องค์ประกอบของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Download
Report
Transcript องค์ประกอบของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
291351
Electronic Commerce
บทที่ 1
แนะนำพำณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์
อ.ธำรำรั ตน์ พวงสุวรรณ
[email protected]
Outline
•
•
•
•
•
•
•
•
•
วิวฒั นาการของพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
นิยามพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
ลักษณะของพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
เปรี ยบเทียบวงจรการค้าแบบเดิมและวงจรการค้าอิเล็กทรอนิกส์
ข้อดีและอุปสรรคของการทาพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
องค์ประกอบของระบบพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
การสร้างเว็บไซต์พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
เครื่ องมือช่วยเหลือสาหรับระบบพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
การพิจารณาความน่าเชื่อถือของผูใ้ ห้บริ การ
ควำมเป็ นมำของพำณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
- EFT (Electronic Funds Transfer) (ปี พ.ศ. 2513)
- EDI (Electronic Data Interchange)
- Internet (ปี พ.ศ. 2533)
EDI (Electronic Data Interchange)
• เป็ นเทคโนโลยีการแลกเปลี่ยนเอกสารทางธุรกิจระหว่างบริ ษทั คู่คา้ ในรูปแบบ
มาตรฐานสากลจาก เครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่งไปยังเครื่ องคอมพิวเตอร์อีก
เครื่ องหนึ่ง
• โดยส่ งผ่านเครื อข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็ นต้น แทนการส่ ง
เอกสารโดยพนักงานส่ งสารหรื อไปรษณี ย ์
• เอกสารอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ ตอ้ งอยูใ่ นรู ปแบบมาตรฐานสากล ซึ่ งจะทาให้ทุก
ธุรกิจสามารถ แลกเปลี่ยนเอกสารกันได้ทวั่ โลก
• มาตรฐานเอกสาร EDI ที่ใช้อยูใ่ นปั จจุบนั
– ANSI X12
– ODDETTE, TRADACOMS
– UN/EDIFACT ซึ่ งย่อมาจาก United Nation/Electronic Data Interchange for
Administration, Commerce, and Transportation
ธุรกิจทีส่ ามารถนา EDI มาใช้ ได้
• ทุกธุรกิจที่มีการใช้เอกสารจานวนมากและเป็ นประจาโดยมี
ขั้นตอนซ้ าๆ แต่ตอ้ งการความถูกต้องรวดเร็ วและแม่นยาของ
ข้อมูล
เอกสารทางธุรกิจทีส่ ามารถทดแทนด้ วยเอกสาร EDI
• เอกสารทางด้ านการจัดซื้อ ได้แก่ ใบสัง่ ซื้อ (Purchase Order) ใบแจ้งหนี้
(Invoice) ใบเสนอราคา (Quotation) ใบแจ้งราคาสิ นค้า (Price/Sales
Catalogue) เป็ นต้น
• เอกสารทางด้ านการเงิน ได้แก่ ใบสัง่ ให้ธนาคารจ่ายเงิน (Payment Order) ใบ
แจ้งการสัง่ จ่าย (Remittance Advice) เป็ นต้น
• เอกสารทางด้ านการขนส่ ง ได้แก่ ใบตราส่ ง (Bill of Lading) ใบจองตูส้ ิ นค้า
(Booking) แผนผังการบรรทุกสิ นค้าภายในเรื อ (Bayplan) ใบสัง่ ปล่อย
สิ นค้า (Delivery Order) เป็ นต้น
• เอกสารทางด้ านการค้ าระหว่ างประเทศ ได้แก่ ใบขนสิ นค้า (Customs
Declaration) บัญชีตสู ้ ิ นค้า (Manifest) เป็ นต้น
ผู้ให้ บริการ EDI
• ผูใ้ ห้บริ การ EDI หรื อ เรี ยกกันว่า VAN (Value Added Network)
• ทาหน้าที่เป็ นศูนย์กลางไปรษณี ย ์ ในการรับ-ส่ งข้อมูลระหว่างคู่คา้ ให้
สามารถรับส่ งข้อมูลได้ตลอด 24 ชัว่ โมง
• ผูใ้ ห้บริ การ EDI สามารถให้บริ การในการรับ-ส่ งข้อมูล ทั้ง EDI, File
Transfer (non-EDI) และ E-mail
• ความรับผิดชอบหลักของผูใ้ ห้บริ การ EDI นอกจากการรับ-ส่ งข้อมูลได้
อย่างถูกต้องสมบูรณ์แล้ว ยังต้องสามารถ รักษาความปลอดภัยของตู ้
ไปรษณี ย ์ (Mailbox) ของลูกค้าแต่ละราย มิให้ผอู ้ ื่นเข้าไปดูขอ้ มูลได้
ผู้ให้ บริการ EDI
แบ่งผูใ้ ห้บริ การ EDI หรื อ VAN เป็ น 2 ประเภทหลักๆ คือ
• ผู้ให้ บริการ EDI ภายในประเทศ (Domestic VAN)
• ผู้ให้ บริการ EDI ระหว่ างประเทศ (International VAN)
ขั้นตอนการทางานของระบบ EDI
1. ผูส้ ่ งทาการเตรี ยมข้อมูล และแปลงให้อยูใ่ นรู ปแบบมาตรฐาน
UN/EDIFACT โดยใช้ Translation Software
2. ผูส้ ่ งทาการส่ งข้อมูลไปยังศูนย์บริ การของผูใ้ ห้บริ การ EDI ผ่านเครื อข่าย
สาธารณะโดยใช้ Modem
3. ผูใ้ ห้บริ การ EDI จะจัดเก็บข้อมูลเหล่านี้ไว้ในตูไ้ ปรษณี ย ์ (Mailbox) ของ
ผูร้ ับเมื่อข้อมูลไปถึงศูนย์บริ การ
4. ผูร้ ับติดต่อมายังศูนย์บริ การผ่าน Modem เพื่อรับข้อมูล EDI ที่อยูใ่ นตู ้
ไปรษณี ยข์ องตน
5. ผูร้ ับแปลงข้อมูลกลับโดยใช้ Translation Software ให้อยูใ่ นรู ปแบบที่
ระบบงานของตนสามารถรับไปประมวลผลได้
ประโยชน์ ของการใช้ EDI
• ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่ งเอกสาร
• ลดเวลาทางานในการป้ อนข้อมูล ทาให้ขอ้ มูลมีความถูกต้องและลด
ข้อผิดพลาดจากการป้ อนข้อมูลที่ซ้ าซ้อน
• เพิ่มความรวดเร็ วในการติดต่อสื่ อสาร
• ลดค่าใช้จ่ายและภาระงานด้านเอกสาร
• แก้ปัญหาอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และเวลา
ปัญหาและอุปสรรคของการใช้ EDI
• ผูบ้ ริ หารระดับสูงไม่ให้ความสนใจและไม่มี Commitment ที่ชดั เจน
• องค์กรส่ วนใหญ่ ยังขาดบุคลากรที่มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่ อง EDI
• ต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนระบบงานและขั้นตอนการบริ หารงาน
ภายใน
• ขาดผูช้ านาญงานทางด้าน IT ที่จะนา EDI ไปใช้ให้สอดคล้องกับระบบ
คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่
• กฎหมายและระเบียบของหน่วยงานราชการ ที่ไม่เอื้ออานวยต่อการใช้
EDI
Internet
• ยุคพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ เพียงมีแค่คอมพิวเตอร์ ที่ต่อกับ
อินเทอร์เน็ต
• ก็สามารถร่ วมกระบวนการค้า อิเล็กทรอนิกส์ได้ทนั ที
• ใช้เพียงเว็บบราวเซอร์ ในการเลือกซื้อสิ นค้า สัง่ ซื้ อและรับชาระ
เงิน
นิยามพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• คาจากัดความจากหน่ วยงาน
– กรมส่ งเสริมการส่ งออก กระทรวงพาณิชย์ ระบุวา่ พาณิ ชย์
อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การดาเนินธุรกิจทุกรู ปแบบที่เกี่ยวข้องกับ
การซื้อขายสิ นค้าและบริ การผ่าน ระบบสื่ อสารโทรคมนาคมหรื อสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์
– องค์ กรการค้ าโลก ให้คาจากัดความไว้วา่ พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
หมายถึง การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรื อการขนส่ ง
ผลิตภัณฑ์และบริ การโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
นิยามพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• คาจากัดความจากนักวิชาการ
– Turban et al. (2012:4) กล่าวว่า พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ กระบวนการซื้ อ
ขาย แลกเปลี่ยนสิ นค้า บริ การ และ/หรื อข้อมูลผ่านเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดย
ส่ วนใหญ่ผา่ นอินเทอร์ เน็ตและอินทราเน็ต
– Laudon and Traver (2007: 10) กล่าวว่า พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์หมายถึง
เฉพาะธุรกรรมที่เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนสิ่ งมีค่า เช่น เงิน ระหว่างองค์กรหรื อ
บุคคลเพื่อให้ได้มาซึ่ งสิ นค้าหรื อบริ การเท่านั้น ส่ วนธุรกรรมออนไลน์ที่เกิดขึ้น
ภายในบริ ษทั จะเรี ยกว่า Electronic Business
ลักษณะของการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• Laudon and Traver (2007:12-16) และ Roberts (2003:7-8) กล่าวถึงลักษณะ
ของการพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ ไว้ดงั นี้
1. สามารถทาการซื้อขายได้ทุกที่และตลอดเวลา
2. สามารถเข้าถึงได้ทวั่ โลก
3. มีความเป็ นมาตรฐานในระดับสากล
4. สามารถให้ขอ้ มูลที่มีความซับซ้อนและมีรายละเอียด
5. ความสามารถในการสื่ อสารโต้ตอบสองทาง
6. ทาให้ขอ้ มูลมีจานวนมากขึ้นและมีคุณภาพสู งขึ้น
7. สามารถสื่ อสารหรื อเสนอสิ นค้าหรื อบริ การได้แบบรายบุคคล
สินค้ าที่ซอื ้ ขายในพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• สิ นค้าที่มีลกั ษณะเป็ นข้อมูลดิจิทลั (Digital Products)
• สิ นค้าที่ไม่ใช่ขอ้ มูลดิจิทลั (Non-Digital Products)
รูปแบบการขาย
1.
2.
3.
Brick-and-mortar
Click-and-Mortar
Click-and-Click
รูปแบบการพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบสมบูรณ์ (Pure E-commerce)
• การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์แบบบางส่ วน (Partial E-commerce)
วงจรการทาการค้ าแบบเดิม
- ผูบ้ ริ โภคมีความต้องการสิ นค้า
- บริ ษทั ผลิตสิ นค้าเพื่อสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภค
- การโฆษณาขายสิ นค้าให้ผบู ้ ริ โภคทราบ
- จัดเตรี ยมส่ งสิ นค้าไปตามสถานที่ ๆ ผูบ้ ริ โภคสามารถหาซื้อได้สะดวก
- จัดทีมงานคอยดูแลบริ การและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
- เงินที่ขายสิ นค้าได้วนกลับเข้าสู่บริ ษทั
*** บริ การหลังการขายมีความสาคัญ? *****
วงจรของระบบการค้ าอิเล็กทรอนิกส์
กำรขำยซำ้
เข้ ำหำข้ อมูล
- ค้ นหา
ลูกค้ ำ
กำรสั่งซือ้ สินค้ ำออนไลน์
โฆษณำออนไลน์
สั่งซือ้ โดยทั่วไป
กำรกระจำยสินค้ ำ
- ส่ งทางออนไลน์ (For soft goods)
- ส่ งทางทั่วไป (For hard goods)
กำรบริกำรลูกค้ ำ
ทำงอิเล็กทรอนิกส์
ความสาคัญของพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• เนื่องมาจากอัตราการเติบโตของการใช้อินเตอร์เน็ตและการเพิ่มขึ้นของ
เว็บไซต์ทางธุรกิจที่มีอย่างต่อเนื่อง
• ทาให้การประกอบธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจบนอินเตอร์เน็ตเป็ นช่องทาง
การตลาดขนาดใหญ่ของโลกไร้พรมแดน
• สามารถเข้าถึงกลุ่มผูบ้ ริ โภคเป้ าหมายได้โดยตรงอย่างรวดเร็ ว ไร้
ขีดจากัดของเรื่ องเวลาและสถานที่ การแข่งขันทางการค้าเสรี และ
ระหว่างประเทศที่ตอ้ งแข่งขันและชิงความได้เปรี ยบกันที่ “ความเร็ ว”
ขั้นตอนในการซื้อขายสิ นค้ า ในแนวทางพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• ขั้นที่ 1 การค้นหาและการระบุ (Search and Identification)
• ขั้นที่ 2 การเลือกและการเจรจา (Selection and Negotiation)
• ขั้นที่ 3 การซื้ อสิ นค้าและบริ การทางอิเล็กทรอนิกส์
(Purchasing Products and Services Electronically)
• ขั้นที่ 4 การจัดส่ งสิ นค้าและบริ การ
(Product and Service Delivery)
• ขั้นที่ 5 การบริ การหลังการขาย (After-Sales Service)
ระบบชาระเงินที่
ปลอดภัย
ลูกค้ า
ระบบรักษา
ความปลอดภัย
อินเทอร์เน็ต
Web server
ระบบตะกร้าสัง่ ซื้ อสิ นค้า
Database Server
ระบบสนับสนุน
หลังสานักงาน
ระบบจัดส่ งสิ นค้า
แนวโน้ มของพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
1. ตอบสนองการบริ การแบบส่ วนตัว (Personalization)
2. มีระบบจัดส่ งสิ นค้าที่รวดเร็ วยิง่ ขึ้น (E-logistic)
3. สามารถปรับราคาให้แตกต่างไปตามลูกค้าแต่ละราย (Customer
Pricing)
4. ลูกค้าจะสามารถซื้อสิ นค้าได้ทุกที่ทุกเวลา โดยสามารถซื้อผ่านสื่ อ
ต่างๆ ได้หลากหลาย
5. มีการใช้โปรแกรมอัจฉริ ยะ (Intelligent Agent)
ที่มา : http://www.nectec.or.th/bid/mkt_info_tech_ecommerce.htm
องค์ ประกอบของระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
1.
2.
3.
4.
5.
6.
เว็บเพจ หรื อ ร้านค้าบนเว็บ
ระบบตะกร้ารับคาสัง่ ซื้ อ
ระบบการชาระเงิน
ระบบสมัครสมาชิก
ระบบขนส่ งสิ นค้า
ระบบติดตามคาสัง่ ซื้อ
องค์ ประกอบของระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
1. เว็บเพจ หรือ ร้ านค้ าบนเว็บ
• หน้าเว็บเพจสาหรับเสนอขายสิ นค้า บางทีเราเรี ยกกันว่า “หน้า
ร้าน” (Store Front)
การสร้างเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
1. พัฒนาด้ วยตนเอง ที่เรียกว่ า in-house
– ตัวอย่างโปรแกรมประเภท Open source ที่ระบุไว้ใน www.iwebask.com ได้แก่
osCommerce, Magento, Zen Cart, VirtualMart เป็ นต้น
2. พัฒนาโดยจ้ างทีมงานด้ านไอทีมอื อาชีพ ที่เรียกว่ า out-sourcing
3. ใช้ โปรแกรมสร้ างเว็บเพจพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ สาเร็จรูป
หน้ าร้ านอิเล็กทรอนิกส์
• ร้านค้าทัว่ ไป (General Stores/Malls)
• ร้านค้าเฉพาะอย่าง (Specialized Stores/Malls)
(อ้างอิง : Turban and King 2003: 46)
องค์ ประกอบของระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
2. ระบบตะกร้ ารับคาสั่ งซื้อ
•
เป็ นระบบที่สามารถคลิกเพื่อสั่งซื้ อสิ นค้าจากหน้าเว็บเพจได้
•
เมื่อต้องการสัง่ ซื้ อให้คลิกที่ขอ้ ความ สัง่ ซื้ อ หรื อ รู ปตระกร้า หรื อ รถเข็น ก็
จะปรากฏสิ นค้าที่ตอ้ งการในหน้าตระกร้าพร้อมค่าใช้จ่ายทั้งหมด
•
โดยมีช่องไว้กรอกจานวนสิ นค้าที่สั่งซื้ อได้ โดยการคลิกซื้ อแต่ละครั้งจะ
เป็ นการหย่อนลงในตะกร้าหรื อรถเข็น และสะสมไว้จนกว่าเราจะซื้ อของ
ครบ และตัดสิ นใจให้ระบบแคชเชียร์อตั โนมัติคานวณ
องค์ ประกอบของระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
3. ระบบการชาระเงิน
•
เป็ นระบบคานวณเงินและชาระเงินสิ นค้า
•
มีหลายวิธีให้ลกู ค้าเลือก เช่น โอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร บัตรเครดิต
•
การโอนถ่ายข้อมูลเกี่ยวกับบัตรเครดิตบนเครื อข่ายจาเป็ นต้องมีการเข้า
รหัสเพื่อป้ องกันการรั่วไหล ระบบที่ใช้กนั มากในปั จจุบนั คือ SSL
(Secure Socket Layers)
องค์ ประกอบของระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
4. ระบบสมัครสมาชิก
• บันทึกข้อมูลลูกค้าที่ตอ้ งการเป็ นสมาชิกเพื่อรับข่าวสาร และ
สัง่ ซื้อสิ นค้า
องค์ ประกอบของระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
5. ระบบขนส่ งสิ นค้ า
• การจัดส่ งสิ นค้ามีหลายทางให้เลือกตามความต้องการของลูกค้า
โดยแต่ละวิธีมีค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกัน
• มีการใช้บริ ษทั ขนส่ งสิ นค้า เช่น DHL , FedEx , UPS , EMS
แทนการส่ งสิ นค้าเองเพื่อสะดวกในการคานวณค่าใช้จ่ายในการ
ขนส่ ง
องค์ ประกอบของระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
6. ระบบติดตามคาสั่ งซื้อ
• ลูกค้าจะได้หมายเลขคาสัง่ ซื้อเมื่อเสร็ จสิ้ นการสัง่ ซื้อ
• สามารถนาหมายเลขนี้ไปตรวจสอบสถานะของสิ นค้าได้ เช่น
อยูร่ ะหว่างผลิต จัดส่ ง
เครื่องมือช่ วยเหลือ
สาหรับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
แคตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Catalogs)
เครื่ องมือช่วยค้นหา (Search Engine)
เว็บไซต์ทาการเปรี ยบเทียบราคา (Price Comparison Sites)
เว็บไซต์วิจารณ์และให้คะแนนสิ นค้าหรื อบริ การ (Business Review and
Rating Sites)
• เว็บไซต์ที่ให้คารับรองความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์อื่น ๆ (Trust
Verification Sites)
•
•
•
•
เครื่องมือช่ วยเหลือ
สาหรับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• แคตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Catalogs)
Turban and King (2003: 62-63) จัดแคตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ออกเป็ น 3
มุมมอง ได้แก่
1. รู ปแบบของการนาเสนอข้อมูล
2. ระดับของการนาเสนอเป็ นรายบุคคล
3. ระดับของการบูรณาการกับกระบวนการทางธุรกิจ
เครื่องมือช่ วยเหลือ
สาหรับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• เครื่องมือช่ วยค้ นหา (Search Engine)
– เป็ นเครื่ องมือช่วยให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงสิ นค้าและบริ การได้อย่าง
รวดเร็ ว
– เป็ นโปรแกรมที่เข้าถึงฐานข้อมูลและสื บค้นตามคาหลัก (Keyword)
ที่ถูกป้ อนและรายงานผล
เครื่องมือช่ วยเหลือ
สาหรับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• เว็บไซต์ ทาการเปรียบเทียบราคา (Price Comparison Sites)
– เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยให้การซื้อขายสิ นค้าหรื อบริ การมีประสิ ทธิภาพ
มากขึ้น
– ลูกค้าสามารถเปรี ยบเทียบราคาได้ง่าย
– Shopping Robots หรื อ Shopping Agents หรื อ Shopbots
เครื่องมือช่ วยเหลือ
สาหรับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• เว็บไซต์ ทาการเปรียบเทียบราคา (Price Comparison Sites)
แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1. General Shopbots เช่น
www.bizrate.com www.nextag.com
2. Specialized Shopbots เช่น
www.addall.com www.autobytel.com
**** ของไทยที่เป็ นผูน้ าเว็บด้านนี้ คือ www.priceza.com
เครื่องมือช่ วยเหลือ
สาหรับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• เว็บไซต์ วจิ ารณ์ และให้ คะแนนสิ นค้ าหรือบริการ (Business Review and
Rating Sites)
– เป็ นเครื่ องมือที่ผซู ้ ้ือค่อนข้างมีความเชื่อถือต่อข้อมูลการวิจารณ์และ
ให้คะแนนจากตัวลูกค้าเองมากกว่าการโฆษณาของแบรนด์
– เช่น www.jeban.com ในส่ วนของ user reviews
– www.tripadvisor.com
เครื่องมือช่ วยเหลือ
สาหรับระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
• เว็บไซต์ ที่ให้ คารับรองความน่ าเชื่อถือของเว็บไซต์ อนื่ ๆ (Trust
Verification Sites)
– เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยลดความกังวลในเรื่ องความน่าเชื่อถือของร้านค้า
– โดยจะมีองค์กรกลางที่มาทาหน้าที่รับรอง
– เช่น TRUSTe , Verisign , BBBOnline, WebTrust, กรมพัฒนาธุรกิจ
การค้า กระทรวงพาณิ ชย์
การพิจารณาความน่ าเชื่อถือของผู้ให้ บริการ
• การพิจารณาความน่าเชื่อถือของผูใ้ ห้บริ การ
– การจดทะเบียนพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
– การใช้โปรโตคอล SSL (Secure Socket Layer)
– ใบรับรองดิจิตอล (Digital Certificate)
การพิจารณาความน่ าเชื่อถือของผู้ให้ บริการ
• ข้อแนะนาในการพิจารณาความปลอดภัยในการใช้บริ การ
– อย่าเชื่อใจในสิ นค้าที่ราคาถูกกว่าท้องตลาดมากเกิน
– หลีกเลี่ยงการจ่ายเงินจานวนมาก ถ้าต้องจ่ายจานวนมากให้นดั เจอเพื่อ
พบส่ งมอบสิ นค้าและจ่ายเงิน
– เมื่อนัดพบส่ งสิ นค้า ให้ขอเอกสารยืนยันการซื้อขาย หรื อติดต่อ
– ทดลองสัง่ ซื้อสิ นค้าจานวนน้อยๆ เพื่อสร้างความมัน่ ใจ
– อย่าไว้ใจข้อมูลในเว็บไซต์เครื อข่ายสังคมของผูข้ าย
การพิจารณาความน่ าเชื่อถือของผู้ให้ บริการ
• ข้อแนะนาในการพิจารณาความปลอดภัยในการใช้บริ การ (ต่อ)
– ตรวจหาชื่อ นามสกุลจริ ง หรื อเลขบัญชีธนาคารที่จ่ายเงิน และนาข้อมูล
นั้นไปตรวจสอบในเว็บไซต์ Google
– พิจารณาระยะเวลาในการใช้ชื่อเว็บไซต์
– ควรซื้อสิ นค้าจากผูข้ ายได้เคยทาธุรกิจกับผูใ้ ห้บริ การตลาดกลางที่มี
ชื่อเสี ยง
– ตรวจสอบการสนทนาและโต้ตอบกันของผูข้ ายกับลูกค้าของเว็บไซต์
การพิจารณาความน่ าเชื่อถือของผู้ให้ บริการ
• ข้อแนะนาในการพิจารณาความปลอดภัยในการใช้บริ การ (ต่อ)
– ตรวจสอบความใหม่ของสิ นค้าหน้าเว็บไซต์ และการอัพเดทเว็บไซต์
– ทดลองติดต่อสอบถามกับลูกค้าที่เคยซื้อสิ นค้าจากเว็บไซต์ที่เราสนใจ
– ตรวจสอบเบอร์ติดต่อของผูข้ ายที่ให้ไว้
– ตรวจสอบการจดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
– การชาระเงินด้วยบัตรเครดิตมัน่ ใจกว่าการโอนเงิน
กิจกรรม
ให้ นิสิตแต่ ละกลุ่มช่ วยกันตอบคาถามต่ อไปนี้ และนามา
อภิปรายกับเพือ่ นในกลุ่มอืน่ หน้ าห้ อง
• ข้อแตกต่างระหว่างการทาธุรกิจทัว่ ไปกับการพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
• ข้อดีของพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
• ผูไ้ ด้รับประโยชน์จากพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์มีใครบ้าง
ได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง
• อุปสรรคของการพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์