
3. เชสเตอร์ บาร์ นาร์ ด (Chester Barnard) กับทฤษฎีระบบการจัดการเชสเตอร์
บาร์ นาร์ ด (Chester Barnard ค.ศ. 1886-1961) เขียนหนังสื อชื่อ The Function of
Executive (ค.ศ. 1938) ซึ่งชี้ให้ เห็นว่ าผู้บริหารมีบทบาทสาคัญในการบูรณาการระบบ
ความร่ วมมือต่ าง ของการติดต่ อสื่ อสารการจัดหา การจัดการทรัพยากร และความ
สั มพันธ์ ระหว่ างบุคคล เพือ่ ให้ การดาเนินการบรรลุวัตถุประสงค์ ขององค์ การที่กาหนด
ไว้ แนวความคิดของบาร์ นาร์ ด เรียกว่ า ระบบการบริหาร (Administrative
Systems)
บาร์ นาร์ ด พิจารณาว่ าองค์ การเป็ นระบบของการร่ วมมือร่ วมใจกันทางาน
ของบุคคลทีอ่ ยู่ในองค์ การ
บาร์ นาร์ ดเห็นว่ า อานาจหน้ าทีข่ นึ้ อยู่กบั การยอมรับของผู้ใต้ บังคับบัญชา
มากกว่ าการกาหนดหรือสั่ งการโดยผู้บริหารฝ่ ายเดียว
4. ลินดัล เออร์ วิค และลเู ธอร์ กลู คิ (Lyndall Urwick and Luther Gulick) กับ
The Science of Administration ลินดัล เออร์ วิค และลเู ธอร์ กลู คิ (Lyndall Urwick
ค.ศ. 1891-1983) เป็ นนักทฤษฎีและทีป่ รึกษาทางการจัดการ ผู้ประสมประสานแนวคิด
การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ และทฤษฎีองค์ การเข้ าด้ วยกัน
ลูเธอร์ กูลคิ (Luther Gulick ค.ศ. 1892-1970) เป็ นคณะทางานทีป่ รึกษา
ด้ านการบริหารของประธานาธิบดีแฟรงคลิน อาร์ รูสเวล ช่ วงทศวรรษ 1930
- เป็ นผู้ทมี่ คี วามสนใจทางการเมืองและการบริหารภาครัฐ
- เออร์ วคิ และกูลคิ ได้ ร่วมกันเขียนบทความซึ่งตีพมิ พ์ ในปี ค.ศ. 1937 ชื่อ
Papers on the Science of Administration ซึ่งรวบรวมจากบทความเกีย่ วกับทฤษฎี
องค์ การและการบริหารภาครัฐ
กูลคิ ได้ จาแนกหน้ าทีท่ างการบริหารของผู้บริหารระดับสู ง (CEO, Chief
Executive Offices) เป็ น 7 ประการ ทีร่ ้ ู จักกันแพร่ หลายในตัวแบบ POSDCORB ซึ่ง
ประกอบด้ วยหน้ าที่ของการวางแผน (Planning) การจัดองค์ การ (Organizing) การจัด
คนเข้ าทางาน (Staffing) การสั่ งการ (Directing) การประสานงาน (Coordinating) การ
รายงาน (Reporting) และการควบคุม (Controlling)
เออร์ วคิ มีความเชื่อว่ ากิจกรรมที่จาเป็ นในการดาเนินงานให้
บรรลุวตั ถุประสงค์ ขององค์การจะต้ องถูกกาหนดโดยกลุ่ม แล้ วมอบ
หมายให้ บุคคลแต่ ละคนรับผิดชอบนาไปปฏิบัติ ไม่ อาศัยความสั มพันธ์
ส่ วนบุคคล ผลงานของเออร์ วคิ เป็ นการสั งเคราะห์ แนวความคิดของ
ฟาโยล์และเวเบอร์
หลักการจัดการตามทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิ ก
ทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิ ก การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ และทฤษฎีองค์ การ
คือหลักประสิ ทธิภาพ ผลงานของนักวิชาในกลุ่มนีม้ วี ิธีการทีจ่ ะให้ ได้ มาซึ่งประสิ ทธิภาพ
ต่ างกันไป ดังนี้
1. กล่ มุ แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ เน้ นประสิ ทธิภาพการผลิตในระดับ
ปฏิบัตกิ ารซึ่งได้ จากการศึกษาวิธีการทางานทีด่ ที สี่ ุ ด จากการศึกษาเวลาและการเคลือ่ น
ไหวในการทางาน แล้วนามาใช้ เป็ นหลักในการคัดเลือกและฝึ กอบรมพนักงาน รวมถึงการ
กาหนดค่ าตอบแทนการทางานเป็ นรายชิ้นเพือ่ จูงใจให้ พนักงานเพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิต
ให้ สูงขึน้
2. กล่ มุ ประสิทธิภาพการจัดการเชิงระบบ โดยมุ่งเน้ นหน้ าทีข่ องผู้บริหาร และ
กระบวนการบริหารหลักการ 14 ข้ อของอังรี ฟาโยล์ เป็ นหลักการทัว่ ไปทีไ่ ด้ รับการยอม
รับกันอย่างกว้ างขวาง
3. กล่ มุ แนวคิดการจัดการเชิงทฤษฎีองค์การ เน้ นประสิ ทธิภาพ
ทางการบริหารที่เกิดจากการจัดโครงสร้ างองค์การอย่ างเป็ นระบบ หลัก
การทฤษฎีระบบราชการ เน้ นการจัดสายการบังคับบัญชาที่ลดหลั่นกัน
ตามระดับชั้น ของการรวมอานาจ และความเป็ นทางการ
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิ กมีข้อจากัดที่มุ่งเน้ น
การทางานภายใต้ สภาพแวดล้อมภายในองค์ การทีค่ วบคุมได้ และ
กระบวนการทางานแบบเครื่องจักรซึ่งให้ ความสาคัญแก่ทรัพยากร
มนุษย์ น้อย
การเจริญเติบโตทาให้ องค์ การอยู่ภายใต้ อทิ ธิพลของสภาพแวด
ล้อมภายนอกองค์ การเพิม่ มากขึน้ ประกอบกับปัญหาเรื่องต้ นทุนแรง
งานทาให้ การจ้ างแรงงานและการฝึ กอบรมพนักงานมีน้อยลง สภาพ
เหล่านีไ้ ด้ กลายเป็ นเงื่อนไขทีท่ าให้ เกิดความสนใจในแนวคิดทางการ
บริหารทีม่ ุ่งเน้ น ความสาคัญของทรัพยากรมนุษย์ ในองค์ การเพิม่ มาก
ขึน้ ซึ่งเรียกว่ าทฤษฎีการจัดการแบบนิโอคลาสสิ กหรือทฤษฎีการจัด
การเชิงพฤติกรรม (Behavioral Management)
แมรี ปาร์ คเกอร์ ฟอลเลทท์ (Mary Follett ค.ศ.1868-1933)มีความ
คิดครอบคลุมเชื่อมโยงทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิ ก และการจัดการแบบ
นิโอคลาสสิ ค
ฟอลเลทท์ ได้ ใช้ ภูมิหลังทางการศึกษาในด้ านจิตวิทยา รัฐศาสตร์
และการทางานในราชการพลเรือน ทาความเข้ าใจเกีย่ วกับปรากฏการณ์
ความขัดแย้ ง การใช้ อานาจ และอานาจหน้ าที่ การควบคุม และความร่ วมมือ
มีความเห็นว่ าการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ ยงั มีความจาเป็ นสาหรั บองค์ การที่
ไม่ สามารถแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติได้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดไป
องค์ การทีม่ ีการแข่ งขันสู งขึน้ มีความยากลาบากในการแสวงหา
แรงงาน ตลอดจนความรับผิดชอบในการใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรให้ มี
ประสิ ทธิภาพสู งสุ ด
การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ ไม่ สามารถแยกขาดความสั มพันธ์
ส่ วนบุคคล
แมรี่ ปาร์ คเกอร์ ได้ เขียนบทความที่ชี้ให้ เห็นถึงความสาคัญของ
ปัจจัยมนุษย์ โดยเฉพาะในเรื่องการจูงใจบุคคล และกลุ่มในการเพิม่
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลการทางานในองค์ การ
- ในต้ นศตวรรษที่ 20 สภาพการเปลีย่ นแปลงทางสั งคมและ
เศรษฐกิจอย่ างต่ อเนื่อง ทาให้ แนวคิด และทฤษฎีการบริหารคลาสสิ กถูก
โต้ แย้ งและเกิดแรงกดดันให้ หันมามุ่งสนใจบุคคลแต่ ละคน และพฤติกรรม
มนุษย์ ในการทางาน ขณะทีแ่ นวคิดและทฤษฎีการบริหารดั้งเดิมมุ่งสนใจองค์
การ โดยส่ วนรวม และความสั มพันธ์ ระหว่ างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้ บังคับบัญชา
แนวคิดการจัดการเชิงพฤติกรรม (Behavioral Management) มุ่ง
สนใจลักษณะและผลกระทบของบุคคลและกลุ่มในการทางานในองค์การ
แนวคิดและทฤษฎีทสี่ าคัญของกลุ่มนี้ ได้ แก่ ทฤษฎีจิตวิทยา
อุตสาหกรรมของ ฮิวโก มันสเตอร์ เบอร์ ก (Hugo Munsterberg) และการ
ทดลองที่เมืองฮอร์ ทอร์ น ของเอลตัน เมโย (Elton Mayo)
- ฮิว โก มันสเตอร์ เบอร์ ก (Hugo Munsterberg) และทฤษฎี
จิตวิทยาอุตสาหกรรม ฮิว โก มันสเตอร์ เบอร์ ก (Hugo Munsterberg ค.ศ.
1863-1916) เป็ นชาวเยอรมันที่มาทางานเป็ นศาสตราจารย์ ทางจิตวิทยาที่
มหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ได้ อธิบายถึงการทาความเข้ าใจจิตวิทยาของบุคคล
ซึ่งสามารถนามาใช้ ในสถานการณ์ ทางการจัดการ ทาให้ เพิม่ ประสิ ทธิภาพ
การทางานในอุตสาหกรรมสู งขึน้
การประยุกต์ ใช้ หลักการทางจิตวิทยาเป็ นจุดสนใจทีด่ ีทสี่ ุ ดร่ วมกัน
ระหว่ างผู้บริหารและพนักงานเขาหวังทีจ่ ะลดเวลาทางาน เพิม่ ค่ าจ้ างและ
คุณภาพชีวติ การทางาน
- มันสเตอร์ เบอร์ ก ได้ รับการยกย่ องเป็ นบิดาของแนวคิดและ
ทฤษฎีจิตวิทยาอุตสาหกรรม (The father of Industrial) งานของเขาได้
ถูกนาไปศึกษาและพัฒนาอย่ างแพร่ หลายในช่ วงทศวรรษ 1920 โดย
นักวิชาการหลายท่ าน และมีอทิ ธิพลต่ องานของ Elton Mayo
2. เอลตัน เมโย (Elton Mayo) กับการทดลองที่ ฮอร์ ทอร์ น เอลตัน
เมโย (Elton Mayo ค.ศ.1880-1949) เป็ นศาสตราจารย์ ที่ Wharton
School of Business มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย
เขาได้ ร่วมกับคณาจารย์ อกี 2 ท่ าน คือ เอฟ เจ โรทิล เบอเกอร์ (F.J
Roethlishberger) และวิลเลียม เจ ดิคสั น (William J Dickson) แห่ ง
มหาวิทยาลัยฮาวาร์ ดทีโ่ รงงานเวสเทิร์น อิเลคทลิค ในเมืองฮอร์ ทอร์ น
รัฐซิคาโก
การทดลองที่เมืองฮอร์ ทอร์ น ศึกษาถึงผลกระทบทางสภาพแวดล้อม
การทางานทีเ่ ปลีย่ นแปลงต่ อประสิ ทธิภาพการผลิตของพนักงาน
การศึกษาถึงผลกระทบทางสภาพแวดล้อมการทางานที่เปลีย่ นแปลงต่ อ
ประสิ ทธิภาพการผลิตของพนักงานได้ ศึกษาถึงผลกระทบของแสงสว่ างในห้ อง
ทดลองทีม่ ีต่อผลผลิตของพนักงานหญิง ซึ่งทางานประกอบอุปกรณ์ โทรศัพท์
เปรียบเทียบระหว่ างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่ าเมื่อแสงสว่ างเพิม่ ขึน้
ผลผลิตของพนักงานหญิงทั้งสองกลุ่มเพิม่ ขึน้
เมื่อทดลองลดระดับแสงสว่ าง กลับพบว่ าผลผลิตของพนักงานหญิงทั้ง
สองกลุ่มก็ยงั คงเพิม่ ขึน้ อย่ างน่ าประหลาดใจ พบว่ า ผลผลิตดังกล่ าวยังคงไม่
ลดลงแม้ ว่าแสงสว่ างจะมีเพียงระดับแสงจันทร์ เท่ านั้น
นักวิจัยได้ ทดลองปัจจัยสภาพแวดล้ อมอืน่ ๆ ด้ วยแต่ กใ็ ห้ ผลทานองเดียวกัน
คือไม่ อาจสรุ ปถึงผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้ อมการทางานต่ อ
ประสิ ทธิภาพการผลิตของพนักงานได้
เมโย พบว่ ามีข้อสั งเกตบางประการจากการทดลองนี้ จึงร่ วมกับนักวิจัยอีก
2 ท่ านดังกล่าว ทาการทดลองช่ วงปี ค.ศ.1927-1193 เขาได้ ทาการทดลองเกีย่ วกับ
ระบบการจ่ ายค่ าตอบแทน การบังคับบัญชาและองค์ ประกอบอืน่ โดยควบคุมองค์
ประกอบเหล่ านีแ้ ละนามาใช้ กบั พนักงานหญิงกลุ่มทดลอง 5 คนในห้ องทดสอบ
(Test Room Study) ภายใต้ สภาพแวดล้ อมที่ควบคุม พนักงานหญิงกลุ่มนีจ้ ะต้ อง
ทางานซึ่งมีการควบคุมโดยการวัดผลงานที่ผลิตได้ ทุกครึ่งชั่วโมง พบว่ าผลผลิต
เพิม่ ขึน้ โดยไม่ มีความสั มพันธ์ อย่างชัดเจนกับสภาพแวดล้ อมทางกายภาพ
แต่ กบั พบว่ ามีปัจจัยอืน่ ทีเ่ ข้ ามาเกีย่ วข้ อง และอธิบายความสั มพันธ์ กบั
ผลผลิตได้ คอื การเปลีย่ นแปลงช่ วงเวลาพักผ่ อนการทางานต่ อวันที่ส้ั น
ลง การให้ บริการอาหารกลางวันและเครื่องดื่มปัจจัยทางสั งคมเหล่ านี้
ส่ งผลกระทบต่ อประสิ ทธิภาพการทางานทีเ่ พิม่ ขึน้ ของพนักงาน นักวิจัย
เรียกการค้ นพบนีว้ ่ า Hawthrone Effect
แนวคิดและการทดลองทีฮ่ อร์ ทอร์ นนี้ นาไปสู่ การใช้ การจัดการเชิง
พฤติกรรม ผู้บริหารทีป่ ระสบความสาเร็จ ต้ องคานึงถึงความสาคัญของ
ปัจจัยมนุษย์ พฤติกรรมการทางานของมนุษย์ เป็ นสิ่ งทีท่ าให้ องค์การ
ประสบความสาเร็จได้
กลุ่มแนวคิดและทฤษฎีการจัดการเชิงมนุษย์ สัมพันธ์ ในองค์ การ
ผลจากการทดลองทีเ่ มืองฮอร์ ทอร์ นของ เมโยและคณะ ทาให้
แนวคิด การจัดการหันมามุ่งเน้ นปัจจัยมนุษย์ ในการเพิม่ ประสิ ทธิภาพ
ขององค์ การมากขึน้ โดยพยายามทีจ่ ะพิจารณาให้ เกิดความพึงพอใจใน
การทางานของพนักงาน ควบคู่ไปกับการบรรลุวตั ถุประสงค์ ของ
องค์ การ แนวคิดดังกล่าวได้ ทาให้ เกิดการเคลือ่ นไหวสู่ แนวคิดการให้
ความสาคัญ กับทักษะทางมนุษย์ เพิม่ เติมจากทักษะทางเทคนิค
- อับราฮัม เอช มาสโลว์ (Abraham H. Maslow) กับทฤษฎีลาดับขั้นของ
ความต้ องการ อับราฮัม เอช มาสโลว์ (Abraham H. Maslow ค.ศ.1908-1970) ได้ เสนอ
ทฤษฎีเกีย่ วกับลาดับขั้นความต้ องการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs Theory)
สาระสาคัญของทฤษฎีน้ันสรุ ปได้ ว่า มนุษย์ เป็ นสั ตว์ ทมี่ คี วามต้ องการไม่ สิ้นสุ ด
มาส์ โลว์ ได้ แบ่ งลาดับความต้ องการของมนุษย์ เป็ น 5 ขั้น ตั้งแต่ เริ่มต้ นจนสู ง
สุ ด ดังนี้
1. ความต้ องการทางกายภาพ (Physiological Needs) เป็ นความต้ องการ
ขั้นพืน้ ฐานทีด่ าเนินสาหรับการดารงชีวิตมนุษย์
2. ความต้ องการความปลอดภัย (Safety Needs)
3. ความต้ องการด้ านสังคม (Social Needs)
4. ความต้ องการยกย่อง (Esteem Needs)
5. ความต้ องการประสบความสาเร็จในชีวิต (Self-Actualization Needs)
ผู้บริหารต้ องคานึงถึงความต้ องการของมนุษย์ เหล่านี้ และต้ อง
บริหารจัดการให้ มีการตอบสนองความต้ องการของพนักงานอย่ าง
เหมาะสม จึงจะทาให้ พนักงานมีความพึงพอใจในการทางานและทาให้
องค์ การบรรลุวตั ถุประสงค์ ทกี่ าหนดไว้
ดักลาส เอ็ม แมคเกรเกอร์ (Douglas M. McGregor) กับทฤษฎี X และ Y
ดักลาส เอ็ม แมคเกรเกอร์ (Douglas M. McGregor ค.ศ.1906-1964) ได้
ทาการศึกษาหาแนวปฎิบัตทิ างการบริหารโดยมุ่งสนใจทัศนะทางสั งคมศาตร์
แมคเกรเกอร์ ได้ พฒ
ั นาทฤษฎีทฤษฎี X และทฤษฎี Y เพือ่ อธิบาย ลักษณะธรรมชาติ
ของพนักงาน 2 แบบทีแ่ ตกต่ างกันคนละขั้ว โดยทฤษฎี X เป็ นแนวคิดการบริหาร
แบบดั้งเดิม มองว่ าพนักงานเกียจคร้ าน ไม่ กระตือรือร้ น และพยายามหลีกเลีย่ งงาน
การบริหารพนักงานประเภทนีต้ ้ องอาศัยการควบคุมทีเ่ ค่ รงครัด
ทฤษฎี Y เป็ นแนวคิดการบริหารทีม่ องว่ าพนักงานมีความรับผิดชอบ
และมีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาการทางาน ชอบทางาน ไม่เบื่อ
หน่ าย การบริหารพนักงานประเภทนีไ้ ม่ ต้องการควบคุม หากแต่ ต้อง
เปิ ดโอกาสให้ พนักงานได้ รับมอบหมายให้ ไปทาทฤษฎี Y ของ
แมคเกรเกอร์ นี้ สอดคล้องกับความต้ องการในลาดับขั้น ความต้ องการ
ประสบความสาเร็จในชีวติ (Self- Actualization Needs)ของ มาสโลว์
ทฤษฎีพฤติกรรมองค์ การที่สาคัญได้ แก่ ทฤษฎีการพัฒนาองค์ การของ
เคิรท เล วิน (Kurt Lewin) กับการพัฒนาองค์ การ ได้ พฒ
ั นาองค์ การจากการศึกษา
กลุ่มทางานขนาดเล็ก ทาให้ ทราบถึงผลดีของการเข้ าไปมีส่วนร่ วม กลุ่มและการเพิม่
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างสมาชิกของกลุ่ม
เลวิน พบว่ า การแก้ ปัญหาของกลุ่มโดยความร่ วมมือของพนักงานทั้งหมด
ในกลุ่มและให้ ทุกคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นอย่ างมีอสิ ระและการแก้
ปัญหามีรากฐานอยู่บนความไว้ ใจซึ่งกันและกันนาไปสู่ การเปลีย่ นแปลงที่ดี
ในองค์ การและมีผลไปสู่ การพัฒนาองค์ การ(Organization Development)
รู ปแบบในการพัฒนาองค์ การตามการค้ นพบของ เล วิน แบ่ งเป็ น 3 ขั้น ได้ แก่
1. การคลายตัว หมายถึง ขั้นการเตรียมการให้ องค์ การมีความพร้ อมสาหรับ
การเปลีย่ นแปลงหรือเห็นได้ ชัดแล้วว่ ามีปัญหาเกิดขึน้ ที่ทาให้ การเปลีย่ นแปลงเป็ นสิ่ งที่
หลีกเลีย่ งไม่ ได้
2. การเปลีย่ นแปลง หมายถึง การเปลีย่ นจากพฤติกรรมเก่ าไปสู่ พฤติกรรม
ใหม่ ทไี่ ด้ เลือกแล้วและเชื่อว่ าจะช่ วยให้ มีการแก้ปัญหาขององค์ การได้
3. การกลับคงตัวอย่ างเดิม หมายถึง การพยายามเสริมกิจกรรมต่ างๆ เพื่อ
หล่อหลอมให้ พฤติกรรมใหม่ มีความมั่นคงถาวร และเข้ ากันได้ กบั ระบบพฤติกรรมของ
องค์ การ
รู ปแบบการพัฒนาองค์ การตามแนวคิดของ เล วิน สามารถนาไปประยุกต์ ใช้ กบั
องค์ การทุกประเภทและการพัฒนาองค์ การเป็ นเรื่องจาเป็ นสาหรับการอยู่รอดของ
องค์ การในสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป
เฟรด เดอ ริด เฮอร์ ซเบอร์ ก (Frederick Herzberg) กับทฤษฎีการ
จูงใจ เป็ นนักพฤติกรรมศาสตร์ ทพี่ ฒ
ั นาทฤษฎีการจูงใจในการทางาน
จุดมุ่งหมายในการศึกษาของ เฮอร์ ซเบอร์ ก คือประโยชน์ ในทาง
อุตสาหกรรม โดยการศึกษาทัศนคติเกีย่ วกับงานเพือ่ ให้ มีการเพิม่ ผลผลิต
ลดการขาดงาน และสร้ างความสั มพันธ์ ที่ดีในการทางาน และเพือ่
ประโยชน์ โดยทัว่ ไปสาหรับทุกคน
ความเข้ าใจเกีย่ วกับอิทธิพลต่ างๆมีส่วนช่ วยในการปรับปรุงขวัญ
กาลังใจในการทางานทาให้ เกิดความพึงพอใจในงาน
เฮอร์ ซ เบอร์ กได้ จาแนกปัจจัยทีม่ ีผลกระทบต่ อการทางานเป็ น 2 กลุ่มคือ
1. ปั จจัยจูงใจ (Motivation Factors) หมายถึงปัจจัยทีท่ าให้ เกิดความ
พึงพอใจในการทางาน ได้ แก่ ความสาเร็จ การยอมรับ ความรับผิดชอบ ความ
ก้าวหน้ า และลักษณะทีด่ ีของงาน
2. ปัจจัยบารุงรั กษา (Hygiene of Maintenance) หมายถึงปัจจัยที่เกีย่ วข้ อง
กับลักษณะของการทางาน เช่ น ความสั มพันธ์ ระหว่ างผู้บริหารกับพนักงาน
ความสั มพันธ์ กบั เพือ่ นร่ วมงาน นโยบายการบริหาร เทคนิคการบังคับบัญชา
ความมั่นคงในงาน และสภาพการทางาน
เฮอร์ ซ เบอร์ ก ได้ พยายามแก้ไขปัญหาการจูงใจโดยวิธีการเพิม่
คุณค่ าของงานให้ สูงขึน้ เรียกว่ า Job Enrichment ซึ่งมีผลต่ อการจูงใจ
มากขึน้
วิธีการเพิม่ คุณค่ าของงาน ได้ แก่ การออกแบบให้ งานมีอสิ ระมาก
ขึน้ มีความรับผิดชอบสู งขึน้ มีความก้าวหน้ ามากขึน้ และมีความสาเร็จ
ในงานมากขึน้
วิธีเพิม่ คุณค่ าของงานแตกต่ างจากการขยายงาน ( Job
Enrichment ) ที่มีการเพิม่ ลักษณะเนือ้ หาของงาน แต่ ค่าของงานยังคงเดิม
จึงไม่ สามารถจูงใจได้ แต่ กส็ ามารถช่ วยลดความน่ าเบื่อหน่ ายของงานได้
อี แอนทริส และ เค แบมฟรอ์ท (E. L. Trist and K. W. Bamforth)กับ
ทฤษฎีพลังของกลุ่ม ได้ ทาการศึกษาการทางานของคนในกลุ่มขนาดเล็กในเหมืองถ่ านหิน
ซึ่งเดิมมีระบบการทางานทีห่ ัวหน้ าสามารถเลือกลูกน้ องเอง เลือกคนทีร่ ้ ู จักเข้ ามา
ทางานด้ วยกัน
การทางานมีบรรยากาศทีจ่ ูงใจให้ ผลผลิตสู งไม่ ค่อยมีการขาดงาน แม้ ว่าเทคนิค
การทางานยังไม่ ทนั สมัย การทางานมีลกั ษณะช่ วยกันอย่างใกล้ชิด ไม่ ได้ แบ่ งงานกัน
ทาตามความถนัดจึงต้ องพึงพากันตลอดเวลา
การศึกษาของ ทริส และแบมฟรอ์ ท สรุ ปได้ ว่า องค์ ประกอบทางสั งคมมีผลกระทบ
อย่างลึกซึ้งต่ อขวัญและกาลังใจของพนักงาน และต้ องพิจารณาว่ าพลังอันสาคัญในองค์ การ
พลังของกลุ่มไม่ เป็ นทางการซึ่งมีลกั ษณะแนวทางปฏิบัติภายใต้ กลุ่มของตนเองอาจไม่
สอดคล้องกับระเบียบข้ อบังคับขององค์ การ
ผู้บริหารต้ องคานึงถึงพลังของกลุ่มในองค์ การ พยายามทีจ่ ะทาให้ พลังของกลุ่ม
ส่ งเสริมความมีประสิ ทธิผลขององค์ การด้ วย
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการแบบนิโคคลาสสิ ก เป็ นแนวคิดและ
ทฤษฎีทมี่ ีจุดเน้ นต่ างจากแบบคลาสสิ กทีเ่ น้ นเรื่องงาน มาสู่ แนวคิดทีเ่ น้ น
เรื่องคน โดยสามารถแบ่ งได้ เป็ น 3 สาขาย่ อย คือ พฤติกรรม มนุษย์ สัมพันธ์
ในองค์ การ และพฤติกรรมองค์ การ ซึ่งหลักการจัดการตามทฤษฎีการจัดการ
แบบนิโคคลาสสิ ก คือการเพิม่ ผลิตภาพขององค์การ โดยใช้ ปัจจัยด้ าน
ทรัพยากรมนุษย์ ในองค์การ
นักวิจัยได้ พยายามศึกษาค้ นคว้ าหาความสั มพันธ์ ทางพฤติกรรม
มนุษย์ ในองค์ การโดยใช้ หลักความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific
Knowledge) หลักจิตวิทยา (Psychology) สั งคมวิทยา (Sociology) และ
มนุษย์ วทิ ยา (Anthropology) เพือ่ ช่ วยให้ การบริหารมีประสิ ทธิผลยิง่ ขึน้
แนวคิดและทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science) เป็ นกลุ่มแนวคิด
ทีเ่ น้ นการใช้ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เกีย่ วกับพฤติกรรมมนุษย์ ในองค์ การ เพือ่ เป็ น
แนวปฏิบัตใิ นการเพิม่ ผลิตภาพขององค์ การ
แนวคิดและทฤษฎีในกลุ่มนีพ้ ยายามหลอม รวมสหวิทยาการหลายๆ ด้ านเข้ า
ด้ วยกัน เพือ่ ทาความเข้ าใจพฤติกรรมมนุษย์ ในองค์ การพบว่ า การศึกษาพฤติกรรม
มนุษย์ ไม่ เหมือนกับการศึกษาทางฟิ สิ กส์ หรือเคมี
แนวคิดและทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ ทาให้ เกิดการศึกษาพฤติกรรมองค์ การ
(Organization Behavior) ซึ่งเป็ นการศึกษาถึงผลกระทบที่องค์ การมีต่อพนักงาน
และผลกระทบของพนักงานและกลุ่มทีม่ ีต่อองค์ การ
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการเชิงปริ มาณ เป็ นการนาคณิ ตศาสตร์ สถิติ และ
สารสนเทศมาใช้ในการแก้ปัญหาเพื่อให้การจัดการมีประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิ ผล
เพิม่ ขึ้น
การจัดการเชิงปริ มาณประกอบด้วยแนวคิดทฤษฎี 3 กลุ่มย่อย คือศาสตร์ ทาง
การจัดการ การจัดการการดาเนินงาน และระบบสารสนเทศทางการจัดการ หลักการ
จัดการเชิงปริ มาณ เป็ นการนาตัวแบบทางคณิ ตศาสตร์ และสถิติมาใช้ตดั สิ นทางธุรกิจ
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดหรื อเหมาะสมที่สุดตามแต่สถานการณ์
กลุ่มแนวคิดและทฤษฎีศาสตร์ ทางการจัดการเชิงปริ มาณ เกิดขึ้นในช่วงปลาย
ทศวรรษ 1930 โดยอัล เฟรด พี สโลน (Alfred P Sloan) และโร เบิอร์ท อี วูด (Robort
E.Wood) แห่งบริ ษทั เซี ยร์ โร บัค (Sears Roebuck) ทั้งสองได้เสนอแนวปฏิบตั ิทางการ
จัดการซึ่ งอาศัยหลักการที่แน่นอนเชิงปริ มาณ
การจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Management) คือแนวทางการนา
คณิตศาสตร์ สถิติ และสารสนเทศมาใช้ ในการตัดสิ นใจแก้ปัญหาต่ างๆ ทางการ
บริหาร การจัดการเชิงปริมาณยังได้ ใช้ หลักเกณฑ์ ทหี่ ลากหลายทางคณิตศาสตร์
สถิตศิ าสตร์ และสารสนเทศ มาใช้ ในการแก้ ปัญหาหลายแง่ หลายมุมซึ่งทาให้ การ
ตัดสิ นใจสามารถทาได้ อย่ างรวดเร็ว ถูกต้ องและแม่ นยา
การจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Management) ประกอบด้ วย
แนวคิดและทฤษฎี 3 กลุ่มย่ อย คือ ศาสตร์ ทางการจัดการ (Management Science)
การจัดการดาเนินงาน (Operations Management) และระบบสารสนเทศ
ทางการจัดการ (Management Information System)
1. แนวคิดและทฤษฎีของศาสตร์ การจัดการ
ศาสตร์ การจัดการ (Management Science) เป็ นแนวคิดการจัดการเชิง
ปริมาณซึ่งประยุกต์ ใช้ ตวั แบบทางคณิตศาสตร์ มาใช้ ในการตัดสิ นใจทางการ
จัดการ
ทฤษฎีและตัวแบบของศาสตร์ ทางการจัดการทีน่ ิยมใช้ ในการบริหาร
ธุรกิจ ได้ แก่
1. ทฤษฎีความน่ าจะเป็ น (Probability Theory)
2. ทฤษฎีการตัดสิ นใจภายใต้ สภาพการณ์ ต่างๆ ได้ แก่ สภาวะการณ์
แน่ นอน เสี่ ยง และไม่ แน่ นอน รวมถึงแขนงการตัดสิ นใจ
3. การโปรแกรมเชิงเส้ นตรง ( Liner Programming)
3.1 วิธีการฟ (Graphical Programming)
3.2 วิธี ซิม เพล็กช์ (Simplex Method)
3.3 ตัวแบบ ดูอลั และการวิเคราะห์ การไว (Dual Model and Sensitivity
Analysis)
4. ตัวแบบการขนส่ ง (Transportation Model)
5. PERT/CPM (Program Evaluation and Review Technique/Critical
Part Method)
6. ตัวแบบสิ นค้ าคงเหลือ (Inventory Model)
7. ตัวแบบแถวคอย (Queuing Model)
8. ตัวแบบจาลองสถานการณ์ (Simulation Model)
9. ตัวแบบ มาร์ คอฟ (Markov Model)
10. ทฤษฎีเกม (Games Theory)
2. แนวคิดการจัดการดาเนินงาน
การจัดการดาเนินงาน (Operations Management) เป็ นแนวคิด
การจัดการ ซึ่งมุ่งเน้ นการใช้ เทคนิคเชิงปริมาณเพือ่ ปรับปรุงผลผลิตและเพิม่
ประสิ ทธิภาพการผลิตสิ นค้ าหรือบริการ
องค์ การจานวนมาก โดยเฉพาะโรงงาน อุตสาหกรรม หรือ
ผู้ประกอบการ จะนาเอาเทคนิคเชิง เช่ น ตัวแบบการจัดการสิ นค้ าคงเหลือ
และแบบจาลอง ข่ ายงาน PERT/CPM มาใช้ ในการตัดสิ นใจเกีย่ วกับการ
จัดจาหน่ ายและการผลิต เทคนิคเชิงปริมาณช่ วยในการวางแผนและควบคุม
การผลิต การจัดตารางการผลิตและการควบคุมคุณภาพ
แนวคิดการจัดการดาเนินงาน เป็ นแนวคิดการจัดการทีม่ ุ่งเน้ นการใช้
เทคนิคเชิงปริมาณเช่ นเดียวกับศาสตร์ การจัดการ ( Management Science)
ต่ างกันตรงทีก่ ลุ่มแนวคิดการจัดการดาเนินงานมีขอบเขตเน้ นทีก่ ารผลิต
(Production) และการปฏิบัติการ (Operation) ในโรงงาน อุตสาหกรรมและ
สถานประ กอบกาบการผลิต จุดมุ่งหมายของกลุ่มแนวคิดการจัดการ
ดาเนินงานทีก่ าร เพิม่ ผลผลิต (Productivity) และประสิ ทธิผล (Efficiency)
ในการผลิตสิ นค้ าและการบริการ
กระบวนการจัดการการผลิต ประกอบด้ วยขั้นตอนสาคัญ 3 ขั้น คือ
1. การวางแผนการผลิต
2. การดาเนินการผลิต
3. การควบคุมการผลิต
แนวคิดสารสนเทศทางการจัดการ
ระบบสารสนเทศทางการจัดการ (Management Information System
MIS) เป็ นกระบวนการในการเก็บรวบรวมข้ อมูลนามาจัดระเบียบ
วิเคราะห์ และแปรความหมายเพือ่ นามาใช้ สนับสนุนหน้ าทีท่ างการจัดการ
การตลาด
องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศทางการจัดการการตลาด
องค์ ประกอบพืน้ ฐาน 3 ส่ วน ได้ แก่
1. ส่ วนนาเข้ า (Input)
2. ส่ วนประมวลผล (Processing)
3. ส่ วนนาออก หรือสารสนเทศทีไ่ ด้ (Output)
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการเชิงปริมาณ ประกอบด้ วย ศาสตร์ การจัด
การ การจัดการดาเนินงาน และสารสนเทศทางการจัดการ ซึ่งก่อให้ เกิด
หลักการจัดการที่สาคัญในแต่ ละด้ านดังนี้
1. ศาสตร์ การจัดการ (Management Science) คือแนวการศึกษาการจัดการ
ทีม่ ่ ุงเน้ นหน้ าทีข่ องผู้บริหารในเรื่องการตัดสิ นใจ โดยใช้ หลักเชิงปริมาณในการเลือก
ทางเลือกสาหรับการวางแผน ศาสตร์ ทางการจัดการเน้ นการประยุกต์ ตัวแบบทาง
คณิตศาสตร์ และสถิตมิ าใช้ ในการศึกษาสภาพการทางาน เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพผล
ผลิต
2. แนวคิดการจัดการดาเนินงาน มุ่งเน้ นการนาหลักการของศาสตร์ ทางการ
จัดการมาใช้ ในการตัดสิ นใจด้ านการจัดการผลิตและปฏิบัติการลักษณะงานทางการ
จัดการทีม่ สี ถานการณ์ แน่ นอน จึงสามารถประยุกต์ ใช้ หลักการของศาสตร์ การจัดการ
มาตัดสิ นใจเพือ่ หาคาตอบทีด่ ที สี่ ุ ดในการวางแผนการดาเนินการ และการควบคุมการ
ผลิตและปฏิบัติการ
3. สาหรับหลักการของระบบสารสนเทศทางการจัดการ เป็ นการ
นาแนวคิดเชิงระบบมาใช้ ในการจัดการข้ อมูล ใช้ ในการตัดสิ นใจทางการ
จัดการให้ ผู้บริหารหรือผู้ทเี่ กีย่ วข้ องสามรถเลือกทางเลือกที่เหมาะสม
สาหรับองค์ การ
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการเชิงปริมาณ เป็ นการนาคณิตศาสตร์
สถิติ และสารสนเทศมาใช้ ในการแก้ปัญหาเพือ่ ให้ การจัดการมีประสิ ทธิภาพ
และประสิ ทธิผลเพิม่ ขึน้
การจัดการเชิงปริมาณประกอบด้ วยแนวคิดทฤษฎี 3 กลุ่มย่ อย คือ
ศาสตร์ ทางการจัดการ การจัดการ การดาเนินงาน และระบบสารสนเทศ
ทางการจัดการ หลักการจัดการเชิงปริมาณ เป็ นการนาตัวแบบทาง
คณิตศาสตร์ และสถิติมาใช้ ตัดสิ นใจทางธุรกิจ เพือ่ ให้ ได้ ผลลัพธ์ ทดี่ ีทสี่ ุ ดหรือ
เหมาะสมทีส่ ุ ดตามแต่ สถานการณ์
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการร่ วมสมัย เป็ นการผสมผสานแนวคิด
ทฤษฎีแบบ คลาสสิ ก นีโอคลาสสิ ก และการจัดการเชิงปริมาณเข้ าด้ วยกัน
ประกอบด้ วย 2 กลุ่มคือ กลุ่มแนวคิดและทฤษฎีเชิงระบบ และแนวคิด
และทฤษฎีตามสถานการณ์
แนวคิดและทฤษฎีการบริหารร่ วมสมัย (Contemporary
Management) แนวคิดทฤษฎีในกลุ่มนี้ ได้ แก่ แนวคิดและทฤษฎีเชิง
สถานการณ์ (Contingency Theory)
แนวคิดและทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ เป็ นแนวคิดทางการจัดการที่พจิ ารณาองค์การใน
ฐานะ
ทีเ่ ป็ นระบบ คาว่ า ระบบหมายถึง องค์ ประกอบย่ อยชุ ดหนึ่งทีม่ ี
ปฏิสัมพันธ์
ต่ อกันและทาหน้ าทีเ่ พือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ ร่วมกัน (Common Goals)
ระบบองค์ การทุกระบบจะดาเนินงานโดยอาศัยองค์ ประกอบย่ อย 4
ส่ วน
ได้ แก่
1. ปัจจัยนาเข้ า (Inputs) หมายถึงทรัพยากรด้ านกายภาพ
2. กระบวนการแปรสภาพ (Transformation Process) หมายถึง
วิธีการทางการจัดการเทคโนโลยีและการดาเนินการในการแปรสภาพปัจจัย
นาเข้ าให้ กลายเป็ นปัจจัยนาออก ซึ่งได้ แก่ สิ นค้ าและบริการ
3. ปัจจัยออก (Outputs) หมายถึง สิ นค้ าและบริการที่เป็ นผลจาก
ระบบการแปลงสภาพกาไรหรือขาดทุนจากการดาเนินงาน
4. ข้ อมูลป้ อนกลับ (Feedback) หมายถึง ข้ อมูลข่ าวสารหรือ
สารสนเทศทีม่ ีต่อปัจจัยนาออก ข้ อมูลป้อนกลับจะถูกนามาใช้ ปรับปรุง
ปัจจัยนาเข้ า หรือกระบวนการแปลงสภาพเพือ่ ทาให้ ปัจจัยนาออกอยู่ใน
ระดับที่ต้องการและมีผลสาเร็จ
ระบบปิ ดและระบบเปิ ด
ระบบปิ ด (Closed System) องค์ การจะไม่ มี ปฏิสัมพันธ์ กบั สิ่ ง
แวดล้อมภายนอกองค์ การ โดยองค์ การจะมีความพอเพียงในตนเอง (SelfSufficient) ไม่ ต้องพึง่ พิงสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ
ระบบเปิ ด (Open System) หมายถึงองค์ การทีม่ ี ปฏิสัมพันธ์ กบั
สิ่ งแวดล้อมภายนอกองค์ การ องค์ การแทบทุกองค์การต่ างเป็ นระบบเปิ ด
แนวคิดระบบเปิ ดเป็ นเพียงแนวคิดในเชิงเปรียบเทียบเท่ านั้น เพราะ
ไม่ มีองค์ การใดเป็ นระบบเปิ ดอย่ างแท้จริง
แนวคิ
แนวคิดดและทฤษฎี
และทฤษฎีเเชิชิงงสถานการณ์
สถานการณ์
ทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ (Contingency Theory) เป็ น
แนวคิดทางการจัดการ มุ่งเน้ นการปรับพฤติกรรมการบริหารให้ เข้ ากับ
สิ่ งแวดล้อมขององค์ การแต่ ละแห่ งและตามสถานการณ์
แนวคิดและทฤษฎีการบริหารเชิงสถานการณ์ ต่างจากแนวคิดและ
ทฤษฎีแบบคลาสสิ ค เน้ นแสวงหาวิธีการทางานทีด่ ีทสี่ ุ ด นักทฤษฎีใน
กลุ่มการบริหารแบบคลาสสิ คเห็นว่ าการจัดการเป็ นหลักสากลหรือเป็ นหลัก
ทัว่ ไปทีส่ ามารถประยุกต์ ใช้ ได้ กบั องค์การทุกแห่ ง โดยไม่ คานึงถึงความ
แตกต่ างด้ านสภาพแวดล้อมขององค์ การ
นักทฤษฎีในกลุ่มบริหารดั้งเดิมก็มไิ ด้ มีความประสงค์ จะให้ ทฤษฎีของเขาเป็ น
กฎเกณฑ์ ทแี่ น่ นอนตายตัว
ช่ วงทศวรรษ 1950-1960 ผลการศึกษาวิจัยของ โจน วูด วาร์ ด (Joan
Woodward) พอล ลอ เรนซ์ (Pual Lawrence) เจ ลอร์ สซ (Jay Lorsch) และคนอืน่ ๆ
ได้ เปิ ดเผยให้ เห็นว่ าผู้บริหารทาหน้ าทีจ่ ัดการในสภาพแวดล้ อมเทคโนโลยีและปัจจัย
อืน่ ๆ ทีแ่ ตกต่ างกัน
กลุ่มแนวคิดและทฤษฎีเชิงสถานการณ์ มไิ ด้ ปฏิเสธแนวคิดและทฤษฎีการจัด
ในอดีตมาใช้ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ โดยพยายามที่จะผสมผสาน แนวคิดและ
ทฤษฎีการจัดการแบบคลาสสิ ก การจัดการเชิงพฤติกรรม การจัดการเชิงปริมาณมาใช้
อย่างเหมาะสม
โจน วูด วาร์ ด (Joan Woodward) กับทฤษฎีโครงสร้ าง
โจน วูด วาร์ ด และคณะ ได้ ศึกษาองค์ การทีผ่ ลิตสิ นค้ า จานวน 100 แห่ ง
ในประเทศอังกฤษ พบว่ าความสั มพันธ์ ระหว่ างเทคโนโลยีกบั โครงสร้ างและประสิ ทธิผลขององค์ การ โดยชี้ให้ เห็นว่ าโครงสร้ างองค์การ
เป็ นสิ่ งสาคัญต่ อความสาเร็จและประสิ ทธิผลขององค์ การ เทคโนโลยี
จะส่ งผลกระทบต่ อโครงสร้ างองค์การโดยตรง ถ้ าเทคโนโลยีเปลีย่ น
แปลงไปต้ องปรับโครงสร้ างองค์การให้ เข้ ากันด้ วย
วูด วาร์ ด ได้ แบ่ งองค์ การทีศ่ ึกษาตามประเภทเทคโนโลยีเป็ น 3 กลุ่ม
คือ
1. เทคโนโลยีผลิตเป็ นชิ้นตามคาสั่ งซื้อของลกู ค้ า (Unit Technology)
องค์ การแบบนีต้ ้ องการโครงสร้ างแบบ Organic ทีป่ รับตัวยืดหยุ่นและอาศัย
ทักษะของพนักงานในระดับสู ง
2. เทคโนโลยีผลิตจานวนมาก (Mass Production) องค์ การต้ องลงทุน
เป็ นจานวนมากในการซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ การผลิต ในการดาเนินการ
ผลิตโครงสร้ างองค์ การแบบเครื่องจักร (Mechanistic) มีการแบ่ งงานกันทา
เฉพาะด้ าน
3. เทคโนโลยีผลิตแบบอัตโนมัติ (Process of Automated Technology)
การผลิตแบบอัตโนมัตติ ้ องการโครงสร้ างแบบมีชีวิต (Organic) เพือ่ ให้ มีการติดต่ อ
สื่ อสารทุกทิศทาง และมีความสั มพันธ์ กบั กลุ่มทีไ่ ม่ เป็ นทางการ
ทฤษฎีของวูด วาร์ ด มีข้อดีคอื ชี้ให้ เห็นว่ าไม่ มแี นวทางการจัดโครงสร้ างทีด่ ี
ทีส่ ุ ดเพียงแนวเดียว แต่ ต้องมีการผสมผสานกันตามสถานการณ์ ทเี่ ป็ นอยู่
Paul Lawrence และ Jay Lorsch กับทฤษฎีการออกแบบโครงสร้ างองค์ การ
ตามสถานการณ์ การศึกษาวิจัยของ ลอเรนซ์ และลอร์ สซ เป็ นทีร่ ้ ู จักกันอย่างแพร่
หลายว่ ามีส่วนช่ วยเหลือต่ อการพัฒนาแนวคิดการจัดการเชิงสถานการณ์ เป็ นอย่ างมาก
ทั้งสองได้ ชี้ว่าโครงสร้ างองค์ การมีความสั มพันธ์ กบั สภาพแวดล้อม
องค์ การทีม่ ีสภาพแวดล้อมต่ างกันย่ อมต้ องการโครงสร้ างขององค์ การ
ทีแ่ ตกต่ างกัน
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อโครงสร้างขององค์การ ได้แก่
1.
2.
3.
4.
ลักษณะของพนักงาน
ประเภทของงาน
วิธีการบริหาร
ลักษณะสภาพแวดล้อม
ลอเรนซ์ และลอร์ สซ สรุปว่ า
1. ถ้ าองค์ การอยู่ในสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่ แน่ นอน องค์ การจะมีการ
จัดโครงสร้ างองค์การให้ อยู่ในสภาพคล่องตัว
2. ถ้ าองค์ การอยู่ในสภาพแวดล้อมทีม่ ีความแน่ นอน โครงสร้ าง
ขององค์ การทีแ่ น่ นอนตายตัวจะมีความเหมาะสม
3. ถ้ าต้ องการมีสภาพแวดล้อมภายนอกทีม่ ีความแตกต่ างกันมาก
และสภาพแวดล้อมภายในทีแ่ ตกต่ างกันมากด้ วย จะต้ องมีกลไกของ
การประสานงานทีด่ ีภายในโครงสร้ างองค์ การ
แนวคิดและทฤษฎีการจัดการเชิงสถานการณ์ อนื่ ทีม่ ีการผสมผสาน
แนวคิดการจัดการในอดีต ทีเ่ ป็ นทีร่ ู้จักกันอย่ างแพร่ หลายมี 2 ทฤษฎี
ได้ แก่ ทฤษฎี Z ของอูชิ (Ouchi) และแนวทางการสู่ ความเป็ นเลิศของ
ปี เตอร์ และวอเตอร์ แมน (Peters and Waterman)
วิลเลียม จี อูซิ (William G. Ouchi) และทฤษฎี Z อูซิได้ ศึกษา
แนวปฏิบัติทางการจัดการในธุรกิจเรียกว่ า Theory A มีลกั ษณะเป็ นการ
จัดการทีอ่ งค์ การมุ่งเน้ นความรับผิดชอบของบุคคลแต่ ละคน และการ
ตัดสิ นใจที่พนักงานไม่ มีส่วนร่ วม การจ้ างงานมีลกั ษณะเป็ นการว่ าจ้ าง
ระยะสั้ น
การจัดการของธุรกิจในประเทศญีป่ ุ่ นทีเ่ รียกว่ า Theory J ซึ่งมี
ลักษณะเป็ นการจ้ างงานตลอดชีวติ มีความรับผิดชอบและการตัดสิ นใจ
ร่ วมกันซึ่งเขาได้ ผสมผสานรูปแบบทางการจัดการทีแ่ ตกต่ างกันของ
2 ประเภทนี้ มาเป็ นลักษณะผสมทีเ่ รียกว่ า Theory Z โดยลักษณะทาง
การบริหารแบบ Theory Z เน้ นที่การจ้ างงานตลอดชีวติ การตัดสิ นใจ
ร่ วมกัน รับผิดชอบของแต่ ละบุคคล
โทมัส เจ ปี เตอร์ (Thomas J. Peters) และโรเบิร์ต วอเตอร์ แมน
(Robert H. Waterman) ได้ ตีพมิ พ์ผลงานของเขาเรื่อง “In Search of
Excellence” โดยการมุ่งค้ นคว้ าว่ าบริษทั ทีป่ ระสบผลสาเร็จ มีลกั ษณะ
ทางการจัดการทีด่ ีอย่ างไร ซึ่งได้ ค้นพบคุณลักษณะทีด่ ี 8 ประการทีท่ า
ให้ ธุรกิจเหล่านีม้ ีระดับผลของการปฏิบัตกิ ารสู งเป็ นทีน่ ่ าพอใจ บริษัท
เหล่านีม้ ุ่งตอบสนองความพอใจของลูกค้า
ลักษณะ 8 ประการของความเป็ นเลิศของการจัดการ ได้ แก่
1. การมุ่งการกระทา (A bias for action)
2. การใกล้ ชิดลูกค้ า (Close to the customer)
3. ความเป็ นอิสระและศิลปะการเป็ นผู้ประกอบการ (Autonomy and
entrepreneurship)
4. การเพิม่ ประสิ ทธิภาพโดยคน (Productivity through people)
5. การจัดการผลักดันให้ เกิดค่ านิยมในองค์ การ (Hand or value driven)
6. การดาเนินธุรกิจทีม่ คี วามมุ่งมัน่ เชี่ยวชาญ (Stick to the Knitting)
7. โครงสร้ างทีเ่ รียบง่ ายและใช้ พนักงานน้ อย (Structured Simple with Lean Staffs)
8. การรู้ จักผ่ อนหนักผ่ อนเบา (Loosely and Tightly)
หลักการจัดการร่ วมสมัยมีลักษณะทีส่ าคัญ ดังนี้
1. การพิจารณาองค์ การธุรกิจ ในฐานะทีเ่ ป็ นระบบเปิ ด คือเป็ นระบบที่
ปฏิสัมพันธ์ กบั สภาพแวดล้อม
2. โครงสร้ างองค์ การสมัยใหม่ ภายใต้ สภาวะแวดล้อมทีส่ ลับซ้ อนและ
มีการเปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ ทาให้ แนวคิดการจัดโครงสร้ างองค์ การมุ่งเน้ น
การบริหารแบบมีส่วนร่ วม และการกระจายอานาจโครงสร้ างองค์ การที่
เหมาะสม ต้ องตอบสนองต่ อประเภทงาน พนักงาน วิธีการจัดการและ
สภาพแวดล้อม โครงสร้ างองค์ การต้ องมีความยืดหยุ่นคล่องตัว มีท้งั สาย
งานหลักและสายงานทีป่ รึกษา เพือ่ ตอบสนองทั้งหน้ าทีห่ ลักและหน้ าที่
สนับสนุนทีจ่ าเป็ นขององค์ การ
3. แนวคิดการจัดการทีม่ ุ่งความเป็ นเลิศ ด้ วยการจัดการแบบผสมผสาน
ทีป่ ระยุกต์ รูปแบบการจัดการทีห่ ลากหลายมาใช้ อย่ างเหมาะสม เพือ่
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลขององค์ การ การจัดการทีม่ ุ่งความเป็ นเลิศ
เน้ นการวางแผนระยะยาวโดยใช้ วสิ ั ยทัศน์ ทางการบริหารที่เมาะสมจากการ
ประเมินสภาพแวดล้อมขององค์ การทั้งภายนอกและภายใน การกาหนดกล
ยุทธ์ ทเี่ หมาะสม การสร้ าง วัฒนธรรมการทางาน และการปรับตัวยืดหยุ่น
เป็ นสาคัญ
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ เป็ นทฤษฎีที่พฒ
ั นาขึน้ เพือ่ เสริมจุดด่ อน
และข้ อบกพร่ องของทฤษฎีองค์ การแบบดั้งเดิม (Classical Organizational
Theory) และทฤษฎีองค์ การดั้งเดิมแบบใหม่ (Neo Classical
Organizational)
ทฤษฎีท้งั สองทฤษฎีดังกล่าวมุ่งเน้ นลักษณะการบริหารและ
ประสิ ทธิภาพภายในองค์ การเท่ านั้น ซึ่งพิจารณาองค์ การในลักษณะแคบไป
และละเลยอิทธิพลของปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ มีลกั ษณะ บูรณาการให้ ความสาคัญกับ
ปัจจัยภายในและอิทธิพลของปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก
การศึกษาองค์ การควรเน้ นการวิเคราะห์ และสั งเคราะห์ สิ่งต่ างๆ เข้ า
ด้ วยกัน และการศึกษาองค์ การทีด่ ีทสี่ ุ ดควรจะเป็ นวิธีการศึกษาวิเคราะห์
องค์ การในเชิงระบบ (System Analysis) ซึ่งประกอบด้ วยตัวแปรต่ าง
ทั้งภายในและภายนอกองค์ การ ล้วนแล้วแต่ มีผลกระทบต่ อโครงสร้ างและ
การจัดองค์ การ
องค์ การต้ องมีการปรับตัว (Adaptive) ตลอดเวลา เพราะตัว
แปรต่ าง ๆ มีลกั ษณะเปลีย่ นแปลง (dynamic) อยู่เสมอ
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ มีลกั ษณะเด่ นทีท่ าให้ ทฤษฎีนีไ้ ด้ รับการ
ยอมรับและเป็ นประโยชน์ อย่ างมากต่ อการศึกษาองค์ การ คุณลักษณะ
ได้ แก่ การที่มีทฤษฎีระบบเป็ นพืน้ ฐานทางแนวความคิดและการวิเคราะห์
โดยอิงอาศัยข้ อมูลเชิงประจักษ์
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ ได้ ศึกษาประเด็นปัญหาและองค์ ประกอบ
ต่ างๆ ทีท่ ฤษฎีองค์ การแบบดั้งเดิม และทฤษฎีองค์ การดั้งเดิมแบบใหม่ ไม่
ได้ ให้
ความสนใจมาก่อน ประกอบด้ วย
1. องค์ ประกอบทีส่ าคัญ (Strategic Parts) ของระบบคืออะไร
2. การพึง่ พาอาศัยซึ่งกันและกันของส่ วนสาคัญของระบบ (The
Nature of their Mutual dependency) เป็ นอย่ างไร
3. กระบวนการที่เชื่อมโยงส่ วนสาคัญของระบบเข้ าด้ วยกันอย่ างไร
4. เป้าหมายสาคัญทีร่ ะบบต้ องการบรรลุคอื อะไร
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ ขาดองค์ ความรู้ทเี่ ป็ นเอกภาพ กล่ าวคือ
นักวิชาการและนักวิจัยในกลุ่มทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ แต่ ละท่ านต่ างมี
องค์ ประกอบ สาคัญในการศึกษาวิเคราะห์ ระบบ ประกอบด้ วย
1. องค์ ประกอบของระบบและการพึง่ พาอาศัยกันขององค์ ประกอบ
เหล่ านั้น (The Parts of The System and Their Interdependency)
องค์ ประกอบของระบบประการแรกคือ ปัจเจกบุคคล (Individual) และ
บุคลิกภาพส่ วนบุคคล (An Individual’ Personality) บุคลิกภาพของ
แต่ ละบุคคลเป็ นตัวขับดัน (Motive) และเป็ นเจตคติ (Attitude) ที่วาง
เงื่อนไขกรอบความคาดหวัง (The range of Expectancies) ทีแ่ ต่ ละบุคคล
หวังที่จะสมารถสนองความต้ องการด้ วยการมีส่วนร่ วมในระบบ
องค์ ประกอบประการทีส่ องของระบบคือองค์ การรู ปนัย (Formal
Organization) หมายถึงแบบแผนความเกีย่ วข้ องสั มพันธ์ ของงาน (The
Interrelated Pattern of Jobs) ซึ่งประกอบขึน้ เป็ นโครงสร้ างของระบบ
Argyrils ได้ กล่าวถึงความขัดแย้ งโดยพืน้ ฐานอันเป็ นผลมาจากข้ อกาหนด
ของระบบ (The Demand made by the System) และโครงสร้ างของบุคลิกภาพ
บุคคลหนึ่ง ๆ มีความคาดหวังในงานที่ตนปฏิบัติ ในทางกลับกันงานก็มี
ข้ อกาหนดถึงแบบแผนว่ าบุคคลต้ องทาอะไรบ้ าง มีมาตรฐานอย่ างไรในการ
ปฏิบัติงานหนึ่ง ๆ
นักวิชาการทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ จานวนมากให้ ความสนใจ
กับความไม่ สอดคล้องกันระหว่ างความต้ องการขององค์การกับความ
ต้ องการของปัจเจกบุคคล
องค์ ประกอบของระบบประการทีส่ ามคือ องค์ การอรูปนัย
(Informal Organization) คือรูปแบบความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและ
กลุ่มแบบไม่ เป็ นทางการมีอยู่ตามธรรมชาติรูปแบบ ปฏิสัมพันธ์
นีส้ ามารถกล่าวได้ ว่าเป็ นลักษณะการปรับแปลงการคาดหวังซึ่งกันและ
กัน (The Mutual Modification of Expectancies)
องค์ การอรูปนัยเกีย่ วข้ องกับข้ อกาหนดทีม่ ีต่อมวลสมาชิก คือ
แบบแผน พฤติกรรมทีค่ าดหวังจากบุคคลทีเ่ ป็ นสมาชิก และคาดหวังของ
สมาชิกที่ได้ รับความพึงพอใจในฐานะเป็ นสมาชิกภาพ ปฏิสัมพันธ์ เชิง
ความคาดหวังทั้งสองประการก่อให้ เกิดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของ
บุคคลให้ เป็ นไปตามความต้ องการของกลุ่ม และบางครั้งพฤติกรรมกลุ่ม
อาจต้ องปรับเปลีย่ นตามบุคลิกภาพของบุคคลและบรรทัดฐานกลุ่ม
องค์ ประกอบประการที่สี่ของระบบคือ กระบวนการหล่อหลอม
ให้ เกิดบูรณภาพ (The Fusion Process for Organization Integrity)
กระบวนการนีน้ าเสนอโดยนักวิชาการในกลุ่มทฤษฎีองค์การสมัยใหม่ ชื่อ
Bakke ผู้ทกี่ ล่าวถึงระบบความคาดหวังทีห่ ลากหลายในองค์ การ (The
Various Expectancy Systems in An Organization) ซึ่งหมายถึงแบบแผน
ทางพฤติกรรมที่เกิดจากความต้ องการตามบทบาท (Role Demands) ที่เกิด
จากองค์ การรูปนัยกับองค์ การอรูปนัย และการรับรู้ในบทบาท (Role
Perceptions) ก่อให้ เกิดกระบวนการ กระบวนการหล่อหลอม (The Fusion
Process) กระบวนการนีเ้ ป็ นพลังทีป่ ระสานองค์ ประกอบแตกต่ างกันให้ เกิด
บูรณภาพในองค์การ (Organization Integrity)
องค์ ประกอบประการที่ห้าในการวิเคราะห์ ระบบคือ องค์ ประกอบ
ทางกายภาพ (Physical Setting) ได้ แก่ ระบบของคนและเครื่องจักร
(Complex Man-Machine Systems) กล่าวว่ าการดาเนินงานขององค์ การ
จะเกิดประสิ ทธิผลไม่ ได้ ถ้ าไม่ ได้ คานึงลักษณะทางกายภาพ จิตวิทยา และ
สั งคมของบุคคลในองค์การ เครื่องจักร และการกระบวนการดาเนินการต้ อง
ออกแบบให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับคุณลักษณะทางกายภาพและทาง
จิตใจของบุคลากรมากกว่ าการจ้ างบุคคลทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกับ
เครื่องจักร
องค์ ประกอบของระบบประกอบด้ วย ปัจเจกบุคคล องค์ การรู ปนัย
องค์ การอรู ปนัย สถานภาพและบทบาท และองค์ ประกอบทางกายภาพ
อง์ ประกอบเหล่านีป้ ระสานเกีย่ วพันกันเป็ นระบบองค์ การ โดยมีกระบวนการ
เชื่อมโยงองค์ ประกอบเหล่านีเ้ ข้ าไว้ ด้วยกัน
2. กระบวนการเชื่อมโยงองค์ ประกอบ (Linking Process) นักทฤษฎี
องค์ การสมัยใหม่ อธิบายว่ าองค์ ประกอบต่ าง ๆ ขององค์ การมีความเกีย่ วข้ องสั มพันธ์
กัน เพราะมีกระบวนการเชื่อมโยงองค์ ประกอบต่ างๆ เข้ าไว้ ด้วยกัน กระบวนการ
เชื่อมโยงประกอบด้ วย
2.1 การสื่อสาร (Communication) เป็ นโครงข่ ายให้ องค์ ประกอบต่ าง ๆ
เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน การสื่ อสารมิได้ เป็ นเพียงตัวกระตุ้น (Stimuli) ให้ เกิดการ
กระทาเท่ านั้น แต่ ยงั เป็ นกลไกควบคุม และประสานเชื่อมโยงศูนย์ กลางการตัดสิ นใจ
ภายในระบบ
2.2 ความสมดุล (Balance) เป็ นกระบวนการเชื่อมโยงประการหนึ่งที่ช่วยให้
ระบบเสถียร (An Equilibrating Mechanism) ทาให้ องค์ ประกอบต่ างๆ ทีห่ ลากหลาย
ของระบบประสานสั มพันธ์ อย่ างกลมกลืน ความสมดุลประกอบด้ วยลักษณะ 2 ประการ
คือ กลไกกึง่ อัตโนมัติ (Quasi-Automatic) และนวัตกรรม (Innovative) รู ปแบบความ
สมดุลทั้งสองประการทาให้ เกิดบูรณภาพของระบบเมือ่ ต้ องเผชิญกับสภาวะความเปลีย่ น
แปลงทั้งจากภายในและภายนอก
กลไกกึง่ อัตโนมัติ (Quasi-Automatic) จะช่ วยธารงรักษาระบบให้ อยู่ในสภาพ
ปกติ (Homeostatic Properties of Systems) ขณะทีน่ วัตกรรม (Innovative) มีบทบาท
ในการสร้ างความสมดุลเพราะความคิดสร้ างสรรค์ ใหม่ ทาให้ ระบบปรับตัวเข้ ากับการ
เปลีย่ นแปลงภายนอกได้ โดยมีการริเริ่มโครงการใหม่ ๆ เพือ่ รักษาให้ ระบบหรื อองค์ การ
ปรับเข้ าสู่ ความสมดุลอีกครั้งเมือ่ ปัจจัยสภาพแวดล้ อมภายนอกเปลีย่ นแปลงไป
2.3 การตัดสินใจ (Decisions) การวิเคราะห์ การตัดสิ นใจเป็ นผลงานของ
March และ Simon ทีก่ ล่าวไว้ ในหนังสื่ อชื่อ Organizations นักวิชาการทั้งสองท่ าน
ได้ แบ่ งการตัดสิ นใจเป็ นสองประเภท คือ การตัดสิ นใจทีจ่ ะปฏิบัตงิ าน (Decisions to
Produce) การตัดสิ นใจทีจ่ ะมีส่วนร่ วมในองค์ การ (Decisions to Participate in the
System)
การตัดสิ นใจทีจ่ ะปฏิบัตงิ านเป็ นผลของ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างเจตคติของแต่
ละบุคคลและความต้ องการขององค์ การ การวิเคราะห์ เรื่องแรงจูงใจได้ กลายเป็ น
ประเด็นสาคัญ การตัดสิ นใจทีจ่ ะมีส่วนร่ วมในองค์ การนาไปสู่ ประเด็นความเกีย่ วข้ อง
ระหว่ างรางวัลหรือผลตอบแทนที่องค์ การจะให้ เปรียบเทียบกับสิ่ งที่องค์ การต้ องการ
จากสมาชิก
การตัดสิ นใจมีส่วนร่ วมในองค์ การมุ่งพิจารณาเหตุผลว่ าทาไมบุคคลหนึ่ง ๆ
ตัดสิ นใจอยู่กบั องค์ การหรือลาออก March และ Simon มีความเห็นว่ าการตัดสิ นใจ
เป็ นตัวแปรภายในองค์ การทีข่ นึ้ อยู่กบั งาน (Jobs) ความคาดหวังและแรงจูงใจของ
แต่ ละบุคคล (Individual Expectations and Motivations) และโครงสร้ างองค์ การ
(Organizational Structure)
นักวิชาการกลุ่มทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ คือ Marschak มองกระบวนการ
ตัดสิ นใจในฐานะเป็ นตัวแปรอิสระ โดยมีตวั แปรตาม คือความอยู่รอดขององค์ การ (The
survival of the Organization) กระบวนการตัดสิ นใจจึงเป็ นตัวกาหนดความอยู่รอดของ
องค์ การ เป้ าหมายขององค์ การ (The Goals of Organization) คือ การเจริญเติบโต
(Growth) ความมัน่ คง (Stability) และ การปฏิสัมพันธ์ (Interaction) โดยเป้ าหมาย
ต่ างๆ สามารถประยุกต์ ใช้ ได้ กบั องค์ การทุกประเภท
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ สนใจศึกษา:
1. องค์ ประกอบย่ อย (Parts) ซึ่งหมายถึงการสนใจศึกษาปัจเจก
บุคคล (Individuals) ที่ประกอบกันขึน้ เป็ นระบบ รวมถึงศึกษาการ
เคลือ่ นไหวของปัจเจกบุคคลทีเ่ ข้ าสู่ ระบบและออกจากระบบ
2. การปฏิสัมพันธ์ ของบุคคลกับสภาพแวดล้อมของระบบ
3. การปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลในระบบ
4. ความเจริญเติบโตและปัญหาความมั่นคงของระบบ
ลักษณะของทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่
Hicks ได้ สรุปลักษณะของทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ ไว้ 9 ประการ
1. เป็ นแนวความคิดเชิงระบบ (Systems Viewpoint) คือพิจารณา
องค์ การในฐานะเป็ นระบบ ๆ หนึ่ง
2. ตระหนักว่ าองค์ ประกอบต่ าง ๆ ขององค์ การต้ องมีการเปลีย่ นแปลง
(Dynamics) อยู่เสมอ เพือ่ ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ หรือสภาพ
แวดล้อมภายนอก
3. องค์ การมีหลายระดับและหลากหลายมิติ (Multilevel and
Multidimensional) คือองค์ การมีหลายระดับ ตั้งแต่ ระดับท้ องถิ่น
จนถึง
4. ระบบจูงใจมีหลากหลายวิธี (Multimotivated) คือสามารถจูงใจได้ หลายทาง
ทั้งทาง
เศรษฐกิจ ทางสั งคม และความสาเร็จของงาน
5. มีความเป็ นไปได้ หลายทาง (Probabilistic) คือไม่ มีความแน่ นอนตายตัว
6. เป็ น สหวิทยาการ (Multidisciplinary) ประยุกต์ องค์ ความรู้ มาจากหลาย
สาขาวิชา
เพือ่ มาใช้ อธิบายองค์ การ จึงทาให้ เกิดมุมมองและแนวคิดทีม่ ตี ่อปัญหาของ
องค์ การที่
แตกต่ างหลากหลายทัศนะ
7. เป็ นการศึกษาเชิงประจักษ์ หรือเชิงพรรณนา (Empirical or descriptive) คือ
8. ประกอบด้ วยตัวแปรหรือปัจจัยหลายปัจจัย (Multivariable) คือมี
ทั้งปัจจัยเชิงโครงสร้ าง เชิงมนุษย์ เชิงพฤติกรรม เชิงระบบ และ
อืน่ ๆ
9. มีความสามารถในการปรับตัวและเปลีย่ นแปลงไปตามปัจจัยสภาพ
แวดล้อมที่เปลีย่ นแปลงไป (Adaptive or Situational) คือพิจารณา
ว่ าองค์ การเสมือนสิ่ งมีชีวติ ที่สามารถปรับตัวได้ สอดคล้องกับ
สภาพการณ์ ต่างๆ เพือ่ ให้ สามรถดารงชีวติ อยู่ได้
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ พจิ ารณาว่ าองค์ ประกอบประกอบด้ วย
องค์ ประกอบทั้งหมด (The Whole) และองค์ ประกอบย่ อย ( Parts) ที่
ประกอบกันขึน้ เป็ นระบบ ทฤษฎีนีจ้ ึงเชื่อมโยงองค์ประกอบทั่วไป และ
องค์ ประกอบเฉพาะเข้ าด้ วยกันโดยใช้ กรอบทฤษฎีระบบทัว่ ไปเป็ นพืน้ ฐาน
ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ ประกอบด้ วยทฤษฎีสาคัญคือทฤษฎีระบบ
( The Systems Approach ) และทฤษฎีการจัดการตามสถานการณ์
(Contingency Approach)
การจัดการเชิงระบบ (The Systems Approach ) มีฐานคติว่า การ
จัดการที่มีลกั ษณะต่ อเนื่องกันและสั มพันธ์ ซึ่งกันและกัน รวมทั้งต้ องพึง่ พา
อาศัยซึ่งกันและกันของหน่ วยงานย่ อยต่ างๆกับส่ วนรวมทั้งหมด ความ
สาเร็จในการจัดการขององค์ การขึน้ อยู่กบั การจัดการของทุกระบบมิใช่
ระบบหนึ่งระบบใด ความสาเร็จในการจัดการขององค์การถือว่ าเป็ นระบบ
รวม ( Total System ) ต้ องอาศัยความสาเร็จของระบบย่ อยทุกระบบ
เพราะแต่ ละระบบเกีย่ วข้ องผูกพันกับระบบใหม่ คอื องค์ การ
ระบบในสภาพทีเ่ ป็ นทฤษฎี เรียกว่ า ทฤษฎีระบบ ( Systems Theory ) เป็ น
สาขาวิชาทีเ่ กิดขึน้ ช่ วงปลายทศวรรษที่ 20
ทฤษฎีระบบเป็ นสาขาวิชาทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ โดยอาศัยแนวความคิดหลายสาขา
โดยนาแนวคิดจากหลายสาขาวิชามาประยุกต์ ผสมผสานสร้ างเป็ นทฤษฎีระบบขึน้ มา
ระบบ หมายถึงส่ วนประกอบต่ างๆ ซึ่งประกอบกันขึน้ มาเป็ นหนึ่งเดียวมี
ความสั มพันธ์ กนั ในทางหนึ่งทางใดรวมกลุ่มอยู่ด้วยกัน กระทาการเพือ่ ความสาเร็จ
ตามทีต่ ้ องการ และการเคลือ่ นไหวในส่ วนหนึ่งจะมีปฏิกริ ิยา
กระทบต่ อส่ วนอืน่ ๆด้ วย ส่ วนประกอบแต่ ละส่ วนก็เป็ นระบบย่อยในตัว
ของมันเอง
คณ
ุ ลักษณะของระบบประกอบด้ วย
1. ส่ วนต่ างๆของระบบจะอยู่ในสถานะทีเ่ คลือ่ นไหวได้ โดยเหตุทสี่ ิ่ งต่ างๆ
ทีม่ ีอยู่ในโลกนี้ ไม่ ว่าจะเป็ นสิ่ งทีม่ ีอยู่ตามธรรมชาติหรือสิ่ งทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้
แต่ ละสิ่ งต่ างก็มีคุณสมบัติและกาลังความสามารถของมัน
2. การเคลือ่ นไหวหรือแสดงออกของส่ วนต่ างๆ จะมีปฏิกริ ิยากระทบต่ อกัน
เสมอ เมื่อสิ่ งต่ างๆเหล่านีม้ ีลกั ษณะรวมตัวอยู่ด้วยกัน การเคลือ่ นไหวหรือการ
แสดงออกของแต่ ละส่ วน จึงก่อให้ เกิดปฏิกริ ิยากระทบ และตอบโต้ ซึ่งกันและ
กัน
3. ในระบบหนึ่งๆ จะประกอบด้ วยระบบย่ อยต่ างๆ( Subsystems ) และ
ภายในระบบย่ อยอาจประกอบด้ วยระบบย่ อยลงไปอีกได้
4. การเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้ ณ ส่ วนใดส่ วนหนึ่งของระบบ ย่ อมทาให้ มี
ผลกระทบทีต่ ่ อเนื่องกันเป็ นลูกโซ่ (Chain of Effects) และจาเป็ นต้ อง
เปลีย่ นแปลงหรือปรับปรุงส่ วนอืน่ ของระบบด้ วยความสมดุล การเปลีย่ น
แปลงของระบบย่ อยอันใดอันหนึ่ง ย่ อมสามารถทาให้ กระทบกระเทือนถึง
ระบบใหญ่ ได้
วิธีการศึกษาองค์ การในลักษณะระบบ อาจแยกพิจารณาได้ เป็ น 2 แนว
ทาง คือ การศึกษาองค์ การในลักษณะระบบปิ ด (Closed Systems Strategy)
และการศึกษาองค์ การในลักษณะระบบเปิ ด (Open Systems Strategy)
การศึกษาองค์ การในลักษณะระบบปิ ด เป็ นการศึกษาทีต่ ้งั อยู่บนพืน้ ฐาน
ของศาสตร์ ทางกายภาพ ศึกษาถึงการตัดสิ นใจทีจ่ ะแก้ไขปัญหาภายในตัว
ของระบบเอง การแก้ไขและการตัดสิ นปัญหาเป็ นไปตามเหตุผล ซึ่งเหตุผล
ดังกล่าวตั้งอยู่บนพืน้ ฐานของกฎเกณฑ์ และระเบียบทีก่ าหนดไว้
ระบบเปิ ดมิได้ คานึงแต่ ด้านความสั มพันธ์ กบั สภาพแวดล้ อม แต่
ระบบเปิ ดยังคานึงถึงความสั มพันธ์ ระหว่ างปัจจัยต่ างๆ ทีอ่ ยู่ภายในองค์ การ
ระบบเปิ ดปรับตัวเองให้ เข้ ากับสภาพแวดล้อมตลอดเวลา โดยการเปลี่ยน
แปลงโครงสร้ าง และกระบวนการของปัจจัยต่ างๆ ภายในระบบเปิ ดจะมี
ลักษณะทีม่ ีความหมายกว้ างกว่ าและสมบูรณ์ กว่ าระบบปิ ด
คุณลักษณะของระบบเปิ ดจะขยายความสนใจไปถึงระบบภายนอก
ระบบเปิ ดยังคงถือว่ าองค์ การธุรกิจเป็ นระบบๆหนึ่ง และองค์ การนีเ้ อง
จะอยู่ภายในระบบ ซึ่งเป็ นสภาพแวดล้อมภายนอกองค์ การอีกทีหนึ่ง
ระบบทีอ่ ยู่ภายนอกองค์ การคือ กิจกรรมของสิ่ งต่ าง ๆ ทีอ่ ยู่ในระบบ
ของสภาพแวดล้อม (Environmental System) และมีส่วนสั มพันธ์ กบั ระบบของ
องค์ การอย่ างไม่ มีทางหลีกเลีย่ ง
เหตุของการนาเอาระบบสภาพแวดล้ อมภายนอกมาสั มพันธ์ กบั ระบบ
ขององค์ การ ก็เพราะองค์ การเป็ นระบบอิสระหนึ่งที่ต้ังขึน้ และจะมีความเกีย่ วพัน
กันอยู่เสมอ
การกระทาใด ๆ โดยองค์ การก็ย่อมสามารถส่ งผลกระทบต่ อส่ วนที่อยู่
ภายนอกองค์ การหรือระบบใหญ่ ด้วยเสมอและหากสภาพแวดล้อมภายนอก
เปลีย่ นแปลงไป ก็ย่อมส่ งต่ อผลองค์ การได้
Kenneth E. Boulding ได้ เสนอทฤษฎีระบบทัว่ ไป (General
System Theory) เพือ่ เป็ นกรอบทัว่ ไปทีใ่ ช้ ในการศึกษาระบบได้ ทุกระบบ
โดยแบ่ งระบบได้ เป็ น 9 ระดับดังนี้
1. โครงสร้ างตายตัว (The Static Structure) หรือกรอบเค้ าโครง
(Framework) เป็ นระบบทีม่ ีความซับซ้ อนน้ อยทีส่ ุ ด ประกอบด้ วย
โครงสร้ างทีแ่ น่ นอนตายตัว ได้ แก่ กายวิภาคของคนและสั ตว์ (The
Anatomy of System)
2. ระบบทีเ่ ป็ นพลวัตรอย่ างง่ าย (The Simple Dynamic System)
เป็ นระบบทีเ่ คลือ่ นไหวอย่ างง่ าย เช่ น กลไกนาฬิ กา
3. ระบบไซเบอร์ เนติก (The Cybernetic System) เป็ นระบบทีด่ าเนิน
ไปเพือ่ รักษาดุลยภาพสามารถควบคุมตนเองได้ (A Process of SelfRegulation)
4. ระบบเปิ ด (The Open System) เป็ นระบบทีส่ ามารถดารงรักษา
ตนเองได้ เช่ น เซลของสิ่ งมีชีวติ
5. ระบบประสานกันทางพันธุกรรม (The Genetic-Societal System)
เป็ นลักษณะการแบ่ งงานกันทาของเซล
6. ระบบของสั ตว์ (Animal Systems) เป็ นการเคลือ่ นไหวที่แสดงออก
ทางพฤติกรรมเพือ่ บรรลุเป้าหมาย
7. ระบบมนุษย์ (Human Systems) เป็ นการแปลสั ญลักษณ์ และการ
สื่ อสารแนวความคิดต่ าง ๆ
8. ระบบสั งคม (Social Systems) เป็ นระบบทีแ่ สดงถึงองค์ การทาง
สั งคมของมนุษย์
9 . ระบบก้าวพ้นโลก (Transcendental Systems) เป็ นระบบสมบูรณ์
สุ ดยอด เช่ น อาณาจักรพระเจ้ า นิพพาน
ส่วนประกอบของระบบ
ทฤษฎีระบบ พิจารณาองค์ การในฐานะเป็ นระบบๆ หนึ่งทีร่ วมของ
กิจกรรมต่ าง ๆ ในการเริ่มต้ นให้ ระบบเริ่มดาเนินการ องค์ การต้ องอาศัย
ปัจจัยนาเข้ า กระบวนการ วิธีการ ข้ อมูลย้ อนกลับ เพือ่ ก่อให้ เกิด
ผลงานตามจุดมุ่งหมายทีก่ าหนดไว้ องค์ การอยู่ท่ามกลางระบบอืน่ ๆ ของ
สั งคม อยู่ภายใต้ อทิ ธิพลของสิ่ งแวดล้อมมีส่วนประกอบ 5 ส่ วนคือ
1. ปัจจัยนาเข้ าสู่ ระบบ (Input) คือทรัพยากรที่ใช้ ในการบริหารงานของ
องค์ การ ได้ แก่ คน เงินทุน วัสดุ เทคโนโลยี สารสนเทศ
2. กระบวนการเปลีย่ นปัจจัยนาเข้ าให้ เป็ นผลลัพธ์ (Transformation
Process) คือ วิธีการทีน่ าปัจจัยนาเข้ าสู่ ระบบโดยดาเนินการเป็ นขั้นตอน
เพือ่ ให้ ได้ มาซึ่งสิ่ งทีอ่ อกจากระบบ กระบวนการผลิต กระบวนการจัดการ
ซึ่งแบ่ งออกเป็ นหลายขั้นตอน เช่ น การวางแผน การจัดการทรัพยากร
มนุษย์
3. สิ่ งทีอ่ อกจากระบบ (Output) คือเป้าหมายความต้ องการขององค์ การ
อาจจะอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ การบริการ กาไร ความพึงพอใจหรือ
ผลตอบแทนต่ างๆ
4. ข้ อมูลย้ อนกลับ (Feedback) เป็ นข้ อมูลทีก่ ลับมาสู่ กระบวนการ
เป็ นตัวช่ วยปรับให้ สิ่งทีอ่ อกจากระบบได้ มาตรฐานเป็ นทีน่ ่ าพึงพอใจ
ข้ อมูลต่ างๆ มีความสั มพันธ์ ต่อกัน จะถูกส่ งเข้ าย้ อนกลับเข้ าสู้ ระบบเพือ่
การปรับปรุงสิ่ งนาเข้ าสู่ ระบบและกระบวนการต่ างๆ ให้ สอดคล้ องต่ อกัน
อย่ างมีประสิ ทธิผลและประสิ ทธิภาพ ข้ อมูลย้ อนกลับ ทาให้ ระบบและ
กระบวนการของการดาเนินการเป็ นไปอย่ างมีประสิ ทธิภาพ และมี
สมรรถภาพสู งตามทีต่ ้ องการ ช่ วยให้ ข้อมูลและแสดงการเปรียบเทียบให้ รู้
เห็นสิ่ งทีไ่ ด้ ปฏิบัติเพือ่ เป็ นความรู้ในการแก้ไขหรือระมัดระวังมิให้ มี
เหตุการณ์ เกิดขึน้ อีก และการควบคุม
5. สภาพแวดล้อม (Environment) อาจแบ่ งเป็ นสิ่ งแวดล้อมทั่วไป
(General Environment) เป็ นปัจจัยสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่ ได้ ส่งผลกระทบ
โดยตรงหรือไม่ ได้ ส่งผลกระทบต่ อการดาเนินกิจกรรมประจาวันของ
องค์ การ ได้ แก่ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สั งคม
เทคโนโลยี สิ่ งแวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้ องกับงาน (Task Environment) เป็ น
ปัจจัย สภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบโดยตรงหรือส่ งผลกระทบต่ อการ
ดาเนินกิจกรรมประจาวันขององค์ การ ได้ แก่ ลูกค้ า คู่แข่ งขัน ผู้จัดหา
ปัจจัยการผลิต (Suppliers) ตลาดแรงงาน (Labor Market)
ประโยชน์ ของวิธีการแบบระบบ วิธีการแบบระบบช่ วยให้ มี
กรอบของการพิจารณาทีร่ ัดกุม และครอบคลุมถึงปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ องต่ าง ๆ
อย่ างทัว่ ถึง
แนวคิดการจัดการตามสถานการณ์
Fred E. Fiedler ได้ เสนอแนวความคิดการจัดการตามสถานการณ์
(Situational Management Theory) หรือทฤษฎีอุบัติการณ์
(Contingency Theory) ในปี 1967 ซึ่งถือเป็ นทฤษฎีการจัดการทีข่ ึน้ อยู่
กับสภาพข้ อเท็จจริงด้ วยแนวคิดทีว่ ่ าการเลือกทางออกทีจ่ ะไปสู่ การ
แก้ปัญหาทางการจัดการว่ าไม่ มีวธิ ีใดทีด่ ที สี่ ุ ด สถานการณ์ จะเป็ นตัวกาหนด
ว่ าควรจะใช้ การจัดการแบบใดในสภาวะการณ์ นั้นๆ
การบริหารเชิงสถานการณ์ ถือว่ าการบริหารจะดีหรือไม่ ขนึ้ อยู่กบั
สถานการณ์ เป็ นตัวกาหนดการตัดสิ นใจ และรูปแบบการจัดการทีเ่ หมาะสม
ผู้บริหารต้ องพยายามวิเคราะห์ สถานการณ์ ให้ ดีทสี่ ุ ด โดยผสมผสานแนวคิด
ระหว่ างระบบปิ ดและระบบเปิ ด และยอมรับหลักการของทฤษฎีระบบว่ า
ทุกส่ วนของระบบจะต้ องสั มพันธ์ กนั และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
การบริหารเชิงสถานการณ์ จะคานึงถึงสิ่ งแวดล้อมและความต้ องการของ
บุคคลในหน่ วยงานเป็ นหลักมากกว่ าทีจ่ ะแสวงหาวิธีการอันดีเลิศมาใช้ ใน
การทางาน
ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์ Contingency Theory มีฐานคติว่า
องค์ การทีเ่ หมาะสมทีส่ ุ ดควรจะเป็ นองค์ การทีม่ ีโครงสร้ าง มีระบบทีส่ อดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมและสภาพความเป็ นจริง เป็ นทฤษฎีทปี่ ฏิเสธแนวความคิด วิธีการทีด่ ี
ทีส่ ุ ด (One Best Way) ของ Frederick Winslow Taylor
เปิ ดโอกาสให้ สามรถรับรู้ ถึงปัญหาทีย่ ่ งุ ยากสั บสนต่ างๆ ทีม่ กั จะมีอยู่ใน
องค์ การสมัยใหม่ วิธีการแก้ไขทีด่ ี อาศัยการจัดแบบความสั มพันธ์ เพื่อการวิเคราะห์
และสามารถดาเนินการกาหนดโครงรู ปของเรื่องทีจ่ ะวิเคราะห์ ภายในขอบเขตของ
ระบบย่อยต่ าง ๆ ได้ อย่างชัดเจนทาให้ เกิดผลดีในทางปฏิบัติตามสภาพที่เป็ นจริง
และถูกต้ องตามสถานการณ์
วิธีการจัดการตามสถานการณ์ เป็ นวิธีทสี่ ามารถให้ คาตอบทีส่ ุ ด สาหรับ
ทุกสถานการณ์ หรือทุกเหตุการณ์
Stephen P. Robbins ได้ ชี้ให้ เห็นถึงจุดเด่ นทีเ่ ป็ นข้ อดีของวิธีการจัดการ
ตามสถานการณ์ ว่า ลักษณะทีต่ รงข้ ามกับการมองเป็ นระบบจะมองเห็นได้
เพียงผิวเผิน การใช้ กรอบการวิเคราะห์ ตามสถานการณ์ จะช่ วยให้ สามารถ
พิจารณาถึงปัจจัยผันแปรทั้งทีม่ ีอยู่ภายในและภายนอก ซึ่งจะมีผลต่ อการ
จัดการของผู้บริหารและต่ อผลงานขององค์ การ คุณค่ าของวิธีการจัดการ
ตามสถานการณ์ ทเี่ สนอแนวทางทีช่ ัดเจนให้ กบั ผู้บริหาร จะเป็ นประโยชน์
อย่ างมาก