บทที่ 6 การพัฒนาชนบท - Econ and Extens

Download Report

Transcript บทที่ 6 การพัฒนาชนบท - Econ and Extens

AET 323
การพัฒนาชุ มชนและการพัฒนาการเกษตร
(Community and Agricultural
Development)
รศ.ดร.สุ รพล เศรษฐบุตร
ภาควิชาส่ งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 6 การ
พัฒนาชนบท
ความหมาย
เป้ าหมาย
วัตถุประสงค์
ยุทธศาสตร์
แนวความคิด
ในการการ
พัฒนาชนบท
การพัฒนา
ชนบทในอดีต
การพัฒนา
ชนบทแนว
ใหม่
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
การพัฒนา
ชนบทในยุค
ปัจจุบัน
การจัดองค์ กร
ในการบริหาร
การพัฒนา
ชนบทไทย
2
ความหมายของชนบท (Rural)
หมายถึง เขตที่ต้ังอยู่นอกตัวเมือง ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อมตามสภาพพืน้
ที่ต้ังกับประชาชนที่อยู่ในชนบทนั้น ชนบทแต่ ละแห่ งย่ อมมีความแตกต่ าง
กันไปทั้งทางเศรษฐกิจ สั งคม การปกครอง และความเป็ นอยู่ของชาวชนบท
สั ง คมมี ข นาดเล็ ก และล้ า หลั ง มี ลั ก ษณะดั ง นี้ เป็ นชุ ม ชน (Gemeinsoaft),
สั งคมชาวบ้ าน (Folk), สั งคมประเพณี (Traditional), สั งคมชนบท (Rural),
สั งคมเกษตร (Agricultural), สั งคมด้ อยพัฒนา (Underdevelopment), สั งคม
กาลังพัฒนา (Developing) สั งคมรอบนอก (Periphery) และชนบท (Rural)
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
3
ความหมายการพัฒนาชนบท (Rural Development)
World Bank (1975):
การพัฒนาชนบทเป็ นวิธีกาหนดขึ้นเพื่อพัฒนาสภาพชี วิต เศรษฐกิจ และสั งคม
ของคนยากจนในชนบทเนื่ อ งจากการพัฒนาชนบทมีเ ป้ าหมายเพื่อ ขจั ดความ
ยากจน จึงมีจุดเน้ นอยู่ที่การเพิ่มผลผลิต และประสิ ทธิ ภาพทางการผลิต เพื่อให้
สั งคมชนบทมีความเจริ ญและมีรายได้ มากขึน้ ดังนั้นจุดประสงค์ ของการพัฒนา
ชนบท จึงเป็ นการเพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิต เพิ่มการจ้ างแรงงานพร้ อมกั บการมี
อาหาร ทีอ่ ยู่อาศัย การศึกษา และการสาธารณสุ ข ให้ อยู่ในระดับพืน้ ฐานทีน่ ่ าพอใจ
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
4
ความหมายการพัฒนาชนบท (Rural Development)
กระบวนการและวิธีการทีจ่ ะผสมผสานการพัฒนาทางด้ าน
สั งคม (Social) เศรษฐกิจ (Economic) การเมือง
(Political) การปกครองเข้ าด้ วยกัน และพัฒนาพร้ อมๆ
กัน โดยอาศัยองค์ ประกอบทางสั งคม เศรษฐกิจ การเมือง
การปกครอง นามาประยุกต์ ใช้ ให้ สนับสนุนเกือ้ กูลกัน เพือ่
สร้ างสรรค์ ความเจริญทุกๆ ด้ านให้ แก่ประชาชนในชนบท
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
5
ความหมายการพัฒนาชนบท (Rural Development)
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
6
ความหมายการพัฒนาชนบท (Rural Development)
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
7
เป้ าหมายของการพัฒนาชนบท
ระดับความจาเป็ นพืน้ ฐาน-เป็ นการขจัดความยากจนและภาวะการ
ว่างงาน
ระดับพัฒนาสภาพทางเศรษฐกิจสั งคม-มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
สั งคมมากขึน้ และมีการพัฒนาจิตสานึกของมวลชนให้ สูงขึน้
ระดับพัฒนาสภาพสั งคมการเมือง-สั งคมมีความเสมอภาค มีการกระจายความ
ยุติธรรมและความเป็ นธรรมในสั งคม มีประชาธิปไตย
ระดับพัฒนาวัฒนธรรม/การพัฒนาทุกๆด้ าน-มีการพัฒนาศักยภาพและ
ความคิดสร้ างสรรค์ ของมนุษย์ อย่ างเต็มที่
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
8
รักษาความสมดุล
ของ
สภาพแวดล้อม
การพึง่ พาตนเอง
มีส่วนร่ วมของ
ประชาชน
การเพิม่
ประสิทธิภาพ
ทางการผลิตโดยเฉพาะด้าน
การเกษตร
ความเสมอภาคใน
การกระจาย
ผลประโยชน์
มีบริการความเป็ น
พืน้ ฐาน/การจ้ าง
งาน และความ
เสมอภาคในการ
ได้รับโอกาส
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
9
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาชนบท
เน้ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ
เน้ นพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้ เกิดสมดุลและรักษาสิ่ งแวดล้ อม และความยัง่ ยืน
เน้ นการพัฒนาที่มลี กั ษณะการพึง่ ตนเอง
เน้ นความคิดริเริ่ม การตัดสิ นใจและความต้ องการของประชาชน
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
10
การช่ วยตัวเอง (Self Help)
การให้ ประชาชนมีส่วนร่ วม
การใช้ ประชาธิปไตยเป็ นแนวทางดาเนินงาน
การใช้ ประโยชน์ จากผู้นาท้ องถิ่น
การทาความเข้ าใจวัฒนธรรมท้ องถิ่น
การติดตามและประเมินผลงาน
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
11
แนวคิดในการการพัฒนาชนบท
แนวความคิดในการพัฒนาชนบทนั้น อยูภ่ ายใต้กรอบความคิดเรื่ องการพัฒนา
ประเทศ ซึ่ งเริ่ มใน ค.ศ. 1950 ซึ่ งในปี นี้ แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาประเทศได้
ปรากฏขึ้ นอย่างเด่นชัด ในขณะที่ แนวความคิดเรื่ องการพัฒนาชนบทยังไม่ปรากฏให้
เห็ นอย่างเด่นชัด ช่ วงนี้ ได้เกิ ดมี ทฤษฎี หรื อแนวความคิ ดการพัฒนาแบบดั้งเดิ มขึ้ นมา
หลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎี การเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจตามลาดับขั้น (The Stages of
Economic Growth Theory) ทฤษฎี เกี่ยวกับการสะสมทุน (Capital Accumulation
Theory) ทฤษฎีความทันสมัย (Modernization Theory) และทฤษฎีทวิภาค (Dualism) ซึ่ ง
ทฤษฎีเหล่านี้จะเน้นการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Development)
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
12
แนวคิดในการการพัฒนาชนบท
1.
2.
3.
4.
ในปี ค.ศ. 1950 – 1960 ได้ มีแนวคิดเกีย่ วกับการพัฒนาชนบทดั้งเดิมเกิด ขึน้ ด้ วยที่
สาคัญคือ
การพัฒ นาชนบทโดยการพัฒ นาการเกษตร (Rural Development as
Agricultural Development)
การพัฒนาชนบทด้ วยการพัฒนาชุ มชน (Rural Development as Community
Development) และ
การพั ฒ นาชนบทแบบผสมผสานหรื อ บู ร ณาการ (Integrated
Rural
Development)
การพัฒนาชนบทโดยใช้ ความจาเป็ นพืน้ ฐาน (Rural Development as Basic
Needs Strategy)
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
13
แนวคิดในการการพัฒนาชนบท
1. การพัฒนาชนบทโดยเน้ นการพัฒนาการเกษตร (Rural
Development as Agricultural Development)
 แนวความคิ ด นี้ เ ป็ นผลมาจากทฤษฎี ค วามเจริ ญ เติ บ โตทาง
เศรษฐกิจตามลาดับขั้น (The Stages of Economic Growth
Theory) ด้ วยความเชื่อว่ าการเกษตรเป็ นสาขาหลักของชนบท หาก
มีการพัฒนาการเกษตรก็ย่อมทาให้ ประชาชนในชนบทมีรายได้
และมาตรฐานความเป็ นอยู่ดขี นึ้ ได้
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
14
ปัจจัยทีจ่ าเป็ น(Essential factors) (ล้ อรถยนต์ ) 1)ตลาดสาหรับผลิตผลทางการเกษตร 2) เทคโนโลยีที่มี
การเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ 3) เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ ทสี่ ามารถหาได้ ในท้ องถิน่ 4) สิ่งจูงใจในการผลิต
สาหรับเกษตรกร และ 5) การคมนาคมขนส่ ง
การเกษตร (Agriculture)
ปัจจัยที่เป็ นตัวเร่ ง (Accelerator Factors) เปรียบดัง ถนนทีร่ าบเรียบปราศจากหลุม บ่ อ
1) การศึกษาเพื่อการพัฒนา 2) สิ นเชื่ อเพื่อการเกษตร 3) การรวมกล่ ุมหรื อกิจกรรมกล่ ุมของ
เกษตร 4) การปรั บปรุงและขยายพืน้ ที่ทางการเกษตร 5) การวางแผนการพัฒนาการเกษตรของ
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
15
ประเทศ
แนวคิดในการการพัฒนาชนบท
2. การพัฒนาชนบทด้ วยการพัฒนาชุ มชน (Rural Development as Community
Development)
แนวความคิดนี้เน้ นที่กระบวนการที่มีขึน้ เพื่อปรั บปรุ งสภาพความเป็ นอยู่ของชุ มชน
โดยอาศัยการมีส่วนร่ วมและความคิดริ เริ่ มจากชุ มชน โครงการพัฒนาชุ มชนที่สาคัญ
ครั้งแรกในประเทศอินเดีย ในปี พ.ศ. 2495 โดยการสนับสนุนของมูลนิธิฟอร์ ด (Ford
Foundation) และองค์ การความช่ วยเหลือระหว่ างประเทศของประเทศสหรัฐอเมริกา
(USAID) ต่ อมาได้ ขยายโครงการระดับชาตินี้ไปยังประเทศฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซี ย
อิหร่ าน และปากีสถาน ในปี พ.ศ. 2503 สหประชาชาติคาดว่ า มีมากกว่ า 60 ประเทศ
ในทวีปเอเซีย และลาตินอเมริกาทีด่ าเนินงานโครงการพัฒนาชุ มชนเป็ นโครงการใหญ่
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
16
แนวคิดในการการพัฒนาชนบท
3. การพัฒนาชนบทแบบผสมผสานหรือบูรณาการ (Integrated Rural
Development)
 การพัฒนาชนบทแบบผสมผสานหรือบูรณาการนี้ กาหนดรูปแบบเพือ่ รวม
กิจกรรมต่ างๆ เข้ าด้ วยกัน และเน้ นการประสานงานภายใต้ อานาจการ
ควบคุมนิเทศงานและบริหารของหน่ วยงานเดียว โดยการปฏิบัติงานอย่ าง
พร้ อมเพรียงกันของหน่ วยงานย่ อยที่มีส่วนรับผิดชอบ
 หลั ก การส าคั ญ ของการพั ฒ นาชนบทแบบนี้ มี 4 ประการ คื อ มี ก าร
ประสานความร่ วมมือในระดับท้ องถิ่น การวางแผนแบบสหสาขา มีการ
เลือกพืน้ ที่เฉพาะเพื่อทุ่มการพัฒนาทุกด้ าน และมีการกระจายอานาจการ
บริหารและการตัดสิ นใจไปสู่ ระดับภูมิภาคและท้ องถิ่นมากขึน้
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
17
แนวคิดในการการพัฒนาชนบท
4. การพัฒนาชนบทโดยใช้ ความจาเป็ นพืน้ ฐาน(Rural Development as
Basic Needs Strategy)
 เป็ นทฤษฎีที่เ สนอโดยองค์ การกรรมกรระหว่ า งประเทศ(International
Labor Organization) เมื่อปี ค.ศ. 1976
 มีจุดเน้ นในเรื่ องการมีส่วนร่ วมของประชาชนในการพัฒนาอย่ างจริ งจัง
เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาในเรื่ อ งการจ้ า งงานไม่ เ ต็ ม ที่ ส ร้ างการกระจายความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่ างเป็ นธรรม
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
18
3.จานวนประชากร จังหวัดเชียงใหม่ 1,670,317 คน (พ.ศ. 2551) (อันดับที่ 5)
ภาค
เส้ นความยากจน (บาท/คน/เดือน)
จังหวัด
2543
ภาคเหนือ
2545
2547
สัดส่ วนคนจน (ร้ อยละ)
2549
2550
2543
2545
2547
2549
2550
เชียงใหม่
1,067
1,132
1,156
1,320
1,394 *12=16,728
17.86
23.28
20.76
8.80
9.00
ลาพูน
1,048
1,107
1,170
1,320
1,378
10.02
11.17
8.95
4.66
4.05
ลาปาง
1,038
1,091
1,152
1,282
1,365
23.69
32.74
14.06
9.44
14.56
อุตรดิตถ์
1,026
1,079
1,124
1,261
1,312
13.18
13.17
11.68
5.25
9.82
แพร่
1,035
1,090
1,142
1,273
1,337
25.99
22.67
8.19
11.37
10.54
น่ าน
1,006
1,058
1,133
21.89
31.85
12.59
19.29
20.21
พะเยา
1,039
1,094
1,159
1,224
1,272
Assoc.Prof.Dr.Suraphol
Sreshthaputra
1,303
1,375
19.57
18.34
16.89
7.99
19
4.45
รายงานการสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรื อน พ.ศ.
2549 ทัว่ ราชอาณาจักร โดยสานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (online :
http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/servic
e/syb50/syb_chap7.pdf ) พบว่า รายได้เฉลี่ย/เดือนของ
ครัวเรื อนในภาคเหนือเท่ากับ 13,146 บาท/เดือน หรื อคิดเป็ น
157,752 บาท/ปี
Assoc.Prof.Dr.Suraphol
Sreshthaputra
20
แนวคิดในการการพัฒนาชนบทความจาเป็ นพืน้ ฐาน
 จุ ดมุ่ งหมายของการพัฒนา คือ การตอบสนองความต้ องการขั้นพื้นฐานที่จาเป็ น
สาหรั บประชาชนที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย ทั้งความต้ องการทางวัตถุและความต้ องการ
ทางจิตใจ ความต้ องการพืน้ ฐานของครอบครัวและชุ มชนส่ วนรวม
 ความต้ องการขั้นจาเป็ นพืน้ ฐานนี้ เป็ นความต้ องการของประชาชนในชุ มชนตาม
ความเป็ นจริง โดยใช้ ทรัพยากรและเทคโนโลยีภายในประเทศเป็ นหลัก
 ความต้ องการขั้นพื้นฐานของคนในแต่ ละสั งคมจะมีความแตกต่ างกัน สั งคมใดที่
ได้ รับการตอบสนองแล้ ว จะทาให้ คนมีคุณภาพชี วิตดีขึน้ และระดับความต้ องการนี้ก็
จะเปลีย่ นแปลงไปตามระดับของการพัฒนา
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
21
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
22
การพัฒนาชนบทในยุคปัจจุบัน
(ภายใต้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545– 2549)โดยมีปรั ชญา
และแนวคิดหลักดังนี้
1. คนเป็ นจุดศูนย์ กลางการพัฒนา โดยยึดหลักให้ คนได้ รับประโยชน์ จากการพัฒนาอย่าง
แท้ จริง
2. ยึดหลักปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเป็ นแนวทางในการดาเนินชี วิตไทย เป็ นพืน้ ฐาน
การพัฒนา
3. มุ่งหมายให้ สังคมไทยพัฒนาไปสู่ สังคมที่เข้ มแข็งและมีดุลยภาพในอนาคต ดังนี้ (3.1)
สั งคมคุณภาพ (3.2 )สั งคมแห่ งภูมิปัญญาและการเรี ยนรู้ และ (3.3)สั งคมที่เอือ้ อาทรต่ อ
กันและอยู่ดมี สี ุ ข
สุรพล เศรษฐบุตร Agri.Ext.Dept.
23
การพัฒนาชนบทในยุคปัจจุบัน
ทิศทางการพัฒนาที่สาคัญ
การพัฒนาคุณภาพคน คุณภาพชีวติ และคุณค่าวัฒนธรรมไทย
การเสริ มสร้างเครื อข่ายชุมชนเข้มแข็ง
การบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขัน
การปรับระบบการบริ หารจัดการประเทศ
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
24
สาระสาคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 9
เป็ นแผนที่ได้อญ
ั เชิ ญแนวปรั ชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระ
ราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯมาเป็ นปรัชญานาทาง
ในการพัฒ นาประเทศให้ เ ป็ นไปในทางสายกลาง อัน จะท าให้
ประเทศรอดพ้น จากวิ ก ฤต สามารถด ารงอยู่ไ ด้อ ย่า งมั่น คงและ
นาไปสู่ การพัฒนาที่สมดุล การพัฒนาที่มีคุณภาพและการพัฒนาที่
ยัง่ ยืน ภายใต้กระแสโลกาภิ วฒ
ั น์ และสถานการณ์ ที่เปลี่ ยนแปลง
ต่างๆ
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
25
โครงสร้ างและองค์ การบริหารการพัฒนาชนบท
เพื่ อ ให้ ก ารบริ หารการพั ฒ นาชนบทเป็ นไปอย่ า งมี
ประสิ ทธิ ภาพและมีเอกภาพ ลดการซ้ าซ้อนขององค์กรต่างๆ
ที่มีอยู่ รวมทั้งให้มีระบบการบริ หารงบประมาณระดับจังหวัด
ที่ ชั ด เจน เพื่ อ ความรวดเร็ วและคล่ อ งตั ว ในการปฏิ บ ั ติ
แผนพัฒนาชนบทได้กาหนดระบบการบริ หารและองค์การ
พัฒนาชนบทขึ้นใหม่ ดังนี้
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
26
โครงสร้ างและองค์ การบริหารการพัฒนาชนบท
ระดับชาติ
ยุบเลิกคณะกรรมการที่ เกี่ยวกับชนบทในระดับชาติชุดอื่นๆ ให้เหลือเพียงกรรมการชุด
เดียว คือ คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่ งชาติ (กชช.) โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน
เลขาธิ ก ารคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ เป็ นกรรมการ
และเลขานุ ก าร ส าหรั บ กรรมการอื่ น ๆ ประกอบด้ว ยรั ฐ มนตรี แ ละปลัด กระทรวงที่
เกี่ยวข้อง ในการนี้ ให้ยกเว้นคณะกรรมการสร้างงานในชนบท (กสช.) เท่านั้น ที่ยงั ให้คง
อยูต่ ่อไป
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
27
โครงสร้ างและองค์ การบริหารการพัฒนาชนบท
ระดับจังหวัด
มี ค ณะกรรมการพัฒ นาจัง หวัด (กพจ.)
เพี ย งชุ ด เดี ย ว และให้จ ัด ตั้ง
อนุ กรรมการพัฒนาชนบทระดับจังหวัด (อกช.) ขึ้น เพื่อดาเนิ นการตาม
แผนพัฒนาชนบทในระดับจังหวัด และมีผแู ้ ทนของกระทรวงหลักทั้ง 4 ใน
ระดั บ จั ง หวั ด (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุ ข)
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
28
โครงสร้ างและองค์ การบริหารการพัฒนาชนบท
ระดับอาเภอ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาอาเภอ (กพอ.)
ทาหน้าที่ในการวางแผน
พัฒนาระดับอาเภอ เชื่อมโยงกับอนุกรรมการพัฒนาชนบทในระดับจังหวัด (อกช.)
ระดับตาบลและหมู่บ้าน ให้ยึดสภาตาบลเป็ นหลักในการพัฒนาชนบทระดับตาบล
และให้มีคณะทางานสนับสนุ นการปฏิ บัติงานพัฒนาชนบทระดับตาบล (คปต.)
ประกอบด้วยผูแ้ ทนของส่ วนราชการต่างๆ เกษตรตาบล พัฒนากรตาบล สาธารณสุ ข
ตาบล ครู ใ นต าบล เป็ นผูช้ ่ วยเหลื อ การปฏิ บ ัติง านของสภาต าบล ส่ ว นในระดับ
หมู่บา้ นนั้น ให้ใช้คณะกรรมการหมู่บา้ น (กม.) และคณะกรรมการกลางหมู่บา้ น
อพป. เป็ นหลัก
สุรพล เศรษฐบุตร:Agri.Ext.Dept.
29