สถานภาพการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย

Download Report

Transcript สถานภาพการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย

291351
Electronic Commerce
บทที่ 1
แนะนำพำณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์
อ.ธำรำรั ตน์ พวงสุวรรณ
[email protected]
Outline
•
•
•
•
•
•
•
•
•
วิวฒ
ั นาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ระบบการแลกเปลี่ยนข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หรื อ EDI
นิยามพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ลักษณะของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เปรี ยบเทียบวงจรการค้ าแบบเดิมและวงจรการค้ าอิเล็กทรอนิกส์
ข้ อดีและอุปสรรคของการทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แนวโน้ มการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย
ลักษณะพิเศษของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
สถานภาพการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
ควำมเป็ นมำของพำณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
- EFT (Electronic Funds Transfer) (ปี พ.ศ. 2513)
- EDI (Electronic Data Interchange)
- Internet (ปี พ.ศ. 2533)
EDI (Electronic Data Interchange)
• เป็ นเทคโนโลยีการแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างบริ ษัทคูค่ ้ าในรูปแบบ
มาตรฐานสากลจาก เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องหนึง่ ไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์ อกี เครื่ องหนึง่
• โดยส่งผ่านเครื อข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็ นต้ น แทนการส่งเอกสารโดย
พนักงานส่งสารหรื อไปรษณีย์
• เอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี ้ต้ องอยู่ในรูปแบบมาตรฐานสากล ซึง่ จะทาให้ ทกุ ธุรกิจ
สามารถ แลกเปลี่ยนเอกสารกันได้ ทวั่ โลก
• มาตรฐานเอกสาร EDI ที่ใช้ อยู่ในปั จจุบนั ในภูมิภาคต่างๆ ทัว่ โลก มีอยูห่ ลายมาตรฐาน
อาทิเช่น ANSI X12 ซึง่ ใช้ แพร่หลายในประเทศอเมริ กา และประเทศ ออสเตรเลีย
• ODDETTE, TRADACOMS ซึง่ ใช้ กนั อยู่ในประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป
• สาหรับประเทศในทวีปเอเชีย ส่วนใหญ่จะใช้ มาตรฐานของ UN/EDIFACT ซึง่ ย่อมา
จาก United Nation/Electronic Data Interchange for Administration, Commerce,
and Transportation
EDI (Electronic Data Interchange)
• มาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกาหนดโดยกรมศุลกำกร ซึง่ เป็ น
หน่วยงานแรกที่นาระบบนี ้มาใช้ งาน
• มำตรฐำน EDIFACT (Electronic Data Interchange for
Administration, Commerce and Transportation)
• ปั จจุบนั กรมศุลกากร ได้ รับบทบาทและหน้ าที่จากเดิมที่เน้ นการจัดเก็บ
ภาษีอากรจากของที่นาเข้ ามาใน และส่งออกไป นอกราชอาณาจักรมา
เป็ นการมุง่ เน้ นที่จะพัฒนาส่งเสริมด้ านการค้ าระหว่างประเทศ และการ
ส่งออกของไทยที่มีศกั ยภาพ ในการแข่งขันกับตลาดการค้ าของโลก
เอกสารทางธุรกิจที่สามารถทดแทนด้ วยเอกสาร EDI
• เอกสารทางด้ านการจัดซือ้ ได้ แก่ ใบสัง่ ซื ้อ (Purchase Order) ใบแจ้ งหนี ้
(Invoice) ใบเสนอราคา (Quotation) ใบแจ้ งราคาสินค้ า (Price/Sales
Catalogue) เป็ นต้ น
• เอกสารทางด้ านการเงิน ได้ แก่ ใบสัง่ ให้ ธนาคารจ่ายเงิน (Payment
Order) ใบแจ้ งการสัง่ จ่าย (Remittance Advice) เป็ นต้ น
• เอกสารทางด้ านการขนส่ ง ได้ แก่ ใบตราส่ง (Bill of Lading) ใบจองตู้
สินค้ า (Booking) แผนผังการบรรทุกสินค้ าภายในเรื อ (Bayplan) ใบสัง่
ปล่อยสินค้ า (Delivery Order) เป็ นต้ น
• เอกสารทางด้ านการค้ าระหว่ างประเทศ ได้ แก่ ใบขนสินค้ า (Customs
Declaration) บัญชีต้ สู ินค้ า (Manifest) เป็ นต้ น
ธุรกิจที่สามารถนา EDI มาใช้ ได้
• ทุกธุรกิจที่มีการใช้ เอกสารจานวนมากและเป็ นประจาโดยมีขนตอนซ
ั้
้าๆ
แต่ต้องการความถูกต้ องรวดเร็วและแม่นยาของข้ อมูล
• เช่น ธุรกิจค้ าส่งและค้ าปลีก ที่ต้องมีการสัง่ ซื ้อสินค้ าเป็ นประจา
• ธุรกิจขนส่งซึง่ ต้ องใช้ ข้อมูลประกอบในการจัดการ ขนส่งสินค้ า
• ธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตสินค้ า ที่ต้องสัง่ ซื ้อวัตถุดบิ
• และธุรกิจการค้ าระหว่างประเทศ เป็ นต้ น
ขัน้ ตอนการทางานของระบบ EDI
1. ผู้สง่ ทาการเตรี ยมข้ อมูล และแปลงให้ อยูใ่ นรูปแบบมาตรฐาน
UN/EDIFACT โดยใช้ Translation Software
2. ผู้สง่ ทาการส่งข้ อมูลไปยังศูนย์บริ การของผู้ให้ บริ การ EDI ผ่านเครื อข่าย
สาธารณะโดยใช้ Modem
3. ผู้ให้ บริ การ EDI จะจัดเก็บข้ อมูลเหล่านี ้ไว้ ในตู้ไปรษณีย์ (Mailbox) ของ
ผู้รับเมื่อข้ อมูลไปถึงศูนย์บริ การ
4. ผู้รับติดต่อมายังศูนย์บริ การผ่าน Modem เพื่อรับข้ อมูล EDI ที่อยูใ่ นตู้
ไปรษณีย์ของตน
5. ผู้รับแปลงข้ อมูลกลับโดยใช้ Translation Software ให้ อยูใ่ นรูปแบบที่
ระบบงานของตนสามารถรับไปประมวลผลได้
Translation Software
• คือโปรแกรมที่ทาหน้ าที่ในการแปลงข้ อมูลให้ อยูใ่ นรูปแบบมาตรฐาน
• เช่น มาตรฐาน UN/EDIFACT, ANSI X12
• สามารถซื ้อโปรแกรมดังกล่าวได้ จากผู้ให้ บริการ EDI หรื อบริษัท
คอมพิวเตอร์ ที่จาหน่ายซอฟต์แวร์ เหล่านี ้
ผู้ให้ บริการ EDI
• ผู้ให้ บริการ EDI หรื อ เรี ยกกันว่า VAN (Value Added Network)
• ทาหน้ าที่เป็ นศูนย์กลางไปรษณีย์ ในการรับ-ส่งข้ อมูลระหว่างคูค่ ้ า ให้
สามารถรับส่งข้ อมูลได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง
• ผู้ให้ บริการ EDI สามารถให้ บริการในการรับ-ส่งข้ อมูล ทัง้ EDI, File
Transfer (non-EDI) และ E-mail
• ความรับผิดชอบหลักของผู้ให้ บริการ EDI นอกจากการรับ-ส่งข้ อมูลได้
อย่างถูกต้ องสมบูรณ์แล้ ว ยังต้ องสามารถ รักษาความปลอดภัยของตู้
ไปรษณีย์ (Mailbox) ของลูกค้ าแต่ละราย มิให้ ผ้ อู ื่นเข้ าไปดูข้อมูลได้
ผู้ให้ บริการ EDI
แบ่งผู้ให้ บริ การ EDI หรื อ VAN เป็ น 2 ประเภทหลักๆ คือ
• ผู้ให้ บริการ EDI ภายในประเทศ (Domestic VAN) เช่น
การสื่อสารแห่งประเทศไทย, บริ ษัทชินวัตร, บริ ษัทไทยเทรดเน็ท, และ
บริ ษัทเอ็กซิมเน็ท บริ ษัทเหล่านี ้มีศนู ย์บริ การ (Host) อยูใ่ นประเทศและจะ
ให้ บริ การเครื อข่าย ภายในประเทศเป็ นหลัก
• ผู้ให้ บริการ EDI ระหว่ างประเทศ (International VAN) เช่น IBM , BT ,
AT&T บริ ษัทเหล่านี ้มีศนู ย์บริ การ (Host) อยูต่ า่ งประเทศ และให้ บริ การ
เครื อข่ายระหว่างประเทศเป็ นหลัก
ประโยชน์ ของกำรใช้ EDI
• ลดค่าใช้ จ่ายด้ านการจัดส่งเอกสาร
• ลดเวลาทางานในการป้อนข้ อมูล ทาให้ ข้อมูลมีความถูกต้ องและลด
ข้ อผิดพลาดจากการป้อนข้ อมูลที่ซ ้าซ้ อน
• เพิ่มความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร
• ลดค่าใช้ จ่ายและภาระงานด้ านเอกสาร
• แก้ ปัญหาอุปสรรคทางภูมิศาสตร์ และเวลา
ปั ญหาและอุปสรรคของการใช้ EDI
•
•
•
•
ผู้บริ หารระดับสูงไม่ให้ ความสนใจและไม่มี Commitment ที่ชดั เจน
องค์กรส่วนใหญ่ ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับเรื่ อง EDI
ต้ องใช้ เวลาในการปรับเปลี่ยนระบบงานและขันตอนการบริ
้
หารงานภายใน
ขาดผู้ชานาญงานทางด้ าน IT ที่จะนา EDI ไปใช้ ให้ สอดคล้ องกับระบบ
คอมพิวเตอร์ ที่มีอยู่
• กฎหมายและระเบียบของหน่วยงานราชการ ที่ไม่เอื ้ออานวยต่อการใช้ EDI
Internet
• ยุคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพียงมีแค่คอมพิวเตอร์ ที่ตอ่ กับ
อินเทอร์ เน็ต
• ก็สามารถร่วมกระบวนการค้ า อิเล็กทรอนิกส์ได้ ทนั ที
• ใช้ เพียงเว็บบราวเซอร์ ในการเลือกซื ้อสินค้ า สัง่ ซื ้อและรับชาระ
เงิน
นิยามพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• คำจำกัดควำมจำกหน่ วยงำน
– กรมส่ งเสริมกำรส่ งออก กระทรวงพำณิชย์ ระบุวา่ พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การดาเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้ องกับ
การซื ้อขายสินค้ าและบริการผ่าน ระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรื อสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
– องค์ กรกำรค้ ำโลก ให้ คาจากัดความไว้ วา่ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
หมายถึง การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรื อการขนส่ง
ผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์
นิยามพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• คำจำกัดควำมจำกนักวิชำกำร
– Turban et al. (2012:4) กล่าวว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ กระบวนการซื ้อ
ขาย แลกเปลี่ยนสินค้ า บริการ และ/หรื อข้ อมูลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดย
ส่วนใหญ่ผ่านอินเทอร์ เน็ตและอินทราเน็ต
– Laudon and Traver (2007: 10) กล่าวว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์หมายถึง
เฉพาะธุรกรรมที่เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนสิ่งมีคา่ เช่น เงิน ระหว่างองค์กรหรื อ
บุคคลเพื่อให้ ได้ มาซึง่ สินค้ าหรื อบริการเท่านัน้ ส่วนธุรกรรมออนไลน์ที่เกิดขึ ้น
ภายในบริษัท จะเรี ยกว่า Electronic Business
ลักษณะของการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• Laudon and Traver (2007:12-16) และ Roberts (2003:7-8) กล่าวถึง
ลักษณะของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ไว้ ดงั นี ้
1. สามารถทาการซื ้อขายได้ ทกุ ที่และตลอดเวลา
2. สามารถเข้ าถึงได้ ทวั่ โลก
3. มีความเป็ นมาตรฐานในระดับสากล
4. สามารถให้ ข้อมูลที่มีความซับซ้ อนและมีรายละเอียด
5. ความสามารถในการสื่อสารโต้ ตอบสองทาง
6. ทาให้ ข้อมูลมีจานวนมากขึ ้นและมีคณ
ุ ภาพสูงขึ ้น
7. สามารถสื่อสารหรื อเสนอสินค้ าหรื อบริ การได้ แบบรายบุคคล
สินค้ าที่ซอื ้ ขายในพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• สินค้ าที่มีลกั ษณะเป็ นข้ อมูลดิจิทลั (Digital Products)
• สินค้ าที่ไม่ใช่ข้อมูลดิจิทลั (Non-Digital Products)
รูปแบบการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• การพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ แบบสมบูรณ์ (Pure Ecommerce)
–ใช้ ดิจิตอลในทุก ๆ ขันตอนของการด
้
าเนินธุรกิจ
• การพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ แบบบางส่ วน (Partial Ecommerce)
–ผสมผสานของทังส่
้ วนที่เป็ นดิจิตอลและที่ไม่เป็ นดิจิตอล
วงจรการทาการค้าแบบเดิม
- ผู้บริโภคมีความต้ องการสินค้ า
- บริษัทผลิตสินค้ าเพื่อสนองความต้ องการของผู้บริโภค
- การโฆษณาขายสินค้ าให้ ผ้ บู ริโภคทราบ
- จัดเตรี ยมส่งสินค้ าไปตามสถานที่ ๆ ผู้บริโภคสามารถหาซื ้อได้ สะดวก
- จัดทีมงานคอยดูแลบริการและแก้ ปัญหาที่อาจเกิดขึ ้น
- เงินที่ขายสินค้ าได้ วนกลับเข้ าสูบ่ ริษัท
*** บริการหลังการขายมีความสาคัญ? *****
วงจรของระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์
กำรขำยซำ้
เข้ ำหำข้ อมูล
- ค้ นหา
ลูกค้ ำ
กำรสั่งซือ้ สินค้ ำออนไลน์
โฆษณำออนไลน์
สั่งซือ้ โดยทั่วไป
กำรกระจำยสินค้ ำ
- ส่ งทางออนไลน์ (For soft goods)
- ส่ งทางทั่วไป (For hard goods)
กำรบริกำรลูกค้ ำ
ทำงอิเล็กทรอนิกส์
ข้อแตกต่างระหว่างการทาธุรกิจทัว่ ไปกับ
การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
- การเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล
- การตอบสนองเพื่อการแข่งขัน
- การให้ บริการได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง
- การควบคุมและปฏิสมั พันธ์ได้ ด้วยตนเอง
- การสร้ างร้ านค้ าเสมือนจริง
- การติดตามพฤติกรรมของผู้บริโภค
- โครงข่ายเศรฐกิจ
- การส่งเสริมภาพลักษณ์อนั ดี
ข้ อดีของพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• สามารถตัดปั ญหายุง่ ยากในเรื่ องของการต่อรองราคาและตัดปั ญหาเกี่ยวกับนายหน้ า
• ข้ อมูลของลูกค้ าจะถูกเก็บไว้ ใน E-Mail บุคคลอื่นไม่สามารถเปิ ดอ่านได้ นอกจากผู้จดั
จาหน่ายเท่านัน้
• เพิ่มมูลค่า และประสิทธิภาพทางธุรกิจ และเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ขู ายขนาดกลางและขนาด
เล็ก มีโอกาสเข้ าสูต่ ลาดได้ มากขึ ้น และผู้บริโภคก็มีทางเลือกมากขึ ้น
• ผู้ซื ้อสามารถค้ นหาข้ อมูลหรื อข่าวสารเกี่ยวกับสินค้ าและบริการต่างๆทัว่ โลกอย่างรวดเร็ว
• ได้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสินค้ าหรื อบริ การกับผู้ซื ้อรายอื่น
• ในกรณีที่เป็ นการสัง่ ซื ้อแบบ Digital Form จะสามารถส่งข้ อมูลผ่าน Internet ได้ ทนั ที
• ผู้ขายสามารถโฆษณาขายสินค้ าหรื อบริการไปยังลูกค้ าทัว่ โลกได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง ทาให้
ประหยัดค่าใช้ จ่ายในการโฆษณา
• สามารถลดค่าใช้ จ่ายในการดาเนินงานอื่นๆ
ผู้ได้ รับประโยชน์ จากพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ทีม่ า http://202.28.94.55/web/322161/2551/001/g18/E-commerce%20web/page/index12.html
อุปสรรคของการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• ผู้ซื ้อไม่มนั่ ใจเรื่ องการเก็บรักษาความลับทางธุรกิจ ข้ อมูลส่วนบุคคล
• สินค้ าที่ขายบนออนไลน์ไม่สามารถจับต้ องได้ ทาให้ ไม่สามารถรับรู้ถึงคุณภาพ
• ข้ อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์สามารถทาสาเนาหรื อดัดแปลงหรื อสร้ างขึ ้นใหม่ได้ ง่ายกว่าเอกสารที่
เป็ นกระดาษ
• ผู้ขายไม่มนั่ ใจว่าลูกค้ ามีตวั ตนอยู่จริ ง จะเป็ นบุคคลเดียวกับที่แจ้ งสัง่ ซื ้อสินค้ าหรื อไม่
• ปั ญหาความยากจน ความด้ อยโอกาสและขาดความรู้ทางเทคโนโลยี รวมทังขาดเครื
้
อข่ายการ
สื่อสาร
• ประเด็นเชิงนโยบายที่รัฐบาลต้ องเข้ ามากาหนดมาตรการ เพื่อให้ ความคุ้มครองกับผู้ซื ้อและ
ผู้ขาย ขณะเดียวกันมาตรการในเรื่ องระเบียบที่จะกาหนดขึ ้นต้ องไม่ขดั ขวางการพัฒนา
เทคโนโลยี
ความสาคัญของพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
• เนื่องมาจากอัตราการเติบโตของการใช้ อินเตอร์ เน็ตและการเพิ่มขึ ้นของ
เว็บไซต์ทางธุรกิจที่มีอย่างต่อเนื่อง
• ทาให้ การประกอบธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจบนอินเตอร์ เน็ตเป็ นช่องทาง
การตลาดขนาดใหญ่ของโลกไร้ พรมแดน
• สามารถเข้ าถึงกลุม่ ผู้บริโภคเป้าหมายได้ โดยตรงอย่างรวดเร็ว ไร้
ขีดจากัดของเรื่ องเวลาและสถานที่ การแข่งขันทางการค้ าเสรีและ
ระหว่างประเทศที่ต้องแข่งขันและชิงความได้ เปรี ยบกันที่ “ความเร็ว”
แนวโน้ มการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตในประเทศไทย
ข้ อมูลจำกบริษัท ศูนย์ วิจัยนวัตกรรมอินเทอร์ เน็ตไทย จำกัด ซึ่งเป็ นผู้ให้ บริกำรตรวจสอบและ
ประมวลผลสถิตกิ ำรเยี่ยมชมเว็บไซต์ ประเทศไทย (Truehits.net ทรู ฮติ )
แนวโน้ มการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตในประเทศไทย
• ประเทศไทยมีอตั ราการเติบโตของประชากรอินเทอร์ เน็ตเฉลี่ยสูง
ถึง 26.77% เมื่อเทียบกับปี 2010
• จานวนประชากรอินเทอร์ เน็ตออนไลน์ เฉลี่ยแต่ละวันประมาณ 6 ล้ าน
คน เป็ นผู้ที่อยูใ่ นต่างประเทศ 4 แสน 4 หมื่นคน
• เดือนสิงหาคม 2554 เป็ นเดือนที่มีประชากรอินเทอร์ เน็ตออนไลน์ใน
ประเทศไทยสูงสุด 25,090,390 คน
• ในปี 2011 จานวนประชากรบนอินเทอร์ เน็ตของประเทศไทยทะลุ 25
ล้ านคนแล้ ว
ตัวบ่ งชี้จานวนผู้เยีย่ มชมเว็บไซต์ UIP
• UIP ย่อมาจาก Unique IP
• โดยการประมวลจาก IP Address ของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ที่ไม่เหมือนกัน
ในช่วงเวลาหนึง่ ๆ
• เช่น UIP รายวัน มีคา่ 200 คือ ตัวเลข IP ของคนเข้ าเยี่ยมชม หรื อแวะ
เวียนมาดูเว็บไซต์ไม่ซ ้ากันในวันนี ้ 200 คน
แนวโน้ มการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตในประเทศไทย
• พัฒนาการการใช้ อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทยยังค่อนข้ างช้ า
• และอาจจะเป็ นอุปสรรคต่อการขยายตัวของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• ในทางกลับกันก็เป็ นโอกาสที่เปิ ดกว้ างสาหรับคนที่สนใจทาธุรกิจการค้ า
ออนไลน์เพราะอนาคตยังมีโอกาสในการเจริญเติบโตสูง
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
• สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้ จดั ทาผลการสารวจสถานภาพการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ในปี 2554 โดยรวบรวมผ่านแบบสอบถาม จากจานวน
ตัวอย่างทังสิ
้ ้น 1,841 ราย พบข้ อมูลในส่วนต่าง ๆ ดังนี ้
– ลักษณะทัว่ ไปของธุรกิจ
– ผลประกอบการ
– วิธีการดาเนินธุรกิจ
– รูปแบบการชาระเงิน
– การรักษาความปลอดภัย
– ความคิดเห็นต่อการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
ลักษณะทั่วไปของธุรกิจ
• ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของไทยมีสดั ส่วนของธุรกิจขนาดเล็ก
(มีคนทางานไม่เกิน 5 คน) มากที่สดุ คือ ร้ อยละ 68.5
• ร้ อยละ 73.3 เป็ นธุรกิจที่ขายให้ ผ้ บู ริ โภค
• ประเภทอุตสาหกรรมที่นิยมในการค้ าออนไลน์ คือ แฟชัน่ เครื่ องแต่งกาย อัญ
มณีและเครื่ องประดับ
• ระยะเวลาการทาธุรกิจ ประมาณ 1 ใน 3 (ร้ อยละ 35.3) ดาเนินกิจการมาไม่
เกิน 1 ปี
• ประมาณร้ อยละ 54.6 ของธุรกิ จ e-Commerce ทังหมด
้
ขายสินค้ า
และบริ การผ่านอิเล็กทรอนิกส์และมีหน้ าร้ าน
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
ลักษณะทั่วไปของธุรกิจ
– ขนาดธุรกิจ
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
ลักษณะทั่วไปของธุรกิจ
– ประเภทอุตสาหกรรม
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
ลักษณะทั่วไปของธุรกิจ
– ระยะเวลาการทาธุรกิจ
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
ลักษณะทั่วไปของธุรกิจ
– ลักษณะการขายสินค้ าและบริการ
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
ผลการประกอบการ
– ธุรกิจ e-Commerce มียอดขายผ่านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ทงสิ
ั ้ ้น
ประมาณ 608,587 ล้ านบาท โดยเป็ นยอดขายมากที่สดุ อยูใ่ นรูปแบบ
การค้ าขายระหว่างองค์กรกับภาครัฐ มีมลู ค่าอยูท่ ี่ 272,295 ล้ านบาท
(ร้ อยละ 44.7)
– การรับคาสัง่ ซื ้อสินค้ า/บริการผ่านอินเทอร์ เน็ต พบว่า ธุรกิจ eCommerce ประมาณร้ อยละ 42.3 รับคาสัง่ ซื ้อโดยเฉลี่ย 1-5 ครัง้ ต่อ
เดือน
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
วิธีการดาเนินธุรกิจ
– การส่ งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์ ธุรกิจ
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
วิธีการดาเนินธุรกิจ
– การส่ งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์ ธุรกิจ
• รูปแบบการประชาสัมพันธ์ ทางออนไลน์ นิยมใช้ มากที่สุด คือ
การโฆษณาทางอีเมล์ และโฆษณาผ่ านแบนเนอร์ บนเว็บไซต์
ต่ างๆ (ร้ อยละ 48.5)
• รองลงมาเป็ นประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เช่ น
Facebook Twitter เป็ นต้ น
• โฆษณาทาง Search Engine และโฆษณาผ่ านเว็บบอร์ ดตาม
เว็บไซต์ ต่าง ๆ (ร้ อยละ 29.3 ร้ อยละ 20.6 และร้ อยละ 17.1
ตามลาดับ)
• ส่ วนออฟไลน์ ส่ วนใหญ่ จะอยู่ในรู ปแบบของแผ่ นพับ/โบรชัวร์ /นามบัตร
มากที่สุด (ร้ อยละ 68.5)
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
รูปแบบการชาระเงิน
• บริการการชาระเงินแบบออนไลน์ที่ธุรกิจส่วนใหญ่ เปิ ดให้ บริการมาก
ที่สดุ คือ การชาระเงินผ่านระบบ e-Banking/ATM (ร้ อยละ 77.4)
• รองลงมาเป็ นการชาระเงินผ่านบัตรเครดิต (ร้ อยละ 48.6)
• การชาระเงินผ่านผู้ให้ บริการกลาง (ร้ อยละ 27.1)
• ในขณะที่การชาระแบบออฟไลน์ที่ธุรกิจส่วนใหญ่ ใช้ กนั มากที่สดุ คือ
การโอนเงินผ่านบัญชีธนาคาร (ร้ อยละ 79.7)
• รองลงมาเป็ นการชาระกับพนักงานโดยตรง (ร้ อยละ 50.4)
• โอนเงินทางไปรษณีย์ (ร้ อยละ 16.3)
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
การรักษาความปลอดภัย
•
•
•
•
ร้ อยละ43.0 มีการใช้ นโยบายความปลอดภัย (Security Policy)
ร้ อยละ 38.9 มีการใช้ เทคโนโลยีเข้ ารหัส เช่น SSL (https://)
ร้ อยละ 31.2 มีการใช้ เทคโนโลยี Captcha
ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์มีร้อยละ 11.0
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
ควำมคิดเห็นต่ อพำณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ด้ ำนพฤติกรรมลูกค้ ำ
สถานภาพการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
ควำมคิดเห็นต่ อพำณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ด้ ำนปั ญหำอุปสรรค
คาถาม
• ผู้เรี ยนเคยเกี่ยวข้ องกับการทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างไรบ้ าง
• ผู้เรี ยนเคยซื ้อสินค้ าผ่านอินเทอร์ เน็ตหรื อไม่ บ่อยแค่ไหน ส่วนใหญ่ซื ้อ
สินค้ าประเภทใด ถ้ าไม่เคยคิดว่าถ้ ามีโอกาสจะเลือกซื ้อสินค้ าประเภท
ใดผ่านช่องทางนี ้ เพราะเหตุใด
• หากผู้เรี ยนเคยซื ้อสินค้ าผ่านอินเทอร์ เน็ต รู้สกึ พึงพอใจต่อการซื ้อสินค้ า
ผ่านอินเทอร์ เน็ตมากน้ อยแค่ไหน เพราะอะไร หากไม่เคย จงระบุ
เหตุผล
• ผู้เรี ยนมีความคิดเห็นอย่างไรต่อการซื ้อสินค้ าผ่านอินเทอร์ เน็ตใน
ปั จจุบนั