งานวิจัยเชิงปริมาณ - E

Download Report

Transcript งานวิจัยเชิงปริมาณ - E

แนวทางการเขียน
วิธีดาเนินการวิจัย
สาหรับวิจัยที่ให้ การเก็บแบบสอบถาม
โดย
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การเกริ่นนา
การศึกษาวิจัยเรื่อง .................. ครั้งนี้ เป็ นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative
Research) โดยการสารวจ (Survey Research Method) เก็บข้ อมูลด้ วย
การใช้ แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งผู้วจิ ัยได้ กาหนดแนวทางในการ
ดาเนินการวิจัย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ การกาหนดประชากร
การ
สุ่ มตัวอย่ าง การเก็บรวบรวมข้ อมูล การจัดทาและการวิเคราะห์ ข้อมูล
สถิติที่ใช้ ในการวิจัย
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การกาหนดประชากร
ประชากรที่ใช้ ในการศึกษาค้ นคว้ า คือ ....
(อธิบายคุณลักษณะของประชากร).......................
จานวน ......N…. คน
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
วิธีการสุ่ มตัวอย่ างและขั้นตอนการสุ่ มตัวอย่าง
การคานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่ างและได้ ใช้ สูตรการหาขนาดของกลุ่มตัวอย่ างแบบทราบจานวน
ประชากรโดยกาหนดความเชื่อมัน่ ที่ 95% ความคลาดเคลือ่ นที่ ± 5% ดังสู ตรของ Yamane
(1967) ดังนี้
n= N
1+ N(e)2
n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่ าง
N = จานวนประชากร
e = ความคลาดเคลือ่ นที่ ± 5% หรือ 0.05
ได้ ขนาดของตัวอย่ างทีค่ านวณได้ เท่ ากับ ........... ตัวอย่ าง และเพือ่ ป้ องกันความผิดพลาดจากการ
ตอบแบบสอบถามอย่ างไม่ สมบูรณ์ จึงได้ ทาการสารองแบบสอบถามเพิม่ อีก ....... ชุ ด รวม
แบบสอบถามทั้งสิ้น .............. ชุ ด
(Yamane, T. (1967). Elementary Sampling Theory, USA: Prentice Hall )
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
วิธีการสุ่ มตัวอย่ างและขั้นตอนการสุ่ มตัวอย่าง
การเลือกกลุ่มตัวอย่ าง มีลาดับขั้นตอนในการสุ่ มตัวอย่ าง ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ใช้ วธิ ีการเลือกกลุ่มตัวอย่ างแบบแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างทีใ่ ช้ รถยนต์ นั่งส่ วนบุคคลยีห่ ้ อโตโยต้ าและฮอนด้ าในเขต อ.เมือง จ.ชลบุรี
ขั้นตอนที่ 2 ใช้ วธิ ีการสุ่ มตัวอย่ างแบบแบ่ งสั ดส่ วน (Propostion sampling) โดยแจกแจงแบ่ งสั ดส่ วน
ตามขนาดกลุ่มตัวอย่ างทั้งหมด 400 ตัวอย่ าง ได้ จานวนยีห่ ้ อโตโยต้ า 200 ตัวอย่ าง และ ฮอนด้ า
200 ตัวอย่ าง
ขั้นตอนที่ 3 ใช้ วธิ ีสุ่ มตัวอย่ างแบบตามความสะดวก (Convenience Sampling) โดยการแจก
แบบสอบถามตาม.......... ได้ แก่ .....(กาหนดสถานทีอ่ ย่ างชัดเจนและบ่ งบอกว่ าจะเก็บทีล่ ะกีช่ ุ ด)......
หมายเหตุ การออกแบบขั้นตอนการสุ่ มตัวอย่ างต้ องแสดงรายละเอียดทุกขั้นตอน จนกว่ า
แบบสอบถามจะถึงมือผู้ตอบ
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
วิธีการเก็บข้ อมูล
การวิจยั ครั้งนีเ้ ป็ นการวิจยั โดยการสารวจ (Survey) ใช้ แบบสอบถาม
ในการเก็บข้ อมูล วิธีการแจกแบบสอบถาม คือ ....
•
นิสิตต้ องอธิบายว่ าแจกแบบสอบถาม ด้ วยวิธีใดบ้ าง เช่ น แจก
ด้ วยตนเองกีช่ ุด ส่ งทาง e-mail กีช่ ุด
• ถ้ ามีทมี งานช่ วยแจกแบบสอบถาม ต้ องอธิบายวิธีการอบรมและ
ควบคุมการปฏิบัตงิ านของทีมงาน
ขั้นตอนการสร้ างเครื่องมือในการวิจัย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ศึกษาจากตารา เอกสาร บทความ ทฤษฎีและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง เพือ่ กาหนดขอบเขตของการ
วิจัยและสร้ างเครื่องมือวิจัย ให้ ครอบคลุมวัตถุประสงค์ ของการวิจัย
นาข้ อมูลทีไ่ ด้ มาสร้ างแบบสอบถาม
นาแบบสอบถามทีร่ ่ างได้ ทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) จากผู้เชี่ยวชาญ
จานวน.....คน พิจารณาตรวจสอบและขอคาแนะนาในการแก้ ไข ปรับปรุ ง
นาแบบสอบถามทีแ่ ก้ ไขตามคาแนะนามาดาเนินการทดสอบ (Pretest) กับกลุ่มตัวอย่ าง
จานวน ....... คน
นาแบบสอบถามทีเ่ ก็บรวบรวมได้ ทดสอบความความน่ าเชื่อถือ (Reliability Analysis)
ปรับปรุงรู ปแบบสอบถามอีกครั้ง แล้ วนาเสนออาจารย์ ทปี่ รึกษา เพือ่ แก้ ไขปรับปรุ งเพิม่ เติมให้ ได้
แบบสอบถามทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ
นาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ ไปเก็บข้ อมูลกับกลุ่มตัวอย่ าง
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ลักษณะของแบบสอบถาม
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการเก็บรวบรวมเพือ่ การวิจัยในครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ทีม่ คี าถาม
ชนิดปลายปิ ด โดยแบ่ งโครงคาถามออกเป็ น ..............ส่ วน ได้ แก่
ส่ วนที่ 1 คาถามเกีย่ วกับปัจจัยส่ วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้ แก่ ....... มีลกั ษณะเป็ นคาถาม
แบบเลือกตอบ (Check list) เป็ นมาตราแบบ......................
ส่ วนที่ 2 คาถามเกีย่ วกับ .............. รวม ...... ด้ าน ได้ แก่ ...................... เป็ นคาถามแบบมาตราส่ วน
ประมาณค่ า 5 ระดับ (Rating scale) ตามรูปแบบของ Likert scale โดยมีการกาหนดเกณฑ์ การให้
คะแนน ดังนี้
ระดับ
คะแนน
มากทีส่ ุ ด
5
มาก
4
ปานกลาง
3
น้ อย
2
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
น้ อยทีส่ ุ ด
1
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ลักษณะของแบบสอบถาม (ต่ อ)
วิธีการแปลผลแบบสอบถามส่ วนนีไ้ ด้ ใช้ ค่าเฉลีย่ ตามเกณฑ์ คะแนนดังนี้ (วิชิต อู่อ้น, 2550, หน้ า 114)
คะแนนสู งสุ ด – คะแนนต่าสุ ด
จานวนชั้น
= 5-1 = 0.8
5
ระดับคะแนน
ความหมาย
ระดับ 5 ค่ าเฉลีย่ 4.21-5.00
............... อยู่ในเกณฑ์ มากทีส่ ุ ด
ระดับ 4 ค่ าเฉลีย่ 3.41-4.20
............... อยู่ในเกณฑ์ มาก
ระดับ 3 ค่ าเฉลีย่ 2.61-3.40
............... อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง
ระดับ 2 ค่ าเฉลีย่ 1.81-2.60
............... อยู่ในเกณฑ์ น้ อย
ระดับ 1 ค่ าเฉลีย่ 1.00-1.80
............... อยู่ในเกณฑ์ น้ อยทีส่ ุ ด
วิชิต อู่อ้น. (2550). การวิจัยและการสืบค้ นข้ อมูลทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท พริ้นแอทมี (ประเทศ
ไทย) จากัด
ลักษณะของแบบสอบถาม (ต่ อ)
แบบที่ 2 บุญชม ศรี สะอาด. (ม.ม.ป.). การแปลผลเมื่อใช้ เครื่ องมือรวบรวมข้ อมูล
แบบมาตราส่ วนประมาณค่ า. www.watpon.com/boonchom/05.doc
1.00 - 1.49
หมายถึง
น้ อยทีส่ ุ ด
1.50 - 2.49
หมายถึง
น้ อย
2.50 - 3.49
หมายถึง
ปานกลาง
3.50 - 4.49
หมายถึง
มาก
4.50 - 5.00
หมายถึง
มากทีส่ ุ ด
แบบที่ 3 Mason, R.D., Lind, D.A., & Marchal, W.G. (1999). Statistical Techniques in Business and
Economics (10th ed.). New York: McGraw-Hill.
0.5 ≤
X
< 1.5 หมายถึง น้ อยที่สุด (0.50 - 1.49)
1.5 ≤ X < 2.5
2.5 ≤ X < 3.5
3.5 ≤ X < 4.5
4.5 ≤ X < 5.5
หมายถึง น้ อย (1.50 - 2.49)
หมายถึง ปานกลาง (2.50 - 3.49)
หมายถึง มาก
(3.50 - 4.49)
หมายถึง มากที่สุด (4.50 - 5.49)
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ลักษณะของแบบสอบถาม (ต่ อ)
แบบที่ 4 บุญชม ศรี สะอาด. (ม.ม.ป.). การแปลผลเมื่อใช้ เครื่ องมือรวบรวมข้ อมูล
แบบมาตราส่ วนประมาณค่ า. www.watpon.com/boonchom/05.doc
1.00 - 1.50
หมายถึง
น้ อยทีส่ ุ ด
1.51 - 2.50
หมายถึง
น้ อย
2.51 - 3.50
หมายถึง
ปานกลาง
3.51 - 4.50
หมายถึง
มาก
4.51 - 5.00
หมายถึง
มากทีส่ ุ ด
แบบที่ 5
4.51 – 5.00
หมายถึง มากทีส่ ุ ด
3.51 – 4.50
หมายถึง มาก
2.51 – 3.50
หมายถึง ปานกลาง
1.51 – 2.50
หมายถึง น้ อย
 1.5
หมายถึง น้ อยทีส่ ุ ด
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ลักษณะของแบบสอบถาม (ต่ อ)
แบบที่ 6 เกณฑ์ การแปลผลค่ าเฉลีย่ จากการคานวณหาความกว้ างของอันตรภาคชั้นทีเ่ หมาะสมกับจานวน
ชั้นหรือระดับทีต่ ้ องการ ตัวอย่ างเช่ น ใช้ ระดับคะแนนสาหรับการตอบแบบสอบถามแบบมาตราส่ วน
ประมาณค่ าจานวน 5 ระดับ นามาแปลผลโดยใช้ เกณฑ์ 3 ระดับ สามารถหาความกว้ างของแต่ ละ
ระดับได้ จากสู ตร
ความกว้ างของอันตรภาคชั้น
= คะแนนสู งสุ ด – คะแนนต่าสุ ด
จานวนระดับ
= 5 - 1 = 1.33
3
เกณฑ์ การแปลผลค่ าเฉลีย่ จะมีดงั นี้
ค่ าเฉลีย่
3.68–5.00
2.34–3.67
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
1.00–2.33
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ความหมาย
มาก หรือ สู ง
ปานกลาง
น้ อย หรือ ต่า
ลักษณะของแบบสอบถาม (ต่ อ)
แบบที่ 7 เกณฑ์ ในการแปลผลค่ าเฉลีย่ แบบ 3 ระดับมีดงั นี้
ค่ าเฉลีย่
2.50–3.00
1.50–2.49
1.00–1.49
ความหมาย
มาก หรือ สู ง
ปานกลาง
น้ อย หรือ ต่า
แบบที่ 8 เกณฑ์ ในการแปลผลค่ าเฉลีย่ แบบ 4 ระดับ
ค่ าเฉลีย่
3.50–4.00
2.50–3.49
1.50–2.49
1.00–1.49
ความหมาย
มากทีส่ ุ ด หรือ เห็นด้ วยอย่ างยิง่
มาก
หรือ เห็นด้ วย
น้ อย
หรือ ไม่ เห็นด้ วย
น้ อยทีส่ ุ ด หรือ ไม่ เห็นด้ วยอย่ างยิง่
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ความเชื่อถือได้ ของเครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย
ในการศึกษาครั้งนีไ้ ด้ มีการทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) ดังนี้
1. ความเที่ยงตรง (Validity) ผู้วจิ ยั นาแบบสอบถามที่ได้ จากการทบทวนเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ องไปให้
ผู้เชี่ยวชาญจานวน..... คน ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนือ้ หา (Content validity) โดยคาถามแต่ ละข้ อต้ องมีค่า
IOC ไม่ ตา่ กว่า 0.5 (Rovinelli & Hambleton, 1977) และความเหมาะสมของภาษาที่ใช้ (Wording) เพือ่ นาไป
ปรับปรุงแก้ไขก่อนนาไปสอบถามในการเก็บข้ อมูลจริง
1. ..............ชื่อผู้เชี่ยวชาญ...............
2. ..............ชื่อผู้เชี่ยวชาญ...............
2. ความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้วจิ ยั ได้ นาแบบสอบถามปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญไปทาการทดสอบ
(Pretest) จานวน ........ ชุด กับกลุ่มตัวอย่ างที่มีคุณสมบัตใิ กล้เคียงกับประชากรที่ต้องการศึกษา จากนั้นจึงนา
แบบสอบถามที่รวบรวมได้ มาทดสอบความเชื่อมั่น โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS for Windows ตามเกณฑ์
สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ที่ Nunnally (1978) ได้ นาเสนอดังนี้
ค่า α มากกว่าและเท่ ากับ 0.7 สาหรับงานวิจยั พืน้ ฐาน (Basic research)
ค่า α มากกว่า และเท่ ากับ 0.8 สาหรับงานวิจยั ประยุกต์ (Applied research)
ค่า α มากกว่า และเท่ ากับ 0.9 สาหรับวิจยั เพือ่ การตัดสินใจ
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric Theory (2nd. Ed.). New York: McGraw Hill.
Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion referred test item validity. Dutch
Journal of Education Research. 2, 49-60.
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การจัดทาข้ อมูลและวิเคราะห์ ผล
หลังจากรวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดทีไ่ ด้ เรียบร้ อยแล้ว ผู้วจิ ัยได้ นา
แบบสอบถามทั้งหมดมาดาเนินการดังนี้
1. การตรวจสอบข้ อมูล (Editing) ผู้วจิ ัยตรวจสอบดูความสมบูรณ์ ของ
การตอบแบบสอบถามและทาการแยกแบบสอบถามทีไ่ ม่ สมบูรณ์ ออก
2. นาแบบสอบถามทีค่ ดั เลือกเรียบร้ อยมาลงรหัสเพือ่ ประมวลผลข้ อมูล
ด้ วยโปรแกรม ………………….
สถิติที่ใช้ ในการวิจัย
ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
นิสิตเลือกเฉพาะสถิติทตี่ ้ องใช้ เท่ านั้น โดยบรรยายถึงสถิติเชิงพรรณนาและ
เชิงอนุมานทีเ่ ลือกมาใช้ ในการวิจัย
ตัวอย่าง
1.
วิเคราะห์ ข้อมูลปัจจัยส่ วนบุคคล ได้ แก่ เพศ, อายุ , สถานภาพสมรส , ระดับการศึกษา ,ประสบการณ์ การทางาน , รายได้ ต่อเดือน
ของกลุ่มตัวอย่ างด้ วยสถิติเชิงพรรณนาได้ แก่ ความถี่ และร้ อยละ
2. วิเคราะห์ ข้อมูลการบริหารความปลอดภัยสมัยใหม่ และประสิ ทธิภาพในการทางานด้ วยสถิตเิ ชิงพรรณนา ได้ แก่ ความถี่ ร้ อยละ
ค่ าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3. ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ สถิติอนุมาน
ตัวอย่ าง
สมมติฐานที่ 1: การทดสอบความแตกต่ างระหว่ างค่ าเฉลีย่ ของกลุ่มตัวอย่ าง 2 กลุ่ม โดยใช้ Independent sample T-test และ การ
ทดสอบความแตกต่ างระหว่ างค่ าเฉลีย่ ของกลุ่มตัวอย่ างมากกว่ า 2 กลุ่ม โดยใช้ การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One-way
Analysis of Variance) ในกรณีทพี่ บความแตกต่ างอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติจะทาการตรวจสอบความแตกต่ างเป็ นรายคู่ทรี่ ะดับ
นัยสาคัญ 0.05 หรือระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยใช้ วธิ ี Least Significant Difference (LSD)
สมมติฐานที่ 2: การทดสอบความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปรเชิงปริมาณสองตัวแปร โดยใช้ ค่าสหสั มพันธ์ อย่ างง่ าย เพียร์ สัน (Pearson
Correlation)