ความรู้เรื่องการใช้ยา เบญจวรรณ นันทชัย High alert drug

Download Report

Transcript ความรู้เรื่องการใช้ยา เบญจวรรณ นันทชัย High alert drug

ความร้ ู เรื่ องการใช้ ยา
เบญจวรรณ นันทชัย
High alert drug - ยาที่มีความเสี่ยงสูง
 ยาที่เสี่ยงสูงที่จะก่ อให้ เกิดอันตราย หรือผลเสียต่ อ
ผู้ป่วยที่รุนแรง ถ้ าหากมีความผิดพลาดในการสั่งใช้
ยา คัดลอกคาสั่งใช้ ยา จ่ ายยา การให้ ยา หรือ ผลของ
ยาที่อาจเป็ นอันตรายต่ อผู้ใช้ ยา
High Alert Medication
Specific High Alert Medications List
Insulin( subcutaneous and IV)
Magnesium Sulfate injection
Methotrexate, oral, for non-oncologic us
Nitroprusside Sodium for injection
Potassium Chloride for injection concentrate
Potassium Phosphates injection
Sodium Chloride injection
Anticoagulants ( warfarin /Coumadin )
Actions That Can Be Taken in Clinical Areas
Risk awareness – Be aware of high alert
products in your area.
Review Floor Stock to reduce availability of
items, as well as, quantities.
Know the medications that you administer e.g.
dose, route, common adverse effect &
monitoring
Read the label three times (RL3).
Warfarin (Coumadin) ยานีม้ ีอันตรายมาก
 เป็ นยาในกลุ่มยาต้ านการ
แข็งตัวของเลือดหรื อยา
ละลายลิ่มเลือด ชนิดกิน
(oral anticoagulant)
มีข้อบ่ งใช้ ในการป้องกันการ
แข็งตัวของเลือดจนเกิดการ
อุดตันของหลอดเลือด เป็ น
ยาที่ใช้ ในผู้ป่วย
pulmonary embolism
atrial fibrillation
myocardial infarction
deep vein thrombosis
cardio embolism
Stroke
ผู้ป่วยที่ใส่ ลิน้ หัวใจเทียม
อาการไม่ พงึ ประสงค์ ของ warfarin
ภาวะเลือดออก ซึ่งอาการบ่ งบอกว่ ามีภาวะดังกล่ าวได้ แก่
 อาการปวดท้ อง ถ่ายอุจาระเป็ นเลือดแดง หรื อดา พบจ ้าเลือดตามผิวหนัง
 ไอมีเสมหะปนเลือด อาเจียนเป็ นเลือด หรื อ สีคล ้า
 ประจาเดือนมามาก
 ปั สสาวะเป็ นเลือด
 มีจ ้าเลือดใต้ ผิวหนัง
 เลือดไหลจากแผลตลอด
คาแนะนาปฏิบตั ติ นสาหรับผู้ป่วยที่ได้ รับยา Warfarin
•
•
•
•
•
•
•
•
•
หลีกเลี่ยงการเล่ นกีฬาที่มีการกระทบกระแทก
สวมถุงมือหากต้ องใช้ อุปกรณ์ มีคม
ลด/หยุดการดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ระมัดระวังการลื่นล้ ม โดยเฉพาะในผู้ป่วยสูงอายุ
สวมหมวกกันน็อคทุกครั ง้ ที่ขับขี่รถจักรยานยนต์
หลีกเลี่ยงการนวดที่รุนแรง
หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ ากล้ าม
แจ้ งแพทย์ หรื อทันตแพทย์ ทุกครั ง้ ว่ ารั บประทานยา Warfarin
ต้ องแจ้ งแพทย์ ยาวิตามินและสมุนไพรที่รับประทาน เช่ น coenzyme
Q10 โสม ใบแป๊ะก๊ วย
• หากมีการย้ ายถิ่นฐาน ให้ นาประวัตผิ ้ ูป่วยจากโรงพยาบาลเดิมมาด้ วย
ข้ อแนะนาการรั บประทานอาหารในผู้ป่วยที่ใช้ ยา
warfarin
• เนื่องจาก warfarin เป็ น vitamin K antagonists
อาหารให้ Vit. Kสูง เช่ น ตับ ชาเขียว ผักใบเขียว (อาทิ ผักขม
ผักกาดหอม กระหล่าต่ างๆ) นา้ มันจากพืช อาจมีผลต้ านการออก
ฤทธิ์ของ warfarin ได้
• ในทางปฏิบัตไิ ม่ ได้ ห้ามผู้ป่วยกินอาหารดังกล่ าว เพียงแต่ แนะนา
ให้ กินในปริมาณที่คงที่ เนื่องจากการกินอาหารที่มี Vit. Kอย่ าง
ไม่ สม่าเสมอจะส่ งผลกระทบถึงการปรับขนาดยาที่ไม่ เหมาะสม
จนผู้ป่วยอาจเกิดอันตรายได้ .
ขนาดยาที่มีใช้ ในโรงพยาบาล
Lanoxin® Tablet 0.25 mg
Lanoxin® Elixir 0.05
mg/mL
Lanoxin® Injection 0.5
mg/2 mL
แนวทางบริหารยา HAD : Digoxin
แนวทางบริหารยา HAD : Digoxin
Digoxin is used to treat heart failure.
Digoxin helps make the heart beat stronger and
with a more regular rhythm.
Digoxin is also used to treat atrial fibrillation, a
heart rhythm disorder of the atria (the upper
chambers of the heart that allow blood to flow
into the heart).
Digoxin เพิ่ม cardiac contractility
มีฤทธิ์เพิ่มแรงบีบตัวของกล้ ามเนือ้ หัวใจ
 ก่ อนให้ ยาทุกครัง้ ต้ องนับอัตราชีพจรใน 1 นาที ถ้ า เท่ ากับ หรือ
น้ อยกว่ า 60 ครัง้ ต่ อนาทีหรือมีจังหวะความแรงไม่ สม่าเสมอ หรือ
มี pulse deficit ต้ องนับอัตราการเต้ นของหัวใจอีกครัง้
อาการไม่ พงึ ประสงค์ และต้ องเฝ้าระวัง กรณีใช้ ยา
Digoxin
เบื่ออาหาร อุจจาระร่ วง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ การ
มองเห็นผิดปกติ เช่ น มองเห็นแสงสีเหลืองเขียว สายตา
พร่ ามัว หรือ เห็นแสงเป็ นรัศมีรอบๆวัตถุ
ใจสั่น อ่ อนเพลีย ง่ วงซึม อาการคล้ ายโรคจิตเช่ น
ความจาสับสน ซึมเศร้ า ฝั นร้ าย และประสาทหลอนได้
และอาการที่รุนแรงคือ neuralgic pain โดยเกิด
อาการปวดกล้ ามเนือ้ ส่ วนupper
extremities และ lumbar area
ยาอมใต้ ลนิ ้ (Sublingual Tablets)
ใช้ รักษาอาการเจ็บหน้ าอกเฉียบพลันจากภาวะเส้ นเลือดที่
ไปเลีย้ งหัวใจตีบส่ งผลให้ กล้ ามเนือ้ หัวใจขาดเลือด ซึ่งเป็ น
ภาวะที่ต้องการการรักษาอย่ างเร่ งด่ วน
วิธีใช้ ยาอมใต้ ลิ ้นอย่างถูกวิธี
http://www.youtube.com/watch?v=Tf7nM5yobr8
ยาอมใต้ ลนิ ้ (Sublingual Tablets)
ออกฤทธิ์เร็วและดีกเ็ พราะสามารถละลาย และดูดซึมผ่ านเส้ นเลือดที่อยู่ใต้ ลนิ ้
(Jugular vein) ได้ เลย โดยไม่ ต้องผ่ านการดูดซึมในทางเดินอาหาร เช่ น
กระเพาะ หรื อลาไส้ เล็ก แบบยาเม็ดปกติ
วิธีใช้ ยาอมใต้ ลนิ ้ ที่ถูกต้ อง
การนั่งลงบนเก้ าอีท้ ่ ีมีพนักพิงและเท้ าแขน หากไม่ มีกใ็ ห้ น่ ังลงกับพืน้ หลัง
พิงกาแพง เสา ตู้ หรื อต้ นไม้ หรื อให้ มีคนช่ วยประคองหลังไว้
นายา 1 เม็ด (ห้ ามใช้ เกิน ครั ง้ ละ 1 เม็ด) วางไว้ ใต้ ลนิ ้ (ห้ ามเคีย้ ว ทาให้
แตก หรื อบดยา) จากนัน้ ปิ ดปาก และอมยาไว้ โดยไม่ กลืนนา้ ลาย ไม่ ด่ ืมนา้
หรื อเครื่ องดื่มใดๆ ตามลงไป ปล่ อยให้ ยาค่ อยๆ ถูกดูดซึม ผ่ านหลอด
เลือดบริเวณใต้ ลนิ ้ อาการเจ็บหน้ าอกจะค่ อยๆ บรรเทาลงภายใน 1-2 นาที
ถ้ าหลังจากอมยาไปแล้ ว 5 นาที อาการยังไม่ ดีขนึ ้ ให้ อมยาเม็ดที่ 2 รอดู
อาการอีก 5 นาที ถ้ ายังมีอาการเจ็บหน้ าอกอยู่ ให้ อมยาเม็ดที่ 3 แล้ วรี บไป
โรงพยาบาล
หากอมยาไป 3 เม็ดแล้ ว อาการยังไม่ ดีขนึ ้ นัน้ มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะ
กล้ ามเนือ้ หัวใจตาย อันจะส่ งผลต่ อไปให้ การทางานของหัวใจผิดปกติ หรื อ
อาจถึงขัน้ เสียชีวติ ได้
การเก็บรั กษายาอมใต้ ลนิ ้
ยาอมใต้ ลนิ ้ มีความไวต่ อแสงและความร้ อนมาก ควรเก็บไว้ ในภาชนะ
บรรจุท่ กี ันแสง เช่ น ขวดสีชา หรื อทึบแสง ที่มีฝาปิ ดสนิทไม่ ควรเก็บไว้
ในที่ร้อน หรื อ อาจเก็บไว้ ในตู้เย็นช่ องธรรมดา
 มีข้อควรระวังสาหรั บการเก็บไว้ ในกระเป๋ากางเกง โดยไม่ ได้ ใส่
ภาชนะบรรจุท่ เี หมาะสมก่ อนนัน้ อาจทาให้ ยาเสื่อมคุณภาพได้ ง่าย
บ้ างก็เกิดระเบิดได้ เนื่องจาก ยาเป็ นกลุ่มไนเตรท
หากไม่ มีการใช้ ยาเป็ นเวลานาน ควรเปลี่ยนยาใหม่ ทุก 6 เดือน และ
หากมีเม็ดยาที่แตก หรื อเปื่ อยยุ่ยก่ อน 6 เดือนก็ควรทิง้ ยาเม็ดนัน้
หากใช้ ยาอมใต้ ลนิ ้ แล้ วไม่ ร้ ู สึกซ่ าๆ เหมือนมีเข็มเล็กทิ่มแสดงว่ ายา
นัน้ หมดอายุแล้ ว ก็ควรเปลี่ยนยาใหม่ เช่ นกัน
ผลข้ างเคียงจากยาอมใต้ ลนิ ้ ที่พบได้ บ่อย
อาการปวดศีรษะ
 อาการร้ อนวูบวาบตามตัว
 หัวใจเต้ นเร็ว
ความดันโลหิตต่าลง บางรายเป็ นลมหมดสติได้
 อาการปวดศีรษะจากยาอมใต้ ลนิ ้ เป็ นผลข้ างเคียงที่
เป็ นอยู่ไม่ นานเพราะยาออกฤทธิ์สัน้
การใช้ ยาในหญิงตัง้ ครรภ์
การใช้ ยาในหญิงตัง้ ครรภ์ เป็ นเรื่ องต้ องระมัดระวังความปลอดภัยของการ
ใช้ ยาว่ า เนื่องจากส่ งผลเสียต่ อทารกในครรภ์ ของแม่
ความสัมพันธ์ ของยาต่ อทารกในครรภ์
แม่ ท่ ีกาลังตัง้ ครรภ์ หากมีการเจ็บป่ วยขึน้ จาเป็ นต้ องใช้ ยาในการรั กษา ใน
กรณีนีค้ วรเลือกใช้ ยาด้ วยความระมัดระวังเป็ นพิเศษ ไม่ ควรซือ้ ยาใช้ เอง
เพราะอาจเกิดอันตรายกับทารกในครรภ์
ยาส่ งต่ อจากแม่ ถงึ ทารกทางสายสะดือ
เมื่อแม่ ใช้ ยาจะส่ งผลต่ อทารกในครรภ์ ด้วย เพราะยาในกระแสเลือดของแม่
จะซึมผ่ านรกเข้ าสู่กระแสเลือดของทารกในครรภ์ ได้ เช่ นเดียวกับนา้
สารอาหาร และออกซิเจนที่ทารกได้ รับทางสายสะดือ ยาจะส่ งผลกระทบ
ต่ อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ นัน้ ขึน้ อยู่กับ 2 ปั จจัย คือ อายุของ
ทารก ชนิดและขนาดของยาที่แม่ ได้ รับ
ความรู้ เรื่องการใช้ ยาในสตรีมีครรภ์
 องค์ การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา (USFDA) ได้ แบ่ งประเภทของ
ยาสาหรั บสตรี มีครรภ์ เอาไว้ 5 กลุ่ม ได้ แก่
กลุ่ม A - ยาที่ปลอดภัย สามารถรั บประทานได้ เช่ น paracetamol โดย
รั บประทานในปริมาณปรกติ คือรั บประทานครัง้ ละ 2 เม็ด (เม็ดละ 500 มิลลิ
กรรม) วันละ 4 ครัง้ และไม่ ควรรั บประทานติดต่ อกันนานเกิน 5 วัน
กลุ่ม B – ยาที่ไม่ ควรรั บประทาน แต่ หากจาเป็ นก็รับประทานได้ ได้ แก่ ยาแก้
อักเสบ เช่ น amoxicillin , ampicillin แต่ ต้องอยู่ภายใต้ การ
ควบคุมดูแลของแพทย์ หรื อเภสัชกร
กลุ่ม C - ยาไม่ ค่อยมีความปลอดภัยในสตรี มีครรภ์ เช่ น ยาแก้ อักเสบบาง
ชนิด ซึ่งหากมีความจาเป็ นต้ องใช้ ควรเลี่ยงไปใช้ ยาในกลุ่ม B แทน
ความรู้ เรื่องการใช้ ยาในสตรีมีครรภ์
กลุ่ม D - ยาที่มีความเสี่ยงที่จะทาให้ เกิดความผิดปรกติต่อทารกในครรภ์
เช่ น ยาต้ านอาการชัก ยารั กษาโรคธัยรอยด์ ยาในกลุ่มSulfa ยาควบคุม
ความดันโลหิต และ Tetracycline ซึ่งในกรณีท่ ีจาเป็ นต้ องใช้ เพื่อช่ วยชีวติ
มารดา แพทย์ จะพิจาณาใช้ เป็ นราย ๆ ไป
กลุ่ม X - ยาที่เป็ นอันตรายต่ อสตรี มีครรภ์ เช่ น ยานอนหลับ ยาคุมกาเนิด
(ทาให้ อวัยวะสืบพันธุ์ของทารกมีปัญหา) ยารั กษาไมเกรน(ทาให้ แท้ งได้ ) ยา
รั กษามะเร็ง(อาจทาให้ ทารกปากแหว่ ง เพดานโหว่ ) ยารั บประทานรั กษาสิวใน
กลุ่มวิตามิน A สงเคราะห์ (ทาให้ เกิดความพิการในทารก)
สาหรั บยาสามัญประจาบ้ านตัวอื่น ๆ เช่ นยาแก้ แพ้ ยาแก้ คลื่นไส้ อาเจียน ยา
แก้ แพ้ ท้อง(dimenhydrinate หรื อ วิตามิน B6) เป็ นยาที่สามารถใช้ ใน
สตรี มีครรภ์ ได้ ส่ วนยาแก้ ไข้ ในกลุ่ม aspirin , Ibuprofen เป็ นยาที่ไม่
ควรใช้ เพราะอาจทาให้ เกิดเลือดออกหรื อจา้ เลือด ซึ่งอาจเป็ นอันตรายต่ อ
ทารกในครรภ์ ได้
ความร้ ู เรื่ องการใช้ Insulin
อินซูลิน เป็ นฮอร์ โมนที่ตบั อ่ อนสร้ างขึน้ และ จาเป็ นในการนา
นา้ ตาลในเลือดไปยังเนือ้ เยื่อต่ าง ๆ ทั่วร่ างกายที่ต้องการพลังงาน
แต่ ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน การสร้ างเซลล์ ต่าง ๆ ในร่ างกายไม่
สามารถนานา้ ตาลในเลือดที่ได้ จากการเปลี่ยนแปลงจากอาหาร
ไปใช้ ให้ เป็ นพลังงานได้ อย่ างเต็มที่ เพราะขาดฮอร์ โมนอินซูลิน
จึงเป็ นสาเหตุท่ ที าให้ ระดับนา้ ตาลในเลือดสูง
ผู้ป่วยจะมีอาการปวดปั สสาวะบ่ อย กระหายนา้ อ่ อนเพลีย เบื่อ
อาหาร มีโรคแทรกซ้ อนง่ าย เช่ น โรคติดเชือ้ เป็ นแผลหายยาก
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต และโรคตา
เมื่อไรถึงต้ องใช้ อนิ ซูลิน
ผู้ป่วยเบาหวานที่ตบั อ่ อนสร้ างอินซูลินไม่ เพียงพอกับความ
ต้ องการของร่ างกาย
ผู้ป่วยเบาหวานที่มีโรคแทรกซ้ อนทางตับ ไต และรักษาโดยยา
ชนิดรับประทานไม่ ได้ ผล
ลักษณะของอินซูลิน
**อินซูลินใส จะเหมือนนา้ บริสุทธิ์ ไม่ มีสี เป็ นยาที่ให้ ผลรวดเร็วหลัง
ฉีดประมาณ 30 นาที มีช่วงเวลาออกฤทธิ์เพียง 6 ชั่วโมง
(โดยประมาณ)
**อินซูลินขุ่น จะมีตะกอนเล็ก ๆ แขวนลอยอยู่ ออกฤทธิ์นาน
ประมาณ 16 – 20 ชั่วโมง
ตาแหน่ งฉีดอินซูลิน
ฉีดได้ ทงั ้ บริเวณหน้ าท้ อง หน้ าขาทัง้ 2 ข้ าง สะโพก
ต้ นแขนทัง้ 2 ข้ าง
ต้ องใช้ แอลกอฮอล์ เช็ดทาความสะอาดบริเวณที่จะฉีด
 เมื่อดึงเข็มออก ให้ ใช้ สาลีกดเบา ๆ ห้ ามนวดตรงที่ฉีด
 ในการฉีดครั ง้ ต่ อไปควรฉีดห่ างจากจุดเดิม 1 นิว้ และควรฉีดบริเวณ
เดียวกันให้ ท่ วั ก่ อนไปฉีดบริเวณอื่น
***ห้ ามฉีดซา้ ที่เดิมมากกว่ า 1 ครั ง้ / 1 - 2 เดือน
***ผู้ป่วยโรคเบาหวานงายต่ อการติดเชือ้ ควรรั กษาอนามัยส่ วนตัวให้
สะอาด โดยเฉพาะฟั นและเท้ า ถ้ ามีบาดแผล รอยข่ วน หรื อแผลเปื่ อย
ยิ่งต้ องระมัดระวังเรื่ องความสะอาดเป็ นพิเศษ
ข้ อแนะนาผู้ป่วยเรื่ องอาการข้ างเคียงและข้ อควรปฏิบัติ
1. ภาวะนา้ ตาลในเลือดต่า เป็ นผลจากการให้ อินซูลินมากเกินไป
รั บประทานอาหารน้ อยเกินไป ผิดเวลา หรื อช่ วงระหว่ างมือ้ นาน
เกินไป ออกกาลังกายหรื อทางานมากกว่ าปกติ จะมีอาการปวดหัว
เหงื่อออก ใจสั่น กระสับกระส่ าย อ่ อนเพลีย ชาในปากหรื อริ มฝี ปาก
เดินเซ หงุดหงิด มองภาพไม่ ชัด ถ้ ามีอาการเหล่ านีใ้ ห้ ด่ มื นา้ ผลไม้
หรื อรั บประทานของที่มีนา้ ตาลผสม (ห้ ามใช้ นา้ ตาลเทียม) และพบ
แพทย์ ทนั ที
2. ภาวะนา้ ตาลในเลือดสูง เป็ นผลจากการได้ รับอินซูลินไม่ เพียงพอ
หรื อรั บประทานมากเกินไป จะปั สสาวะบ่ อย กระหายนา้ หิว ปวดหัว
อ่ อนเพลีย คลื่นไส้ มึนงง ถ้ าเป็ นลมให้ นาส่ งโรงพยาบาลทันที
ข้ อแนะนาผู้ป่วยเรื่ องอาการข้ างเคียงและข้ อควรปฏิบัติ
3. แนะนาให้ ผ้ ูป่วยเบาหวานมีบตั รประจาตัวระบุช่ ือนามสกุล ชื่อแพทย์
ประจาตัว เบอร์ โทรศัพท์ ชื่อชนิดและขนาดของอินซูลินที่ใช้ พกติดตัวเสมอ
4. ข้ อแนะนาในการเก็บรักษา Insulin
**เก็บอินซูลินที่อุณหภูมิ 2 – 8 องศาเซลเซียส เก็บได้ นานเท่ ากับอายุยา
ข้ างขวดแต่ สามารถเก็บไว้ ในอุณหภูมิห้อง (ประมาณ 25 องศาเซลเซียส) ได้
นานประมาณ 1 เดือน
**ไม่ ควรให้ อนิ ซูลินอยู่ในอุณหภูมิสูง เช่ น กลางแดดจัด หรื ออุณหภูมิต่า
มากๆ เช่ น ในช่ องแช่ แข็งของตู้เย็น จะทาให้ ยาเสื่อมคุณภาพ
5.ผู้ป่วยเบาหวาน นอกจากการรั บอินซูลินตามแพทย์ ส่ ังแล้ ว ควรหมั่นออกกาลัง
กาย ควบคุมอาหารอย่ างเคร่ งครั ด
Reference
• http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/epl/articledetail.asp?id=331
• http://www.ismp.org/tools/highalertmedica
tions.pdf
• http://www.drugs.com/sfx/digoxin-sideeffects.html