Pitfall DM (พว.จิตชญา)

Download Report

Transcript Pitfall DM (พว.จิตชญา)

Pitfall
&
Management
For …DM
Pitfall (n.) แปลว่า หลุม
พราง,กับดักอ ันตรายแอบ
Pitfall… การจัดการ
รายกรณี
ประเด็น หรือเหตุการณ์ทอาจ
ี่
ทาให้การจัดการเกิดความ
ผิดพลาด หรือไม่สาเร็จ
่ ผู
่ จ
เป็ นสิงที
้ ัดการรายกรณี ควร
การจัดการเรี
นรู ้จากข้อดผิระวั
ดพลาด
ให้ความส
าคัญ ยและระมั
ง
ในการปฏิบต
ั งิ านจัดการราย
กรณี
(pitfall)
่ ดขึนจริ
้
่
่ าค ัญ
ซึงเกิ
งทีพบบ่
อย หรือเป็ นข้อผิดพลาดทีส
Pitfall
&
Management
DM
ประเด็นปั ญหา &
อุ
ป
สรรค
่ ่
• “สิงทีเราดู แล (Care) คือ ตัวผู ป
้ ่ วย ไม่ใช่
้
ระดับนาตาล”
้ั แพทย
่
• ทุกครงที
์หรือพยาบาลพบว่า ผู ป
้ ่ วย
่
ทีมาร
ับการร ักษาต่อเนื่ องมานานหลายปี
กลับไม่สามารถร ักษาระดับน้ าตาลได้ตาม
Practice
่ ความเจ็บป่หรื
“บุคคล” ทีguideline
มี
วย อPrescribing by
่
่
่
numbers
ยิ
งเป็
นโรคเบาหวานที
คุ
มไม่ได้
เป็ นหลัก ไม่ใช่ “ตัวเลข” ที
่ ก็ย
นานเท่
าไหร่
งเกิ
ิ่ ดภาวะแทรกซ ้อนมาก
เป็
นเพียงเครื
องมื
อในการวัด
้
้ ับสารเคมี
ระด
ในเลือวดเท่านัน
ขึนเป็
นเงาตามตั
ปั ญหาการดู แลร ักษา
่
้ ประมาณครึงหนึ
่
่ง
เบาหวาน
• ผู เ้ ป็ นเบาหวานเพิ
มมากขึ
น
•
•
•
•
ไม่ได้ร ับการวินิจฉัย
แพทย ์ และบุคลากรทางการแพทย ์ ยังขาด
ความรู ้ ความชานาญในการดู แลร ักษา
เบาหวานอย่างถู กต้อง
ผู เ้ ป็ นเบาหวาน ยังขาดความรู ้ และมีทศ
ั นคติ
ต่อโรคเบาหวานไม่ถูกต้อง
มาตรฐานในการร ักษาเบาหวาน ยังมีความ
แตกต่างกันในโรงพยาบาลระดับต่างๆ ทัง้
ภาคร ัฐและเอกชน
ผู เ้ ป็ นเบาหวานส่วนใหญ่ยงั ควบคุมไม่ด ี
24
ความครอบคลุมของการวินิจฉัย ร ักษา
และควบคุมเบาหวาน
่ รายงานการสารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครงที
้ั ่
ทีมา:
โรคเบาหวานคือ
่ าให้เกิดความไม่สมดุลของ
• เป็ นโรคทีท
ขบวนการเมตาบอลิสมของคาร ์โบไฮเดรต
ไขมัน และโปรตีน
• มีลก
ั ษณะเด่น คือ ระดับน้ าตาลในเลือดสู ง ซึง่
เกิดจากความบกพร่องในการสร ้าง และการ
ทางานของอินซูลน
ิ
้
อดไปใช้เป็ น
• ทาให้ไม่สามารถนานาตาลในเลื
พลังงานให้กบ
ั เซลล ์ต่างๆ ในร่างกายได้
้
โรคเบาหวานเกิดขึนจากการขาดอิ
นซูลน
ิ หรือ
เกณฑ ์ในการแบ่งชนิ ดและ
วินิจฉัย
เกณฑ ์ในการแบ่งชนิ ดและวินิจฉัยเบาหวาน
ใหม่ (พ.ศ.2540) ได้แบ่ง
่ ยนไป
่
เบาหวานออกเป็ น 4 ชนิ ดโดยมีสงที
ิ่ เปลี
จากเดิมคือ
่ นซูลน
1. ยกเลิกคา เรียก “เบาหวานชนิ ดพึงอิ
ิ
(insulin-dependent diabetes mellitus,
type I diabetes, IDDM, juvenile onset
diabetes)” และ “เบาหวานชนิ ด ไม่พงึ่
อินซูลน
ิ (non-insulin-dependent diabetes
mellitus, type II diabetes,NIDDM, adult-
3. ยกเลิกคา เรียก “เบาหวานชนิ ดที่
เกิดจากภาวะทุพโภชนา
(malnutrition-related diabetes)”
เพราะว่ามีหลักฐานไม่ช ัดเจนนักว่า
เบาหวานเกิดจากการขาดโปรตีน
โดยตรง
4. คงคาว่า impaired glucose
tolerance (IGT) และ impaired
fasting glucose (IFG) ไว้
5. คงคาว่า gestational diabetes
ชนิ ดของโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานแบ่งเป็ น 4 ชนิ ดตาม
สาเหตุของการเกิดโรค
1. โรคเบาหวานชนิ ดที่ 1 (type 1
diabetes mellitus, T1DM)
2. โรคเบาหวานชนิ ดที่ 2 (type 2
diabetes mellitus, T2DM)
่ สาเหตุจาเพาะ
3. โรคเบาหวานทีมี
พยาธิสภาพของโรคเบาหวาน
ชนิ ดที่ 2 (Type 2)
่ าค ัญมี 2 ประการ
ทีส
่ นซูลน
1. มีการหลังอิ
ิ น้อยกว่าปกติ ในภาวะที่
่ นซูลน
ร่างกายมีการหลังอิ
ิ น้อยกว่าปกติทาให้
ระด ับน้ าตาลในเลือดสู ง มีอาการแสดงของ
โรคเบาหวานแต่มก
ั ไม่ทาให้เกิดภาวะคีโตอะซิ
้ เพราะร่
้
โดซีส ทังนี
างกายยังพอมีอน
ิ ซูลน
ิ อยู ่
่
ในระด ับทีสามารถน
ากลูโคสเข้าเซลล ์ได้บา้ ง
จึงไม่สลายไขมัน และโปรตีนมาใช้เป็ น
พลังงาน ร่างกายจึงไม่เกิดภาวะกรดคง่ ั แต่เกิด
ภาวะวิกฤตจากระด ับน้ าตาลใน เลือดสู งแทน
้ ออินซูลน
ิ (Insulin Resistance) คือ
• 2. เกิดภาวะดือต่
่ อเยื
้ อมี
่ จานวนลดลง ทา
ภาวะที่รีเซ็บเตอร ์ต่ออินซูลน
ิ ทีเนื
้
้ อไม่
่
ให้มก
ี ารใช้น้ าตาลทางกล้ามเนื อลดลง
ทาให้เนื อเยื
้ งมีการผลิต
สามารถนากลูโคสไปใช้ได้ นอกจากนี ยั
่ น
้ การขาดอินซูลน
น้ าตาลจากตับเพิมขึ
ิ ทาให้กลูโคส
่ บในรู ปของไกลโคเจน
จากอาหารไม่สามารถเก็บสะสมทีตั
่
ได้ระดับน้ าตาลในเลือดจึงสู ง เมือระดั
บน้ าตาลในเลือดสู ง
่
เกินความสามารถของไต (renal threshold) ทีจะดู
ดซึม
กลูโคสได้หมดคือ 180 มก. ต่อดล. ทาให้ตรวจพบ
่
น้ าตาลในปั สสาวะได้ เมือกลูโคสขั
บออกมาทางปั สสาวะ
มาก ทาให้เกิดภาวะออสโมติกไดยู รซ
ี ส
ี (Osmotic
diuresis) ร่างกายจึงเสียน้ าและอิเล็กโตรลัยท ์ออกมา
่ ยน้ ามากทาให้
ทางปั สสาวะมาก (polyuria) และเมือเสี
่ น
้ (polydipsia) นอกจากนี ้
ผู ป
้ ่ วยรู ้สึกกระหายน้าเพิมขึ
การขาดอินซูลน
ิ ทาให้ตบ
ั เกิดกระบวนการกลูโคจีโนไล
่
่
ความเสียงที
ควรได้
ร ับการตรวจค ัดกรอง
เบาหวาน
้
1. อายุ 35 ปี ขึนไป
2. ผู ท
้ อ้
ี่ วน(BMI ≥25 หรือรอบเอว≥90 ในชาย,≥80
ในหญิง)และมีพ่อ แม่ พี่ หรือ น้อง เป็ น
โรคเบาหวาน
3. เป็ นโรคความดันโลหิตสู งหรือกินยาควบคุมความ
ดันโลหิตอยู ่
4. มีระด ับไขในเลือดในเลือดผิดปกติ TG ≥250 HDL
≤ 35
้
์หรือเคยคลอด
5. มีประวัติเป็ นเบาหวานขณะตังครรภ
้ กปี *
ถ้
า
ผลปกติ
ค
วรได้
ร
ับการตรวจซ
าทุ
้
บุตรนาหนักมากกว่า 4 kg
(ADA 3 ปี )
6. เคยได้ร ับการตรวจพบว่าเป็ น impaired glucose
วิธวี น
ิ ิ จฉัยโรคเบาหวาน
• ตรวจระดับกลูโคสในพลาสมาหลังอดอาหาร
่ั
อย่างน้อย 8 ชวโมง
(fasting plasma glucose
– FPG)
• ตรวจระดับกลูโคสในเลือดแบบสุ่ม (random
blood- glucose) โดยไม่ผูป
้ ่ วยไม่ตอ
้ งอดอาหาร
่ อาการของระด ับน้ าตาลสู ง
มาก่อน ในผู ป
้ ่ วยทีมี
ในเลือด
ในประเทศไทย
ยังไม่แนะนtolerance
าให้ใช้ HbA1c
ับการ
• การท
า oral glucose
testสาหร
(OGTT)
่ องจากยังไม่ม ี
วินิจฉัยโรคเบาหวาน
เนื
• การตรวจระดับน้ าตาลสะสม (HbA1c)
standardization และ quality control ของการตรวจ
่
HbA1c ทีเหมาะสมเพี
ยงพอ และค่าใช้จา
่ ยในการตรวจยัง
สู งมาก
การวินิจฉัยโรคเบาหวาน
1. ผู ท
้ มี
ี่ อาการของโรคเบาหวานช ัดเจนคือ หิวน้ า
มาก ปั สสาวะบ่อยและมาก น้ าหนักต ัวลดลงโดยที่
ไม่มส
ี าเหตุ สามารถตรวจระด ับพลาสมากลูโคส
เวลาใดก็ได้ ไม่จาเป็ นต้องอดอาหาร ถ้ามีคา
่
มากกว่าหรือเท่ากับ 200 มก./ดล. ให้การวินิจฉัย
ว่าเป็ นโรคเบาหวาน
2. การตรวจระด ับพลาสมากลูโคสตอนเช้าหลังอด
่ั
อาหารข้ามคืนมากกว่า 8 ชวโมง
(FPG) พบค่า
้ั
่งต่างวัน
≥126มก./ดล. ให้ตรวจยืนยันอีกครงหนึ
กัน
3. การตรวจความทนต่อกลูโคส (75 g Oral
Glucose Tolerance Test, OGTT) ใช้สาหร ับผู ท
้ ี่
่
งแต่ตรวจพบ FPG น้อยกว่า 126
มีความเสียงสู
1. มีอาการของโรคเบาหวานร่วมกับcasual
plasma glucose ≥ 200 mg/dl
• casual plasma glucose หมายถึงเวลาใดๆ
ของวัน โดยไม่คานึงถึงระยะเวลาตัง้ แต่อาหารมือ
้
สุดท ้ายอาการของโรคเบาหวาน (classic
symptoms) ได ้แก่ ปั สสาวะบ่อย(polyuria)
กระหายน้ าบ่อย (polydipsia) และน ้าหนักตัว
ลดลงโดยไม่สามารถอธิบายได ้จากสาเหตุอน
ื่
(unexplained weight loss)
การแปลผลระดับน้ าตาลในเลือด
Fasting = งดรับประทานอาหารและเครือ
่ งดืม
่ ทีม
่ แ
ี คลอรีทก
ุ
ชนิดเป็ นเวลานานอย่างน ้อย 8 ชม
การแปลผลค่าพลาสมากลูโคสขณะอดอาหาร (FPG)
• FPG < 100 มก./ดล. = ปกติ
• FPG 100 – 125 มก./ดล. = Impaired fasting
glucose (IFG)
• FPG ≥ 126 มก./ดล. = โรคเบาหวาน
่ั
่
การแปลผลค่าพลาสมากลูโคสที่ 2 ชวโมงหลั
งดืม
น้ าตาลกลูโคส 75 กร ัม (75 g OGTT)
2 h-PG < 140 มก./ดล. = ปกติ
2 h-PG 140 – 199 มก./ดล. = Impaired glucose
การแปลผล FPG
Normal FG
FPG
Provisional DM
IFG
100
126
mg/dl
การแปลผล FPG
Normal GT
2 hr PG
Provisional DM
140
200
mg/dl
่ น้ าตาลจึงค้าง
คนแก่ผนังหลอดเลือดเสือม
ผ่านซึมได้ชา้
ฮอร ์โมน(ต้าน) สู ง เช่น
GH,Cortisol,Glucagon
้ั
่ าลังเริม
่
หญิงตงครรภ
์,ผู ม
้ ก
ี รรมพันธ ์ทีก
เป็ น,อ้วน,ชอบอด
่
เช่น โรคไต โรคตับ ติด
ผู ท
้ มี
ี่ โรคอืนแฝง
้
เชื
อHBVระยะแรก
กินยาสมุนไพร ขับฉี่เยอะ แก ้ปัญหาโรค
้
พื
นฐานได
้
IFG
เบาหวาน
่
เที
ตับยอ่มๆ
อนทางานหนักเกิน และเสือมไป
หายได้
เป็ นชว่ ั
ชีวต
ิ
DM
เบาหวาน
จริงๆ
ได้แค่ควบคุมไว้ไม่กาเริบหรือไม่มอ
ี าการแทรก
23
Type 2 Diabetes mellitus: Tip of
the Iceberg
่
เบาหวานประเภทที๒
้ ่
ขันที
๓
โรคแทรกซ ้อน
ของหลอด
้
่
ขันที๒
ง
น้ าตาลหลังอาหารสู
เลือดขนาด
ความต้านทาน
้ าตาลก่อนอาหารปกติ
น
เล็ก
โรคแทรกซ
้อน
้
ต่อนาตาลบกพร่อง
ของหลอดเลือดขนาดใหญ่
่ นสุลน
การหลังอิ
ิ ลดลง
้ ๑
่
ขันที
น้ าตาล
ปกติ
อ้วน
หลอดเลือดอักเสบ
่
ระดับอินสุลน
ิ เพิม
้ ออินสุลน
ความดือต่
ิ
ประวัติครอบคร ัว
TG
HDL
ความดัน
เบาหวานตอนท้
อง
โลหิตสู ง
วิธก
ี ารตรวจหาระดับน้ าตาลในเลือด
1. Fasting Blood Sugar (FBS) ปั จจุบน
ั คือ
Fasting Plasmaglucose( FPG)
2 2 hours.Postprandial Glucose(2
hr.PPG),random PG
3. Oral Glucose Tolerance Test (OGTT)
4. Hemoglobin A1c
5. Fructosamin
่ นิจฉัยเบาหวาน คือ
แล็ปสาหร ับตรวจเพือวิ
1,2,3,(4,5)
่ ดตามการร ักษาเบาหวาน25 คือ
แล็ปสาหร ับตรวจเพือติ
คุณสมบัตข
ิ องน้ าตาลในกระแสเลือด
1. แพร่อส
ิ ระสู ่สมอง(ไม่พงอิ
ึ่ นสุ
ลิน)
2. ดู ดซ ับน้ า อุม
้ น้ าไว้
3. จับโปรตีน (หลอดเลือด
้
เสนประสาทฯลฯ)
4. พึง่ insulin พาเข้าเซลล ์
่
อวัยวะอืน
ปั ญหาใหญ่ของ
เบาหวานคือเรือ
่ งกิน
26
เบาหวาน : DIABETES
MELLITUS (DM)
้
• เกิดภาวะแทรกซอน
เรือ
้ รังในระบบต่างๆ
่
ของร่างกายเชน
– ตา (retinopathy)
– ไต (nephropathy)
้
– เสนประสาท
(neuropathy)
– หลอดเลือดแดงทัง้
ขนาดเล็ก
(microvascular)
่
น้ าตาลทีเหลื
อค้างในเลือดสู ง จึงไปจับ
โปรตีนและดู ดซ ับน้ า
HbA1c
จับ
แพร่เข้า RBC
Hemoglobin
จับ Albumin
Fructosamine
แพร่สู่ serum
จับปลาย
ประสาท
จับผนังหลอด
Microเลื
อด
,Macrovascular
ปลายประสาท
ดู ดน้ า
พองมึนชา
ตาม
ผนังหลอดเลือด
แช่นาน
่ วใจไตตา
เช่นที่ สมองหั
เสือม
แขนขา
วิธก
ี ารทดสอบความทนต่อกลูโคส
(Oral Glucose Tolerance Test)
การทดสอบความทนต่อกลูโคสในผู ใ้ หญ่
(ไม่รวมหญิงมีครรภ ์) มีวธ
ิ ก
ี ารดังนี ้
่
1) ผู ถ
้ ู กทดสอบทากิจกรรมประจาวันและกินอาหารตามปกติ ซึงมี
ปริมาณคาร ์โบไฮเดรตมากกว่าวันละ150 กร ัม เป็ นเวลาอย่าง
น้อย 3 วัน ก่อนการทดสอบการกินคาร ์โบไฮเดรตในปริมาณที่
่
้
ตากว่
านี อาจท
าให้ผลการทดสอบผิดปกติได้
่
่
2) งดสู บบุหรีระหว่
างการทดสอบและบันทึกโรคหรือภาวะทีอาจมี
อิทธิพลต่อผลการทดสอบ เช่น ยา,ภาวะติดเชือ้ เป็ นต้น
่ั
3) ผู ถ
้ ู กทดสอบงดอาหารข้ามคืนประมาณ 10-16 ชวโมง
ใน
้
่ ้ าเปล่าได้ การงดอาหารเป็ นเวลาสันกว่
้
ระหว่างนี สามารถดื
มน
า
่ั
10 ชวโมง
อาจทาให้ระด ับ FPG สู งผิดปกติได้ และการงด
่ั
อาหารเป็ นเวลานานกว่า 16ชวโมง
อาจทาให้ผลการทดสอบ
ผิดปกติได้
4) เช้าวันทดสอบ เก็บตัวอย่างเลือดดา
(fasting venous blood sample)
้
่
หลังจากนันให้
ผูท
้ ดสอบดืมสารละลาย
่
กลูโคส 75 กร ัม ในน้ า 250-300 มล. ดืม
ให้หมดในเวลา 5 นาที เก็บตัวอย่างเลือด
่
่ั
ดาหลังจากดืมสารละลายกลูโคส
2 ชวโมง
่ ก
้
บตัวอย่างเลือดเพิมทุ
ในระหว่างนี อาจเก็
30 นาที ในกรณี ทต้
ี่ องการ
่ โซเดียม
5) เก็บตัวอย่างเลือดในหลอดซึงมี
่
ฟลู ออไรด ์เป็ นสารกันเลือดเป็ นลิมใน
ปริมาณ 6 มก.ต่อเลือด1มล., ปั่ น และ
่
การทดสอบความทนต่อกลูโคสในเด็ก
• สาหรับการทดสอบความทนต่อกลูโคส
่ เดียวกันกับในผู ้ใหญ่
ในเด็กมีวธิ ก
ี ารเชน
แต่ปริมาณกลูโคสทีใ่ ช ้ ทดสอบคือ
1.75 กร ัม/น้ าหนักตัว 1 กิโลกร ัม รวม
แล้วไม่เกิน 75 กร ัม
การทดสอบความทนต่อกลูโคสและเกณฑ ์
้
วินิจฉัยโรคเบาหวานขณะตังครรภ
์
(gestational diabetes mellitus)
การวินิจฉัย GDM ด้วย oral glucose tolerance
่ ยมใช้กน
test มีอยู ่หลายเกณฑ ์ เกณฑ ์ทีนิ
ั มาก
่ ดในประเทศไทยคือเกณฑ ์ของ National
ทีสุ
Diabetes Data Group (NDDG) ใช้ 3 hour
oral glucose tolerance test
่ั
• ให้ผูป
้ ่ วยงดอาหารและน้ าประมาณ 8 ชวโมงก่
อน
่ ้ าตาลกลูโคส 100 กร ัมทีละลายในน
่
้า
การดืมน
250-300 มล.
่ และหลังดืม
่
• ตรวจระดับน้ าตาลในเลือดก่อนดืม
่ั
่ 1, 2 และ 3ให้การ
ชวโมงที
้
่
• ปั จจุบน
ั มีเกณฑ ์การวินิจฉัยเบาหวานขณะ
้ั
ตงครรภ
์ใหม่โดย IADPSG (International
Association Diabetes Pregnancy
Study Group)
่ นเกณฑ ์การวินิจฉัยทีได้
่ จากการวิจ ัย
• ซึงเป็
่ ผลเสียต่อการตงครรภ
้ั
ระด ับน้ าตาลทีมี
์
แนะนาให้ใช้ 75 กร ัม OGTT โดยถือว่าเป็ น
้ั
่ คา
โรคเบาหวานขณะตงครรภ
์เมือมี
่ น้าตาล
ค่าใดค่าหนึ่งเท่ากับหรือมากกว่า 92, 180
และ 153 มก./ดล. ขณะอดอาหารและหลัง
่ ้ าตาล 1 และ 2 ชวโมงตามล
่ั
ดืมน
าด ับ
วิธก
ี ารและเกณฑ ์วินิจฉัยโรค
้ั
เบาหวานขณะตงครรภ
์
NDDG = National Diabetes Data Group;
ADA = American Diabetes Association,
IADPSG = International Association ofDiabetes
Pregnancy Study Group
Fructosamin
• Fructose + albumin = Fructosamin
่ น้ าตาลไปเกาะจับ เพือ
่
• ตรวจวัด albumin ทีมี
บอกภาวะควบคุมอาหารระยะ 1-3 สัปดาห ์ที่
ผ่านมา ดีกว่า HbA1c เล็กน้อย (บอกถึงการ
ควบคุมระดับน้ าตาลช่วง 7-10 วันก่อนมา
ตรวจ)
• อายุของ Fructosamine จะอยู ่ได้นานตาม
ระยะ อายุของ albuminในกระแสเลือด คือ 3
สัปดาห ์ หรือ ๑ เดือน
่ อ ัลบู มน
• ข้อจากัด ในผู ป
้ ่ วยทีมี
ิ สู งในกระแส
เลือด จะมีคา
่ สู งตามไปด้วย เช่น โรคตับอักเสบ
38
สรุปวิธต
ี รวจเบาหวานบท
1.
2.
3.
4.
่
LAB.test
ใช้เพือ
FBS,FPG
ตรวจหา
เบาหวานหลังอดอาหาร
2 hr.PG,rPG
ตรวจหา
เบาหวานแม้หลังกินอาหาร
OGTT
ตรวจยืนยัน
เบาหวานหลังกินน้ าตาล
Hemoglobin A1c ดู ผลคุมอาหาร
39
เป้าหมายของการควบคุมโรคเบาหวาน
(ตาม American Diabetes Association : ADA,
2010)
1. ระดับน้ าตาลในเลือด ก่อนอาหาร 70-130 มก./ดล.
่ั
- หลังอาหาร 1 - 2 ชวโมง
น้อยกว่า 180 มก./ดล.
่ (HbA1c) น้อยกว่า 7 เปอร ์เซ็นต ์
- น้ าตาลสะสมเฉลีย
2. ความดน
ั โลหิต น้อยกว่า 130/80 มม.ปรอท
3. ไขมันในเลือด
- ไขมันในเส้นเลือดชนิ ดไม่ด ี แอลดีแอล (LDL) น้อยกว่า 100
มก./ดล.
- ไตรกลีเซอไรด ์ (TG) น้อยกว่า 150 มก./ดล.
- ไขมันในเส้นเลือดชนิ ดดี เอชดีแอล (HDL) มากกว่า 40
มก./ดล. (ผู ช
้ าย)มากกว่า 50 มก./ดล. (ผู ห
้ ญิง)
4. ดรรชนี มวลกาย (BMI) ไม่เกิน 23 กก./ม.2
่ องควบคุมอย่างเข้มงวดมาก
1. ผู ป
้ ่ วยทีต้
ได ้แก่ ผู ้ป่ วยอายุน ้อย เป็ นเบาหวานมาไม่
้
นาน ยังไม่ม ี ภาวะแทรกซอนและไม่
มี
อาการของภาวะน้ าตาลตา่ ในเลือดรุนแรง
กลุม
่ นีเ้ ป้ าหมายในการควบคุมคือ A1C <
6.5%
่ องควบคุมอย่างเข้มงวด ได ้แก่
2. ผู ป
้ ่ วยทีต้
ผู ้ป่ วยทีเ่ คยมีอาการของภาวะน้ าตาลตา่ ใน
เลือดรุนแรงหรือผู ้สูงอายุทม
ี่ ส
ี ข
ุ ภาพดี กลุม
่
นีเ้ ป้ าหมายในการควบคุมคือ A1C < 7%
่ ตอ
• 3. ผู ป
้ ่ วยทีไม่
้ งควบคุมอย่างเข้ม งวด ได ้แก่
ผู ้ป่ วยทีม
่ อ
ี าการของภาวะน้ าตาลตา่ ในเลือดรุนแรง
บ่อยๆ ผู ้ป่ วยสูงอายุทไี่ ม่สามารถชว่ ย เหลือตนเอง
้
ได ้หรืออยูเ่ พียงลา�พังผู ้ป่ วยทีม
่ ภ
ี าวะ แทรกซอน
จากโรคเบาหวาน ได ้แก่ โรคหัวใจล ้มเหลว โรค
หลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหลอดเลือดสมอง โรค
ั โรคตับและโรคไตในระยะท ้าย เป็ นต ้น กลุม
ลมชก
่
นีเ้ ป้ าหมายในการควบคุมคือ A1C < 7-8%
้
ด ังนัน
ผู ้ป่ วยแต่ละรายทีม
่ ารับการรักษา
เบาหวานต ้องได ้รับการประเมิน
ปั จจัยต่างๆ อย่าง ครบถ้วนและ
วางแผนกาหนดเป้ าหมายในการ
ร ักษา
สาหร ับผูป
้ ่ วยแต่ละรายโดย
พิจารณาเป็นรายๆ ไป
(individualized therapy)
1.ใครเป็
นโรคเบาหวาน
่ นมีระดับน้ าตาลอดอาหารตอนเช้า 132
ก) พีสั
้
่ั
142มก./ดล.
ข)และ
ลายองระดั
บนาตาลหลั
งอาหาร 1 ชวโมง
225 มก./
่ ามาก
้
้
ดล. ร่วมกับมีอาการปัสสาวะบ่อย ดืมน
นาหนั
ก
ตัวลดมาก
ค) คุณกวง มีระด้ ับน้ าตาลสะสม
6.4%
่
่
ง) ว ันเฉลิมมีระดับนาตาลในเลือดที 2 ชวโมงหลั
ั
งกินกลูโคส
75 กร ัม = 188 มก./ดล.
่ ้ าบ่อย น้ าหนักลด ตรวจ
จ) น้องอ้อยปั สสาวะบ่อย ดืมน
น้ าตาลตอนเช้
าได้ 105 มก./ดล.
้
ฉ) ป้ าแลตรวจนาตาลตอนเช้าได้ 108 มก./ดล. และ
น้ าตาลสะสม 6.9%้
ช) หนู สมตรวจพบนาตาลในปั สสาวะ ตรวจน้ าตาลในเลือด
แต่ไม่อดอาหารได้
280 มก./ดล.
้
ซ) กานันตรวจนาตาลตอนเช้าได้ 127 มก./ดล. และตรวจ
่ั
น้ าตาลหลังอาหาร 2 ชวโมงได้
205 มก./ดล. แต่ไม่ม ี
1.ใครเป็ นโรคเบาหวาน
่ นมีระด ับน้ าตาล อดอาหารตอนเช้า 132 และ 142 มก./
ก) พีสั
ดล.
่ั
ข) ลายองระด ับน้ าตาลหลังอาหาร 1 ชวโมง
225 มก./ดล.
่ ้ ามาก น้ าหนักตวั ลดมาก
ร่วมก ับมีอาการปั สสาวะบ่อย ดืมน
ค) คุณกวงมีระดบ
ั น้ าตาลสะสม 6.4%
่ั
ง) วันเฉลิมมีระด ับน้ าตาลในเลือดที่ 2 ชวโมงหลั
งกินกลูโคส 75
กร ัม = 188 มก./ดล.
่ ้ าบ่อย น้ าหนักลด ตรวจน้ าตาล
จ) น้องอ้อยปั สสาวะบ่อย ดืมน
ตอนเช้าได้ 105 มก./ดล.
ฉ) ป้ าแลตรวจน้ าตาลตอนเช้าได้ 108 มก./ดล. และน้ าตาล
สะสม 6.9%
ช) หนู สมตรวจพบน้ าตาลในปั สสาวะ ตรวจน้ าตาลในเลือดแต่
ไม่อดอาหารได้ 280 มก./ดล.
ซ) กานันตรวจน้ าตาลตอนเช้าได้ 127 มก./ดล. และตรวจ
่ั
น้ าตาลหลังอาหาร 2 ชวโมงได้
205 มก./ดล. แต่ไม่ม ี
เฉลย








ใครไม่จาเป็ นตรวจคัดกรอง
เบาหวาน
1 ผู ห
้ ญิงอายุ 20 ปี BMI 30 ความดัน
120/80 mmHg triglycerly 200 มีพ่อ
เป็ นเบาหวาน
2 ชายอายุ 30ปี BMI 30 ความดัน 130/80
mmHg triglycerly 200 มีป้าเป็ น
เบาหวาน และสู บบุหรี่
3 ชายอายุ 50 ปี BMI 23 ความดัน
130/80 mmHg triglycerly 300 มีป้า
เป็ นเบาหวาน และสู บบุหรี่
ชายอายุ 45 ปี มีแม่เป็ นเบาหวาน
BP 120/80 mmhg DTX(NPO) ได้145mg%
ท่านจะให้การร ักษาอย่างไร
1.วินิจฉัยว่าเป็ นเบาหวานแนะนาการปฏิบต
ั ต
ิ ัวและส่ง
่ ับการร ักษา
พบแพทย ์เพือร
ั ต
ิ วั และ
2.แนะนาว่าน้ าตาลผิดปกติ แนะนาการปฏิบต
่
่
เริมยาที
รพสตได้
เลย
3.แนะนาว่าน้ าตาลผิดปกติ แนะนาการปฏิบต
ั ต
ิ วั ส่ง
่ นยันการวินิจฉัยโดยการตรวจ FPS
พบแพทย ์เพือยื
อีก 1 สัปดาห ์
4.แนะนาว่าน้ าตาลผิดปกติ แนะนาการปฏิบต
ั ต
ิ วั และ
นัดตรวจ DTX(NPO) อีก 1 สัปดาห ์
Pitfall
&
Management
การร ักษา
DM
้ าผูป
การจ ัดการเรือ
่ งการใชย
้ ่ วย
เบาหวาน
1.ร ับประทานยาไม่ถูกต้องตาม
่
คาสังแพทย
์
2.ไม่ทราบว่าตนเป็ นโรคอะไร
ทานยาอะไรบ้าง
3.มียาเดิมเหลือปริมาณมาก
และไม่ทราบว่ายาหมดอายุหรือ
่
เสือมสภาพหรื
อไม่
่ การเปลียนบริ
่
4.เมือมี
ษท
ั ยา
ใหม่ผูป
้ ่ วยมีการทานยา
้ ้อน
ซาซ
บทบาทของพยาบาลในการจัดการ
้ ัง
ด้านยาในโรคเรือร
่ มเี ภสัชกรทีปรึ
่ กษาหรือร่วม
• สาหร ับใน รพ.สต. ทีไม่
จัดบริการเป็ นประจา เจ ้าหน้าที่ รพ.สต. ควรมีความ
เข ้าใจในหลักการของการควบคุมคุณภาพบริการ
เภสัชกรรม
• สามารถท ้วงติงแพทย ์ในกรณี เกิดความผิดพลาดใน
่
การสังยาของแพทย
์
้
่ ้
• สามารถให้ความรู ้เบืองต้
นในการใช้ยาทีใช
บ่อยๆ แก่ผูป้ ่ วยได ้
่ มได ้
• สามารถให ้ข ้อมูลและตอบคาถามใดๆ เพิมเติ
่ าคัญสาหร ับผู ป
ประเด็นยาทีส
้ ่ วยโรค
้ ัง
เรือร
1. การให้คาแนะนาปรึกษาการใช้ยาจึงควรมีการ
แนะนาและให ้สงั เกตการอ่านซองและวิธก
ี ารใช ้
ยาบนซองยาด ้วย
่
2. การให้คาแนะนาเกียวกับโรค
ต ้องมีการให ้
คาแนะนาและให ้ความรู ้เกีย
่ วกับโรคทีเ่ ป็ นและ
้
รวมถึงการปฏิบัตต
ิ นร่วมกับความรู ้เรือ
่ งการใชยา
ด ้วย
3. การให้คาแนะนา ปรึกษา และติดตามการใช้
ยาอย่างต่อเนื่อง
4. การให้คาปรึกษาแนะนาแก่ผูป
้ ่ วยเบาหวาน
่
่ ถูกต้องทีพบบ่
ตัวอย่างการใช้ยาทีไม่
อยใน
กลุ่มผู ป
้ ่ วยเบาหวาน/ความด ันโลหิตสู ง
่
่
• มีการใช้ยาคลาดเคลือนไปจากที
แพทย
์สัง่
่ งกว่าทีแพทย
่
เช่น ใช้ขนาดทีสู
์สัง่ และขนาด
่
่
ตากว่
าทีแพทย
์สัง่ และการกินยาไม่สม่าเสมอ/
ไม่ตอ
่ เนื่ อง กินยาผิดเวลา หยุดยาเอง ยาไม่
พอเนื่ องจากไม่มาตามวันนัด
• การลืมกินยา ต้องมีการหาวิธแ
ี ละกระบวนการ
่
ทีจะให้
ผูป
้ ่ วยไม่ลม
ื เช่น การแนะนาให้นายาที่
่ อสาร ับกับข้าว ที่
จะกินมาไว้ใกล้กบ
ั สถานทีหรื
่
เมือจะทานข้
าวหรือทานข้าวเสร็จเรียบร ้อย
่ ร ับยาก็นายาใหม่
• การใช้ยาผิดเวลา คือ เมือได้
่ ไปเทรวมในซองเดิม โดยทีไม่
่ ใส่ใจว่า ยา
ทีได้
้ แพทย ์ปร ับ วิธก
ใหม่ทได้
ี่ ร ับนัน
ี ารใช้และ
่ ร ับไป และมีบางรายที่
ขนาดยาใหม่ในซองทีได้
่ มทานยาในมือนั
้ น
้ ก็ไปทานในมือต่
้ อไป
เมือลื
หรือทานอาหารผิดเวลาเป็ นประจาทาให้ทาน
ยาไม่เป็ นเวลา
่ องใช้ยาฉี ดแต่ไม่สามารถ
• ผู ป
้ ่ วยเบาหวานทีต้
ฉี ดยาเองได้มก
ั จะต้องให้ญาติและผู ด
้ ู แลใกล้ชด
ิ
้ั ด
เป็ นผู ฉ
้ ี ดให้ บางครงผู
้ ูแลไม่ได้มาด้วย ทาให้
่
เมือแพทย
์ปร ับขนาดยาใหม่แล้ว ยังมีการฉี ด
เท่าเดิม จึงทาให้มก
ี ารได้ร ับยาในขนาดสู ง
่
่
หรือตากว่
าทีแพทย
์
Sulfonylurea (SU)
SIM
Insulin
Metform
(oral antidiabetic drugs)
หรือยาต้านเบาหวานชนิ ดกิน ยาในกลุ่มนี ้
่ ดเป็ นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.
ทีจั
2554 ประกอบด้วย
ยาควบคุมระดับน้าตาลในเลือดชนิ ดกิน
(oral antidiabetic drugs)
หรือยาต้านเบาหวานชนิ ดกิน ยาในกลุ่มนี ้
่ ดเป็ นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.
ทีจั
2554 ประกอบด้วย
ยาควบคุมระด ับกลูโคสในกระแสเลือด
กลุ่มไบกวาไนด ์ (biguanide)
metformin (ก) เป็ นยาเพียงชนิ ดเดียว
ของยาในกลุ่มนี ้
่
เป็ นยาขนานแรกทีควรเลื
อกใช้สาหร ับ
่ น้ าหนักเกินหรืออ้วน แม้
ผู ป
้ ่ วยทีมี
ผู ป
้ ่ วยไม่มน
ี ้ าหนักเกินก็ควรพิจารณา
้ นทางเลือกแรกในการร ักษา
ยานี เป็
American Diabetic Association
(ADA) และ the European
Association for the Study of
Diabetes (EASD) แนะนาให้ใช้
Biguanide:
Metformin
• ข้อดีของ metformin คือไม่ทาให้เกิด
hypoglycemia (ถ้าใช้ชนิ ดเดียว)
่ นหรื
้
• น้ าหนักต ัวจะไม่เพิมขึ
ออาจลดลงในบางราย
่
่
้
• ผลข้างเคียงทีพบบ่
อยได้แก่ เบืออาหาร
ลินไม่
ร ับ
่
รส คลืนไส้
อาเจียน ท้องเสียไม่สบายท้อง แต่
่
อาการจะดีขนได้
ึ้
เองเมือใช้
ยาติดต่อไปสักระยะ
่ าค ัญคือlactic acidosis ควร
• ผลข้างเคียงทีส
่
่ renal
หลีกเลียงการใช้
ในผู ป
้ ่ วยทีมี
insufficiency ( serum creatinine มากกว่า 1.5
่ ยงต่
่
หรือ1.4 มก./ดล.) หรือในผู ป
้ ่ วย ทีมโี รคทีเสี
อ
การเกิด ภาวะ lactic acidosis เช่น โรคตับ
ข้อห้ามใช้
่ ได ้แก่
ผู ป
้ ่ วยโรคไตหรือมีภาวะไตเสือม
ิ ต
การมี Cr ≥1.4 มิลลิกรัม/เดซล
ิ รในผู ้หญิง หรือ
ิ ต
≥ 1.5 มิลลิกรัม/เดซล
ิ รในผู ้ชาย
หรือมีคา่ Clcr < 60 มิลลิลต
ิ ร/นาที ผู ้ป่ วย
ื่ มตัง้ แต่ระยะที่ 3 ขึน
เบาหวานทีม
่ ไี ตเสอ
้ ไปห ้าม
ใช ้ metformin (ก)
่
กินหลังอาหาร คลืนไส้
ขมปาก
ท้องเสีย
่
น้ าหนักลด น้ าตาลตาไม่
บ่อย
ห้ามให้ในโรคไต
Metformin maximum dose
is 2500 mg)
ชนิ ดของ insulin แบ่งตาม เวลาในการ
ออกฤทธิ ์
่ Lispro (Humalog),
1. Rapid acting Insulin เชน
Aspart (Novo Rapid)
2. Short acting Insulin เป็ น Regular insulins เรา
ไม่ม ี Rapid-acting Insulin
3. Intermediate Insulin คือ NPH
4. Long –acting Insulin คือ Detemir
5. Biphasic Insulins คือ Mixtard” สว่ นผสม
ระหว่าง short-acting และ intermediated NPH
สนอัตราสว่ น 30/70 (เป็ นการผสมNPHและ RI
เพือ
่ ให ้ออกฤทธิ์ 2 peak)
Relative Insulin Effect
Insulin Time Action
Curves
Rapid (Lispro, Aspart)
Short (Regular)
Intermediate (NPH)
Long (Glargine)
0
2
4
6
8
10
12
Time (Hours)
14
16
18
20
Normal Insulin
Secretion
Serum insulin (mU/L)
Meal
Meal
Meal
50
40
Bolus insulin needs
30
20
10
Basal Insulin Needs
0
0
2
4
6
8
10
12
14
Time (Hours)
16
18
20
22
24
่ วโมง
่ั
ฉี ดก่อนกินครึงช
ขอควรระวังไม่ควรฉี ดRI
ก่อนนอน
-เริม
่ ออกฤทธิ์ 3045 นาทีหลังฉีด
-ยาออกฤทธิส
์ งู สุด
2-4 ชวั่ โมงหลังฉีด
-อยูไ่ ด ้นาน 4-6
ชวั่ โมงหลังฉีด
-ยานีจ
้ ะมีระดับยาที่
สามารถคุมระดับ
น้ าตาลก่อนอาหาร
มือ
้ ต่อไป
Onset 30-60
min : peak 2-3 hours :
Insulatard ( NPH )
/Intermediate Insulin
neutral protamine
hagedorn insulin
-เริม
่ ออกฤทธิ์ 1-4
ชม.หลังฉีด ออก
ฤทธิส
์ งู สุด 4-10
ชม.
-ยาอยูไ่ ด ้นาน 1220 ชม.
-หากฉีดยาตอนเชา้
ยาจะออกฤทธิเ์ ต็มที่
ตอนเย็น หากฉีด
Onset 2-4 hour
ก่อนนอนจะออก
ฉีดก่อนนอน หรือ เชา้ เย็นไม่
จาเป็ นต ้องฉีดก่อนอาหารข ้อ
ควรระวัง น้ าตาลตา่ ตอนตี 3
: peak 4-10 hours :
Mixtard 30
Mixture of 30% RI +
NPH 70%
ฉี ดก่อน
อาหาร ครึง่
่ั
ชวโมง
ห้ามฉี ดโดย
่ กน
ทีไม่
ิ
อาหาร
Onset 30-60 min : peak dual :
Duration 10-16 hours
์ นชวโมง
่ั
การออกฤทธิเป็
onset peak
Effectiv Maximum
e
duration
duratio
n
3-6
6-8
RI
0.5-1
2-3
NPH
2-4
6-10
10-16
14-18
dual
10-16
14-18
Mixta 0.5-1
rd
การปร ับขนาดของอินซูลน
ิ
่
เวลาที
ควร
่ ด
เวลาทีฉี
เจาะเลือด
1-2 ชม.หลัง
้ น
้
อาหารมื
อนั
้ น
้
Shortระหว่างมือนั
ก่อนอาหาร
และก่อน
้
acting
และมือถัดไป
้
อาหารมือ
ถัดไป
้
ระหว่างมือ
ก่อนอาหาร
ก่อนอาหาร
กลางวันและ
เช้า
เย็
น
้ น
มือเย็
Intermediat
่
ก่อนอาหาร ระหว่างเทียง
ก่อนอาหาร
e-acting
ชนิ ดของ
อินซูลน
ิ
่
เวลาทีออก
ฤทธิสู์ งสุด
Position of insulin
การเลือกตาแหน่งฉีดยาอินซูลน
ิ ลาดับการ
ดู ดซึมยา
จากมากไปหาน้อย
่ ผลต่อการดู ดซึมและการออกฤทธิ ์
ปั จจัยทีมี
ของอินซูลน
ิ
การดู ดซึมของอินซูลน
ิ ในแต่ละคนจะมีความผันผวนแม้ว่าจะ
่ ยวก ัน
ฉี ดทีเดี
้ ขึ
้ นก
้ บ
โดยอาจจะพบความผันผวนได้ถงึ ร ้อยละ20-40ทังนี
ั
่ ดยา
ตาแหน่ งทีฉี
อุณหภู มแ
ิ ละการถูนวด ถ ้าให ้ความร ้อนหรือถูนวดบริเวณ
้ เวณนั้นทาให ้การดูด
นั้น หรือออกกาลังโดยใช ้กล ้ามเนื อบริ
ซึมของยาเร็วขึน้
้
ความลึกของการฉี ด ถ ้าฉี ดยาเข ้ากล ้ามเนื อจะท
าให ้การ
ดูดซึมของยาเร็วกว่าใต ้ผิวหนัง
่ อจางจะดูดซึมได ้
ความเข็มข้นของอินซูลน
ิ อินซูลน
ิ ทีเจื
่ ้มข ้น
ดีกว่าอินซูลน
ิ ทีเข
่ ด การฉี ดอินซูลน
จานวนอินซูลน
ิ ทีฉี
ิ จานวนมากจะทาให ้
ยาอยูน
่ านขึน้
ตาแหน่ งฉี ดอินซูลน
ิ
่
 บริเวณทีฉี่ ดยาทีเหมาะสม
คือ หน้าท ้อง ต ้นแขน หน้า
่
่ ดคือหน้าท ้อง ห่างจากรอบ
ขา สะโพก ทีเหมาะสมที
สุ
สะดือหนึ่ งนิ ว้ เพราะ ฉี ดง่าย การดูดซึมยาสม่าเสมอ
้ มาก
่
่ ด เนื่ องจากมีชนไขมั
้ั
พืนที
เจ็บน้อยทีสุ
นหนา
รองลงมาคือ ต ้นแขน > หน้าขา > สะโพก
 เวลาออกกาลังกายไม่ควรฉี ดยาบริเวณแขน ขา ให ้ฉี ด
่ าท ้อง
ทีหน้
่
่ ดอินซูลน
 ควรเปลียนต
าแหน่ งทีฉี
ิ ทุกวัน คือฉี ดให ้ห่าง
่ วยลดภาวะ
จากตาแหน่ งหลังสุดประมาณ 1 นิ ว้ เพือช่
ถ ้าท่านฉี่ ด “อินซูลน
ิ ”....
lipohypertrophy ซึงจะลดการดูดซึมของอินซูลน
ิ
ในระหว่างการออกกาลังกาย การดูดซึมของยา ในระหว่าง
การออกกาลังกาย
 การเปลีย
่ นบริเวณฉีด ไม่ควรย ้ายทีฉ
่ ีดอินซูลน
ิ ทุกวันควร
ั ดาห์ แล ้ว
ฉีดอินซูลน
ิ ทีบ
่ ริเวณเดียวกันอย่างน ้อย 1-2 สป
่ ย ้ายจากแขนไปฉีดทีท
จึงย ้ายไปฉีดบริเวณอืน
่ เชน
่ ้อง
ึ ยาไม่เท่ากัน
เพราะการดูดซม
ห ้ามฉีดซ้าทีเ่ ดิมมากกว่า 1 ครัง้ / 1 - 2 เดือน
ไม่ควรคลึงหรือนวดบริเวณทีฉ
่ ีดยาหลังจากฉีดยาเสร็จ
แล ้ว เนือ
่ งจากเป็ นการเพิม
่ ปริมาณเลือดทีม
่ าเลีย
้ ง
ึ เร็วขึน
อินซูลน
ิ จะถูกดูดซม
้
่ เว ้น
การหมุนเวียนควรเปลีย
่ นจุดทีฉ
่ ีดในตาแหน่งเดิม เชน
ระยะประมาณ 1 นิว้ ในตาแหน่งหน ้าท ้องทีจ
่ ะฉีด
ั ดาห์ไปแล ้ว
ตาแหน่งเดิมได ้เมือ
่ พ ้นระยะ 4-8 สป
้ าแหน่ งเดิมบ่อยครัง้ ในระยะเวลาใกล ้เคียงกัน
การฉี ดซาต
อาจทาให ้ผิวหนัง เกิดเป็ นก ้อนนูนแข็งหรือรอยบุม
๋ ทาให ้
่ ดจะช่วยลด
การย้ายตาแหน่ งทีฉี
่
ภาวะ lipohypertrophy ซึงจะลดการดู
ด
ซึมของอินซูลน
ิ
่ ดซึมได ้ดีทสุ
ตาแหน่ งทีดู
ี่ ดคือบริเวณ
้
หน้าท้องเนื่ องจากมีเลือดไปล่อเลียง
่
มากและมีอณ
ุ หภูมส
ิ งู กว่าบริเวณอืน
่
ดังนั้นจึงเป็ นบริเวณทีเหมาะสมในการฉี
ด
่
้
อินซูลน
ิ ทีออกฤทธิ
สั์ นและต
้องการการ
่
ดูดซึมทีรวดเร็
ว
วิธก
ี ารดึงผิวหนัง
Where is insulin injected ?
Insulin is injected subcutaneously - into the fat layer just under the skin If the syringe needle is injected too deep and reached the muscle, the
insulin will be absorbed too fast as all the administered dose will move
Quickly into the blood stream .
้ั
ฉี ดบริเวณชนใต้
่
ไขมันซึงอยู
่ระหว่าง
้ และชน
้ั
กล้ามเนื อ
ไขมัน
่ ผู
่ ป
สิงที
้ ่ วยควรรู ้
• การเก็บร ักษายา
•
•
•
•
•
•
ตาแหน่ งฉี ดอินซูลน
ิ
้
ขันตอนการฉี
ดอินซูลน
ิ
การกาจัดเข็ม
การปร ับอินซูลน
ิ ด ้วยตนเอง
่
ภาวะน้ าตาลในเลือดตาและการแก้
ไข
่ บป่ วย การออกกาลัง
การปฏิบต
ั ต
ิ นเมือเจ็
กายการเดินทาง
่
่
อินซูลน
ิ ทีเสือมสภาพ
มีตะกอนตกค้าง
มีตะกอน
ตะกอนสีขาว
ตกค้างหรือ
่
การระคายเคืองเฉพาะทีขณะฉี
ดยา
(Opened insulin vials that are in-use, may be
stored at room temperature to minimize local
irritation. Clinical Pharmacology. Gold
Standard Inc.
เคล็ดลับเก็บร ักษาอินซูลน
ิ
่ งไม่ได้เปิ ดใช้ หากเก็บทีอุ
่ ณหภู ม ิ 2 – 8 องศา
อินซูลน
ิ ทียั
เซลเซียส เก็บได้นานเท่าก ับอายุยาข้างขวดแต่สามารถ
เก็บไว้ในอุณหภู มห
ิ อ
้ ง (ประมาณ 25 องศาเซลเซียส) ได้
่ บในอุณหภู มส
นานประมาณ 30 ว ัน อินซูลน
ิ ทีเก็
ิ ู ง เช่น
่ ณหภู มต
่
กลางแดดจัด หรือทีอุ
ิ ามากๆ
เช่น ในช่องแช่
่ ่ องจากยาเสือม
่
แข็งของตู เ้ ย็น ไม่ควรใช้เป็ นอย่างยิงเนื
่
คุณภาพ และไม่แนะนาเก็บทีฝาตู
เ้ ย็น เนื่ องจาก อาจทา
ให้อณ
ุ หภู มไิ ม่คอ
่ ยคงที่ จากการปิ ด-เปิ ดตู เ้ ย็น
่ ดใช้แล้ว และเก็บอยู ่ในปากกา
- อินซูลน
ิ ทีเปิ
่ ณหภู มห
ฉี ดอินซูลน
ิ สามารถเก็บทีอุ
ิ อ
้ ง(25 องศา
ยส) ได้นไม่
านประมาณ
30นวัน
่ นทางไกล
เมืเซลเซี
อเดิ
ตอ
้ งแช่ขวดอิ
ซูลน
ิ ในกระติกน้ าแข็ง
่ ดใช้แล้วและเก็บใน ้
อิ
น
ซู
ล
น
ิ
แบบขวดที
เปิ
เพียงระวังไม่ใช้ถูกแสงแดด หรือความร ้อนอบอ้าว หรือทิง
ย็น (2-8
่ อณ
ไว้ตูใเ้นรถที
มี
ุ องศาเซลเซี
หภู มส
ิ ู ง ยส) จะเก็บได้นานประมาณ 3
 การบริหารยาชนิ ดใช้ Syringe
insulin
 เตรียมอุปกรณ์สาหร ับการฉี ดยาให ้
พร ้อม ได ้แก่ ยาอินซูลน
ิ เข็มสาหร ับ
ฉี ดยาอินซูลน
ิ กระบอกฉี ดยา
แอลกอฮอล ์ 70% และสาลี
 ล ้างมือให ้สะอาดด ้วยสบู่และนา้ แล ้ว
้ั อนฉี ด
เช็ดมือให ้แห ้ง ทุกครงก่
 คลึงขวดอินซูลน
ิ ไปมาบนฝ่ ามือทัง้
่ ้ตัวยาผสมเข ้ากันดีและ
2 ข ้าง เพือให
มีอณ
ุ หภูมใิ กล ้เคียงกับร่างกายจะ
 เปิ ดฝาครอบจุกยางออก (ถ ้ามี)
เช็ดจุกยางด ้วยสาลีชบ
ุ แอลกอฮอล ์
70%
่
 นากระบอกฉี ดยาทีสะอาดออกมา
จากภาชนะบรรจุ ดูดอากาศเข ้ามา
ในกระบอกฉี ดยาให ้มีป ริมาตร
่ ้องการ
เท่ากับขนาดของอินซูลน
ิ ทีต
(หน่ วยเป็ นยูนิต)
 แทงเข็มฉี ดยาให ้ทะลุจก
ุ ยางของ
่ เข็มปักค ้างอยู่
 คว่าขวดยาทีมี
้ ้อยูใ่ นระดับ
ลง แล ้วยกขึนให
สายตา ค่อยๆ ดูดอินซูลน
ิ เข ้า
กระบอกฉี ดยาในขนาดที่
ต ้องการ
 ตรวจดูวา่ มีฟองอากาศอยู่
หรือไม่ ถ ้ามีให ้ฉี ดยากลับเข ้าไป
ในขวดใหม่ แล ้วดูดยากลับเข ้า
้ั
มาช ้าๆ อีกครงจนได
้ขนาดที่
 ทาความสะอาดผิวหนังบริเวณที่
ฉี ดยาด ้วยแอลกอฮอล ์
 ใช ้มือข ้างหนึ่ งดึงผิวหนังบริเวณ
่ ดยาให ้สูงขึนด
้ ้วยนิ วชี
้ และ
้
ทีจะฉี
้ ง
นิ วโป้
่ อจับกระบอกฉี ด
 ใช ้มือข ้างทีเหลื
ยาคล ้ายการจับปากกาแล ้วปัก
่ งขึนมา
้
เข็มลงไปตรงผิวหนังทีดึ
 ค่อยๆ ฉี ดอินซูลน
ิ อย่างช ้าๆ ปล่อย
่ งผิวหนังออก และทิงไว
้ ้
มือทีดึ
ประมาณ 5 - 10 วินาที ก่อนดึงเข็ม
ออกช ้าๆ
 แล ้วใช ้สาลีชบ
ุ แอลกอฮอล ์ 70%
่ ดไว ้ชวขณะ
่ั
กดบริเวณทีฉี
่ ดเสร็จ และต ้องการเก็บเข็มไว ้
 เมือฉี
่
ฉี ดซา้ ให ้หลีกเลียงการเช็
ดทาความ
สะอาดเข็มด ้วยแอลกอฮอล ์
เนื่ องจากทาให ้ลดความคมของเข็ม
เก็บเข็มฉี ดยาและยาไว ้ในตู ้เย็น ใน
การฉี ดยาผสมระหว่างอินซูลน
ิ ชนิ ดออก
้
์ นและปานกลาง
ฤทธิสั
 ใช ้สาลีชบ
ุ แอลกอฮอล ์เช็ดจุกยางของขวด
้
อินซูลน
ิ ทังสอง
 ดูดลมเข ้ามาในหลอดฉี ดยาให ้มีจานวนเท่ากับ
้ น
่ ้องการ แล ้วฉี ดลมเข ้าไปใน
ปริมาณยานาขุ
่ ทีต
่ ดยา
ขวดอินซูลน
ิ ชนิ ดขุน
่ อย่าเพิงดู
 ดูดลมเข ้ามาในหลอดฉี ดยาให ้มีจานวนเท่ากับ
้
่ ้องการ แล ้วฉี ดลมเข ้าไปใน
ปริมาณยานาใสที
ต
้
ขวดอินซูลน
ิ ชนิ ดนาใส
ดูดยาอินซูลน
ิ เข ้าหลอด
่ ้องการ
ฉี ดยาในปริมาณทีต
้ น
่ ้องการ
 กลับมาดูดอินซูลน
ิ ชนิ ดนาขุ
่ ทีต
้ น
้
ในกรณี ทต
ี่ ้องฉี ดอินซูลน
ิ ชนิ ดนาขุ
่ และนาใสใน
เวลาเดียวกัน ให้ดูดยาชนิ ดน้ าใสก่อนเสมอ
่ องกันมิให ้ขวดนายาชนิ
้
เพือป้
ดใส ถูกผสมด ้วย
้
้
นายาชนิ
ดขุน
่ จากความผิดพลาดขณะดูดนายา
่
้
้
ซึงหากน
านายาขวดนี
ไปฉี
ดเข ้าทางหลอดเลือดดา
่ ดยาสองชนิ ดผสมในเข็ม
จะเกิดอันตรายได ้ เมือดู
เดียวกัน ควรฉี ดทันทีหรือภายใน 15 นาที เพราะ
้ ้นาน จะทาให ้การออกฤทธิของยา
์
หากทิงไว
่
เปลียนไป
 การบริหารยาชนิ ดใช้ Pen
่ ด
 ทาความสะอาดผิวหนังบริเวณทีฉี
ยาด ้วยแอลกอฮอล ์
 ดึงปลอกปากกาออก ตรวจสอบว่า
่
อินซูลน
ิ ทีบรรจุในปากกาเป็
นชนิ ดที่
ต ้องการ
้
 จับปากกาแกว่งขึนลงเบา
ๆ
่
จนกระทังยากระจายตั
วเป็ นสีขาวขุน
่
้ ยวกัน
เนื อเดี
่ เข็มฉี ด
 เช็ดบริเวณปลายหลอดทีใส่
 ใส่เข็มอันใหม่กอ
่ นใช ้ แกะแผ่นปิ ด
ปลอกเข็มออก
้ มทียั
่ งอยูใ่ นปลอกเข็มให ้ตรง
 ตังเข็
แล ้วประกอบเข ้ากับตัวปากกาอย่าง
ระมัดระวัง โดยการหมุนหรือกดหัว
้
เข็ม ขึนอยู
ก
่ บั ชนิ ดของเข็ม
 ห ้ามบิดเอียงเข็ม ขณะประกอบเข ้า
กับตัวปากกา เนื่ องจากอาจทาให ้
่ั
เข็มแตก หรือทาให ้เกิดการรวไหล
 ถอดปลอกเข็มออกทัง้ 2 ชน้ั
 จับปากกาให ้อยูใ่ นแนวตัง้ ปลายเข็มชี ้
ขึน้
้
่ วปากกา 2-3 ครง้ั
 ใช ้นิ วเคาะเบา
ๆ ทีตั
่ อากาศให ้ขึนมาอยู
้
เพือไล่
ด
่ ้านบน
 ถือปากกาฉี ดอินซูลน
ิ ให ้ปลายเข็มชีขึ้ น้
ิ าไป 1
หมุนหลอดบรรจุยาตามเข็มนาฬก
“คลิก”
 ดันก ้านสูบของกระบอกฉี ดจนสุด
่ งคงถือปากกาฉี ดอินซูลน
ในขณะทียั
ิ ให ้
ปลายเข็มชีขึ้ น้
่
 สังเกตหยดของอินซูลน
ิ ทีปลายเข็
ม ถ ้า
่ มโดย
 สวมปลอกปากกากลับเข ้าทีเดิ
ให ้ขีดบอกขนาดอยูต
่ รงเลข “0”
 ตรวจดูวา่ ปุ่ มฉี ดยาถูกกดจนสุด
หรือไม่ ถ ้าไม่ ให ้หมุนปลอกปากกา
่ มฉี ดยาถูกกดจนสุด
จนกระทังปุ่
 ถือปากกาไว ้ในแนวนอน หมุนปลอก
้
ปากกาตังขนาดยาตามลู
กศร จนได ้
ขนาดของอินซูลน
ิ ตามต ้องการ เมือ่
่ งขนาด
้
หมุนปลอกปากกาเพือตั
่
อินซูลน
ิ ปุ่ มฉี ดยาจะเคลือนออก
่ งขนาดยา
้
 ในขณะทีตั
ระวังอย่ากดที่
 ถอดปลอกปากกาออก
่ ดยาให ้
 ใช ้มือข ้างหนึ่ งดึงผิวหนังบริเวณทีจะฉี
้ ้วยนิ วชี
้ และนิ
้
้ ง
สูงขึนด
วโป้
่ อจับกระบอกฉี ดยาคล ้ายการจับ
 ใช ้มือข ้างทีเหลื
่ งขึนมา
้
ปากกาแล ้วปักเข็มลงไปตรงผิวหนังทีดึ
ประมาณ 90 องศา
้ วแม่มอื
 กดปุ่ มฉี ดยาอย่างช ้า ๆ ด ้วยนิ วหั
่ งผิวหนังออก และทิงไว
้ ้
 ปล่อยมือทีดึ
่
ประมาณ 5 - 10 วินาที ขณะทีถอน
เข็มออกยังคงกดปุ่ มฉี ดยาจนสุด
 แล ้วใช ้สาลีชบ
ุ แอลกอฮอล ์ 70%
่ ดไว ้ชวขณะ
่ั
กดบริเวณทีฉี
่ ดเสร็จ และต ้องการเก็บ
 เมือฉี
่
เข็มไว ้ฉี ดซา้ ให ้หลีกเลียงการเช็
ด
ทาความสะอาดเข็มด ้วย
แอลกอฮอล ์ เนื่ องจากทาให ้ลด
ความคมของเข็ม
้ั
 ปิ ดปลอกเข็มชนใน
แล ้วปิ ด
ปลอกปากกาโดยให ้ขีดบอก
ขนาดอยูท
่ ี่ ‘0’