e-Budgeting คลิกที่นี่ - บริหารการศึกษา รุ่น 15
Download
Report
Transcript e-Budgeting คลิกที่นี่ - บริหารการศึกษา รุ่น 15
ชื่อ – สกุล
นายธีราวุธ จูเปี ย
นายสมโภชน์ เกื้อกูล
นางสาวกาญจนา จันนันต๊ะ
นางสาวชมพูนุท ศรีฟ้า
นางสาวสุนิศา เดียวสกุล
นางพรรณปพร นนทธิ
นางสาวปรียาภรณ์ ขบวน
นายเขมกร เกิดผล
นางสุมาลี เขาดี
เลขที่
3
22
23
24
25
44
45
46
47
กระบวนทัศน์ ใหม่
ในการจัดงบประมาณ
กระบวนทัศน์ ใหม่ ในการจัดการงบประมาณ
กระบวนทัศน์ (Paradigm) ภาษากรี ก โดย para แปลว่ า beside
ส่ วน digm แปลว่ า ทฤษฎี คือ ชุดแนวความคิด หรือ มโนทัศน์
(Concepts) ค่ านิยม (Values) ความเข้ าใจรับรู้ (Perceptions) และ
การปฏิบัติ (Practice) ทีม่ ีร่วมกันของคนกลุ่ม ชุมชน เป็ นแบบแผน
ของทัศนะอย่ างเฉพาะ แบบหนึ่ง
ความจริ ง (Reality) ซึ่ งเป็ นฐานของวิถี เพือ
่ การจัดการตนเอง
ชุมชนนั้น ทาหน้ าที2่ ประการ
1ทาหน้ าที่ วางหรื อ กาหนดกรอบ
2 ทาหน้ าที่บอกเราว่ าควรจะประพฤติปฏิบัตอ
ิ ย่ างไร ภายในกรอบ
เพือ่ ให้ เกิดความสาเร็จ รวมไปถึง เราวัดความสาเร็จนั้นอย่ างไร
ความหมาย
คือ กระบวนคิดวิเคราะห์ วิธีคดิ วิธีปฏิบัติ
แนวการดาเนินชีวติ ทบทวน สอดคล้ องกับยุค และสถานการณ์
ความเชื่อแตกต่ างตามเพศ วัย สิ่ งแวดล้ อม การศึกษาอบรม
การเปลีย่ นจะต้ องมีความเข้ าใจกระบวนทัศน์ เก่ าทีม่ ีอยู่ และ
กระบวนทัศน์ ที่จะรับเข้ ามาแทน ตัดสิ นใจเลือกว่ าเอา ปฏิเสธไม่ มี
ไม่ ได้
กระบวนทัศน์ ไม่ ใช่ สมรรถนะตัดสิ นใจ สมรรถนะตัดสิ นใจ(faculty
of decision) คือ เจตจานง (The will) กระบวนทัศน์ เป็ นสมรรถนะ
เข้ าใจ (understanding) และเชิญชวนให้ เจตจานงตัดสิ นใจ
1.5 ยึดความสามารถและผลงาน
1.6 พัฒนารูปแบบการจัดทากฎหมาย ให้
รวดเร็วเข้ าใจง่าย
1.7 ใช้ ได้ นานไม่ล้าสมัย
1.8 ความสามารถนิยม มากกว่า อานาจนิยม
1.9 เปลี่ยนวัฒนธรรมค่านิยมแบบเดิมๆ
2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการปฏิรูประบบราชการ
2.1 ยกระดับความสามารถและสร้ างประสิทธิภาพ
โดยรวม
2.2 มีระบบการทางานและบุคลากรมีคณ
ุ ภาพ
2.3 สร้ างความเชื่อมัน่ ของประชาชนและสังคมต่อ
ระบบราชการ
2.4 สร้ างระบบราชการให้ ตอบสนองต่อความต้ องการที่
หลากหลายของประชาชน
3. ลักษณะของการปฏิรูปราชการ
3.1 มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
3.2 ซื่อตรง โปร่งใส
3.3 มีความรับผิดชอบ
3.4 แน่นอนคงเส้ นคงวา
3.5 มองการณ์ไกล ทันสมัย ทันโลก
3.6 มีความมัน่ คง
3.7 เข้ าใจง่ายและเป็ นเพื่อนประชาชน แบ่งหน้ าที่
ชัดเจน
แนวคิดในการปรับปรุงวิธีการงบประมาณ
1. ปั ญหา
2. หลักการ
3. วิธีการ
3.1 ลักษณะงบประมาณ
3.2 การจัดทางบประมาณ
3.3 การบริหารงบประมาณ
4. มาตรการใหม่
4.1 คณะกรรมการนโยบายรัฐบาล
4.2 บทบาทฝ่ ายนิตบิ ัญญัติ
4.3 บทบาทของคณะรัฐมนตรี
4.4 ข้ อตกลง
4.5 ระบบติดตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
4.6 อานาจในการปรับเปลี่ยนงบประมาณ
4.7 การให้ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นรับ
งบประมาณได้ โดยตรง
กระบวนทัศน์ ใหม่ ในการจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ(PEM)
1.องค์ ประกอบสาคัญคือ การกระจายอานาจการ
บริหารงาน ความรับผิดชอบ ที่ชัดเจน และความ
โปร่ งใสทางการคลัง
2. วิธีดาเนินงานเพื่อให้ บรรลุผลสาเร็จ
ทบทวนปรับปรุง กฏระเบียบ ข้ อบังคับ
กาหนดบาทบาท
หน้ าที่
ความรับผิดชอบ
การบริหารจัดการ
ทรัพยากรภาครัฐ
การพัฒนาเทคนิค กลไกต่างๆ
ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ
หลักการ วิธีการ และระบบงบประมาณ
1. หลักและวิธีการงบประมาณ
2. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตาม
ยุทธศาสตร์
E – Budgeting
-กระบวนการบริหาร จัดการข้ อมูลทางด้ านการเงิน
การคลัง อัตโนมัตเิ พื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ รัฐบาล
-การจัดการงบประมาณแบบอัตโนมัติ
-ข้ อมูลงบประมาณสารสนเทศที่สาคัญจะปรากฏอยู่ใน
Website เพื่อการเข้ าถึงของสาธารณะ
-การมีส่วนร่ วมและให้ ข้อคิดเห็นของสาธารณะในการ
กาหนดนโยบายและจัดการงบประมาณ
โครงสร้ างระบบงบประมาณแบบใหม่
Budgeting Information System (BIS)
ระบบ BIS ในปั จจุบนั
- การวางแผนงบประมาณ
- การจัดตังงบประมาณ
้
- การบริหารงบประมาณ
- การติดตามประเมินผล
การใช้ ประโยชน์ BIS ในปั จจุบัน
หน่วยงาน
มิติยทุ ธศาสตร์
มุมมองมิตติ ่ างๆ
ลักษณะเศรษฐกิจ
ลักษณะงาน
โครงสร้ างแผนงาน
การจัดทากรอบงบประมาณรายจ่ ายล่ วงหน้ า
ระยะปานกลาง(MTEF)
1. ลักษณะสาคัญของการจัดทากรอบ
งบประมาณรายจ่ ายระยะปานกลาง
- ความถูกต้ อง
- ประหยัด
- ทันเวลา
2. ประโยชน์
- รักษาวินัยทางการคลัง
- เป็ นกรอบในการตัดสินใจของรัฐบาล
- ส่ งเสริมระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงาน
- ลดระยะเวลาของการจัดทากรอบงบประมาณ
รายจ่ ายประจาปี
- เพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนของหน่ วยงาน
ระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามและประเมินผล
วัตถุประสงค์
1. เป็ นเครื่องมือในการติดตามประเมินผล
2. เพิ่มประสิทธิภาพในการติดตามประเมินผล
ประโยชน์
1. เป็ นเครื่องมือในการรายงานแผน/ผลการ
ปฏิบัตงิ าน
2. ใช้ ในการวางแผน
3. ใช้ จัดสรรทรัพยากร
4. ใช้ ในการประเมินผลผลิต
การบริหารจัดการทรั พยากรในภาครั ฐ
ความท้ าทายการบริหารทรัพยากรในปั จจุบัน
New Challenges For Resource Management
1. Change: ภาวะการณ์ เปลี่ยนแปลงของ
สถานการณ์ และสภาพแวดล้ อมขององค์ การ
2. Competitive Advantage: ภาวะการณ์ แข่ งขันเพื่อ
แย่ งชิงความได้ เปรียบ
3. Crisis: ภาวะวิกฤติ ในเหตุการณ์ สถานการณ์
และสภาวะของโลก
4. People Focus: ประชาชนคือพระเจ้ า ต้ อง
สร้ างความพึงพอใจ และความผูกพันกับ
ประชาชน
5. Globalization: โลกาภิวัตน์ ทาให้ โลกการ
ทางานเปลี่ยนแปลงไป
6. New Public Service: ระบบบริการสาธารณะ
แนวใหม่ ให้ ความสาคัญกับประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลของการให้ การบริการ
ข้ อพึงปฏิบัติ รัฐบาลจึงจาเป็ นต้ องพัฒนาให้
ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการ
บริหารทรัพยากรของรัฐบาล ให้ ได้ คนที่ดี มี
คุณภาพ และรักษาไว้ ให้ นานๆ
กระบวนการ/เทคนิค ในการบริหารจัดการ
โพสคอร์ บ POSDCoRB ของ ลูเทอร์ กูลิค (Luther Gulick)
และ ลินดอล เออร์ วิค (Lyndall Urwick)
การวางแผน (Planning)
การจัดองค์ การ (Organizing)
การบริหารงานบุคคล (Staffing)
การอานวยการ (Directing)
การประสานงาน (Coordinating)
การรายงาน (Reporting)
และการงบประมาณ (Budgeting)
พอคค์ (POCCC) ของ เฮ็นรี ฟาโยล (Henry Fayol)
การวางแผน (Planning)
การจัดองค์ การ (Organizing)
การบังคับการ (Commanding)
การประสานงาน (Coordinating)
และการควบคุมงาน (Controlling)
ทรัพยากรสาธารณะ (Public Resource)
เป็ นปั จจัยพื ้นฐานหรื อส่วนประกอบที่ทาให้ กิจกรรมของ
องค์กรสาธารณะ ดาเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ขององค์กร
ทรัพยากรทางการบริ หารสาธารณะ มีตวั หลักๆอยู่ คือ 4
M’s หรื อ M4 คือ คน (Men), เงิน (Money), วัสดุสงิ่ ของ
(Material) และวิธีการจัดการ (Management)
จาแนกประเภทของทรั พยากรสาธารณะ ได้ เป็ น 2 รู ปแบบ
ดังนี ้
รู ปแบบที่หนึ่ง แบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ทรัพยากรที่สามารถจับต้ องได้ ( Tangible Resource )
2. ทรัพยากรที่สามารถจับต้ องไม่ได้ (Intangible Resource)
รู ปแบบที่สอง แบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ทรัพยากรบุคคล หรื อทรัพยากรมนุษย์
2. ทรัพยากรด้ านเทคโนโลยี / เครื่ องจักร/
หรื อสิ่งอานวยความสะดวก /เงินทุน และอื่นๆ
สรุ ป ทรั พยากรทางการบริหารมี 8 M
1. Man คน หมายถึงคนทุกคนที่อยูใ่ นองค์การ
2. Money เงิน หมายถึง งบประมาณ เงินคงคลัง เงินกู้ ดอกเบี ้ย ฯลฯ
3. Material วัตถุดิบ หมายถึงสิ่งของ และวัสดุที่จาเป็ นในการผลิต
4. Management/Method วิธีการจัดการ หมายถึงวิธีการบริ หาร
จัดการในองค์การ
5. Machine เครื่ องจักร เครื่ องมือ เครื่ องใช้
6. Minute เวลา
7. Mis (Management Information System) ระบบสารสนเทศองค์การ
8. Market ตลาด
Money ทรั พยากรทางด้ านเงินทุน
ในการบริหารเพื่อบริการประชาชน
ความหมายของทรัพยากรด้ านเงินทุน/
การคลังภาครัฐ
ทรัพยากรการคลังภาครัฐ (Public Finance) หมายถึง การ
คลังในส่วนของรัฐบาล หรื อการคลังในกิจกรรมที่รัฐบาลเป็ น
เจ้ าของ การคลังภาครัฐ หรื อการคลังของรัฐบาลเป็ นเรื่ อง
เกี่ยวกับกิจกรรมทางการคลัง การเงินต่างๆ ของรัฐบาล
การคลังภาครั ฐ ครอบคลุมถึงปั ญหาทางเศรษฐกิจของ
ประเทศแทบทุกประการ โดยอาจแบ่ งปั ญหาได้ เป็ น
4 ประการใหญ่ ๆ คือ
1) ปั ญหาการจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocation)
2) ปั ญหาการกระจายรายได้ ประชาชาติ (Income Distribution)
3) ปั ญหาการทาให้ คนมีงานทา (Full Employment)
4) ปั ญหาเสถียรภาพของระดับราคาและการพัฒนาเศรษฐกิจ
(Price-Level Stability and Economic Growth)
การคลัง เป็ นเรื่ องที่มีเนือ้ หาเกี่ยวกับการเข้ าไปมีบทบาท
ในทางเศรษฐกิจของรั ฐบาลในด้ านต่ างๆ รวม 4 ด้ าน คือ
1) การจัดสรรทรัพยากร (The Allocation Function)
2) การกระจายรายได้ ประชาชาติ (The Distribution Function)
3) การรักษาเสถียรภาพและความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ
(The Stabilization Function)
4) การประสานงบประมาณ
(Coordination of Budget Functions)
“สิ่งที่ควรจะเป็ น (What to be)”
1) กิจการของรัฐควรมีขอบข่ายครอบคลุมถึงอะไรบ้ าง
2) บริ การสาธารณะประเภทใดควรจะอยูใ่ นความดูแลรับผิดชอบจัดให้
บริ การของส่วนกลาง หรื อส่วนท้ องถิ่นจึงจะถูกต้ อง
3) ระบบภาษีอากรที่กาลังใช้ อยูเ่ ป็ นอุปสรรคขัดขวางการเจริ ญเติบโต
ของเศรษฐกิจหรื อไม่
4) เหตุใดท้ องถิ่นจึงประสบปั ญหาในการบริ หารงานมากมาย
และท้ องถิ่นควรจะหาทางออกของท้ องถิ่นเองอย่างไร เพื่อให้
ส่วนกลางเข้ ามาแทรกแซงได้ น้อยที่สดุ
5) รัฐบาลจะมีวิธการอย่างไรในการรับมือกับวงจรธุรกิจ เมื่อเกิด
เหตุการณ์ที่ไม่ได้ คาดคิดมาก่อนอันสืบเนื่องจากความพลาด
พลังของมนุ
้
ษย์ หรื อเมื่อมีการประเมินสถานการณ์ทาง
เศรษฐกิจผิดพลาด
6) เหตุใดจึงต้ องกังวลกับการเป็ นหนี ้ของประเทศชาติ
ความสาคัญของการคลังภาครัฐ
รัฐบาลก็ทาหน้ าที่เปรียบเสมือน
หัวใจ บ้ านเมืองเปรียบเสมือน
ร่ างกายมนุษย์ ท่ มี ีชีวิตจิตใจ
ทรัพยากรเงินทุน/การคลังภาครัฐ
สามารถแบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ
เงินทุนคงที่ (Fixed Capital)
เงินทุนหมุนเวียน (Working Capital)
วัตถุประสงค์ ของการจัดการทรั พยากรเงินทุน
1. เพื่อพัฒนาการบริ หารจัดการด้ านงบประมาณของรัฐบาล
อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส่ตรวจสอบได้
2. เพื่อสร้ างกลไกที่มีประสิทธิภาพในการจัดหางบประมาณ
การใช้ จ่ายงบประมาณโดยจัดสรรงบประมาณให้ สอดคล้ อง
กับแผนกลยุทธ์
3. เพื่อให้ บริ การจัดการด้ านงบประมาณมีเป้าหมายที่ชดั เจน
และปฏิบตั ิได้
4. มีการติดตามผล และนาไปปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การกาหนดยุทธศาสตร์ และการมุ่งเน้ นการจัดการ
การพัฒนางบประมาณสู่ e-Budgeting
“ระบบบริหารการคลังภาครั ฐด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
(Government Fiscal Management Information System
: GFMIS)”
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้ นผลงานตาม
ยุทธศาสตร์ จะครอบคลุมการบูรณาการทัง้ 3 มิติ คือ
1. มิติงานตามยุทธศาสตร์ ของกระทรวงและหน่วยงาน
(Function)
2. มิติงานตามยุทธศาสตร์ เฉพาะรัฐบาล (Agenda)
3. มิติงานตามยุทธศาสตร์ พื ้นที่ (Area)
การบริหารจัดการในระบบงบประมาณประมาณแบบ
มุ่งเน้ นผลงานตามยุทธศาสตร์ นีม้ ีเงื่อนไขทีสาคัญ 2
ประการ คือ
1. เน้ นการบริ หารจัดการแบบปรับตัวได้
(Adaptive Management)
2. ยึดหลักการบริ หารกิจการบ้ านเมืองที่ดี
(Good Governance)