ประเด็นในการทำวิจัย - มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

Download Report

Transcript ประเด็นในการทำวิจัย - มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
หลักสู ตรศึกษาศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิตสาขาวิชาการบริ หารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
นาเสนอในการสัมมนาทางวิชาการ อาคารวิทยบริ การสิรินธร
7 มิถุนายน 2556
นักศึกษาส่วนใหญ่ทาวิจยั เกี่ยวกับ “งาน” ตามกรอบที่มกี ารกาหนดไว้ลว่ งหน้าโดย “นโยบาย
หรื อแนวปฏิบตั ขิ องส่วนกลาง/ต้นสังกัด” เช่น
 การบริ หารสถานศึกษาตามโครงสร้างการบริ หารงาน 4 ด้าน คือ วิชาการ บุ คลากร
งบประมาณ และบริ หารทัว่ ไป
 การบริ หารแบบยึดโรงเรียนเป็ นฐาน........
 การบริ หารงานบุ คลากร................
 เป็ นต้น
ถือเป็นแนวทางหนึ่ งในการกาหนดประเด็นเพื่อการวิจยั เพราะการศึกษาระดับปริ ญญาโทเน้น
การพัฒนาเป็นผูบ้ ริ หารระดับกลางและระดับต้น มีบทบาทหน้าที่ในการนานโยบายของ
ส่วนกลางหรื อต้นสังกัดไปปฏิบตั ิ การวิจยั เพื่อให้ทราบถึงระดับมากน้อยของการปฏิบตั ิ ก็
เป็นการหาจุดอ่อนจุดแข็ง และแนวทางเพื่อเสริ มสร้างประสิทธิภาพการบริ หารงานให้ดขี ้ ึน
แต่อาจมีปัญหาบางประการ เช่น กรอบของ “งาน” ที่สว่ นกลาง/ต้นสังกัดกาหนดไว้
อาจมีไม่มาก ส่วนใหญ่เป็น routine work นักศึกษาจะวนเวียนทาวิจยั แต่
ในงานนั้น “ซา้ ๆ” กัน จนไม่เกิดสิ่งใหม่ๆ ขึ้นในวงการวิจยั ทางการบริ หารการศึกษา
มีขอ้ สังเกตว่า บางรายเกรงจะว่ามีการทาซา้ ๆ แก้ปัญหาโดยเปลี่ยนจากการศึกษา
“ความเห็น” เป็นการศึกษา “ความพึงพอใจ” ในงานนั้นๆ แทน ก็ถือว่ายังเป็ นการทา
วิจยั “ซา้ ๆ” อยู ่
ปรากฏการณ์ดงั กล่าว ตัวนักศึกษาเองจะ “ขาดโอกาส” พัฒนา “ทักษะเชิงวิชาการ”
การศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์และสังเคราะห์สร้างองค์ความรู ใ้ หม่ข้ ึนมา
ทัง้ จาก “ตารา” และจาก “อินเตอร์เน็ต” เพราะในการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ในบทที่ 2 นั้น นักศึกษาเพียงเอารายละเอียดของ “งาน” ตามที่สว่ นกลางหรื อต้น
สังกัดกาหนดมาพิมพ์ใส่ไว้เท่านั้น
เพื่อความใหม่และความหลากหลายของประเด็นในการทาวิจยั ควรกระตุน้ ให้นักศึกษามองหาประเด็น
ในเชิง “ทฤษฎีใหม่/วิสยั ทัศน์ใหม่/แนวโน้มใหม่/กระบวนทัศน์ใหม่” ให้มากขึ้นหรื อไม่ ? ซึ่งก็มี
มากมายหลายประเด็น ในกรณีท่ เี กี่ยวกับ “งาน” เช่น
 การเสริ มสร้างบรรยากาศเชิงสร้างสรรค์ (creative climate)
 การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู ใ้ นสถานศึกษา (learning culture)
 การส่งเสริ มการเรียนรู ต้ ลอดชีวิต (life-long learning)
 การพัฒนาสภาพแวดล้อมการเรียนรู ้ (learning environment)
 การพัฒนาครู สูค่ วามเป็ นอาเซียน (teacher development)
 การนาเพื่อการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา (Leading for change)
 การพัฒนาเพื่อความเป็ นสากล (internationalization)
 การพัฒนาเครื อข่ายการเรียนรู ้ (network for learning)
 การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิตอลเพื่อการเรียนการสอน ( Digital technology)
 การพัฒนาชุมชนการเรียนรู อ้ อนไลน์ (Online learning community)
 ฯลฯ
นอกจากนั้น ยังมีประเด็นที่เกี่ยวกับ “คน” หลายประเด็น เช่น
 การพัฒนาทีมงานคุ ณภาพ (team building)
 การเสริ มสร้างความเป็ นธรรมในการบริ หาร (equity)
 การพัฒนาคุ ณธรรมหรื อจริ ยธรรม (moral and ethics)
 การพัฒนาตนตามจรรยาบรรณในวิชาชีพ (code of ethics)
 การพัฒนาวิชาชีพบุ คลากร (professional development)
นอกจากนั้น ก็มปี ระเด็นเกี่ยวกับ “ภาวะผู น้ า” อีกมาก เช่น
 ภาวะผู น้ าสถานศึกษา (school leadership)
 ภาวะผู น้ ากระจายอานาจ (distributed leadership)
 ภาวะผู น้ าสร้างสรรค์ (creative leadership)
 ภาวะผู น้ าของครู (teacher leadership)
 ภาวะผู น้ าทางการสอน (instructional leadership)
 ภาวะผู น้ าของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา (principal leadership)
 ฯลฯ
สำหรับมหำวิทยำลัยสงฆ์
การกระตุน้ จูงใจ สร้างแรงบันดาล หรื อแนะนาให้นาศึกษาทาวิจยั ในเรื่ องเกี่ยวกับ “การนา
หลักธรรมคาสอนในพุทธศาสนาเพื่อการบริ หารการศึกษาที่มปี ระสิทธิผล”
ก็เป็นอีกทางเอก หนึ่ งที่สาคัญ เช่น
 การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู น้ าวิถพ
ี ุทธ
 หลักธรรมสาหรับการบริ หารงานบุ คคล
 หลักธรรมสาหรับการบริ หารงานงบประมาณ
 หลักธรรมสาหรับการจู งใจคน
 หลักธรรมเพื่อความเป็ นธรรมในสถานศึกษา
 หลักธรรมเพื่อความเป็ นผู น้ าสถานศึกษา
 ฯลฯ
ทาอย่างไรนักศึกษาจึงจะหันมาสนใจทาวิจยั ในประเด็นที่เป็น “ทฤษฎีใหม่/วิสยั ทัศใหม่/
แนวโน้มใหม่/กระบวนทัศน์ใหม่” มากขึ้น ?
1. ปั จจัยด้านผูส้ อน
-
ไม่ยึดติดแต่ management แต่ตอ้ งยึด administration และ
leadership ให้มากขึ้น นั่นคือ ต้องนาเอา “ทฤษฎีใหม่/วิสยั ทัศน์ใหม่/แนวโน้มใหม่/กระบวน
ทัศน์ใหม่” มาเรียนมาสอนกันมากขึ้น ไม่เน้นแต่องค์ความรู เ้ ชิงเทคนิ ค เช่น วางแผนอย่างไร จูงใจ
อย่างไร จัดองค์กรอย่างไร เป็ นต้น รวมทัง้ “นโยบายของส่วนกลาง/ต้นสังกัด”
2. ปั จจัยด้านการเรียนการสอน
- กระตุน้ จูงใจ สร้างแรงบันดาลใจ ให้นักศึกษาสนใจ “ทฤษฎีใหม่/วิสยั ทัศน์ใหม่/แนวโน้มใหม่/
กระบวนทัศน์ใหม่” และเลือกประเด็นที่สนใจตัง้ แต่ภาคเรียนแรก แล้วเปิ ดโอกาสให้มกี ารศึกษา
ค้นคว้าใน “เชิงลึก” ในประเด็นที่สนใจอย่างจริ งจัง อย่างเป็ นระบบ และอย่างต่อเนื่ องทุกภาคเรียน
จนถึงขัน้ พัฒนาเป็ นเค้าโครงวิทยานิ พนธ์ได้ (หากไม่ทาเช่นนี้ ในสภาพการณ์ท่ จี วนตัว นักศึกษาจะ
หันไปจับประเด็นเก่าที่มคี นเคยทามาก่อน เพราะง่ายกว่า ?)
การเรียนการสอนเน้น “ทฤษฎีใหม่/วิสยั ทัศน์ใหม่/แนวโน้มใหม่/กระบวนทัศน์ใหม่”
หลักธรรมเพื่อ
ประสิทธิผลใน
กำรบริหำร
กำรศึกษำ
* พุทธศาสนากับการ
บริ หารการศึกษา
* คุณธรรม จริ ยธรรม
และจรรยาบรรณใน
วิชาชีพทางการบริ หาร
การศึกษา
วิพากษ์การศึกษา
ไทยในสังคมโลก
และภูมิภาค
พื้นฐานทางการ
บริ หารการศึกษา
ผู บ้ ริ หารการศึกษา
ไทยในสังคมโลกและ
ภูมิภาค
วิจยั เพื่อพัฒนำองค์ควำมรูท้ ำงกำรบริหำรกำรศึกษำ
• วิจยั ทางการบริ หารการศึกษา
• สถิติวิเคราะหื เพื่อการวิจยั
• การพัฒนาเค้าโครงวิทยานิ พนธ์
• การศึกษาอิสระทางการบริ หารการศึกษา
ทฤษฎีและ
แนวโน้มเพื่อการ
บริ หารการศึกษา
ขึ้นกับทัง้ “ศาสตร์” และ “ศิลป์ ” ของผูเ้ ขียน แต่อาจให้แนวคิดในการเขียน ดังนี้ เช่น
ความสาคัญในระดับทฤษฎี
ความสาคัญในระดับนโยบาย
ความสาคัญในการปฏิบตั ิ
ปั ญหาที่เกิดขึ้น
บทสรุ ปเหตุผลที่วจิ ยั
หากเพิ่มหัวข้อ “คาถามการวิจยั ” จะทาให้นักศึกษามีโอกาส “ตัง้ โจทย์” เพื่อแสวงหา
“คาตอบ” ที่ชดั เจนขึ้น และควรเขียนเป็น 1 paragraph ต่อเนื่ องกัน เช่น
ชื่องานวิจยั
“การพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่ อการเรี ยนรู ้ในสถานศึ กษาขัน้ พื้ นฐาน สพป. เขต 1”
คาถามการวิจยั
“สถานศึ กษาขัน้ พื้ นฐาน สพป. เขต 1 มี การพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่ อการเรี ยนรู ใ้ น 4
ด้าน คื อ ด้านกายภาพ ด้านการสอน ด้านเทคโนโลยี และด้านหลักสู ตร อยูใ่ น
ระดับใด ? และเมื่ อเปรี ยบเที ยบจาแนกตามขนาดของสถานศึ กษา และเพศของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึ กษา มี ความแตกต่างกันหรื อไม่ ?
เป็นประโยคบอกเล่าที่สอดรับกับคาถามการวิจยั ซึ่งควรเขียนเป็น 1 paragraph
เช่นกัน เช่น
“เพื่ อศึ กษาระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่ อการเรี ยนรู ้ใน 4 ด้าน คื อ ด้านกายภาพ
ด้านการสอน ด้านเทคโนโลยี และด้านหลักสู ตร ของสถานศึ กษาขัน้ พื้ นฐาน สพป.
เขต 1 และศึ กษาเปรี ยบเที ยบระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่ อการเรี ยนรู ้ใน 4
ด้านนัน้ จาแนกตามขนาดของสถานศึ กษา และเพศของผูบ้ ริ หารสถานศึ กษา
เนื่ องจากการวิจยั มีวตั ถุประสงค์ “เปรียบเทียบ” ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ น 4 ด้าน จาแนกตามขนาด
สถานศึกษา และเพศของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ด้วย ซึ่งกรณีแรกจะต้องใช้ F-test กรณีท่ สี องใช้ t-test ซึ่ง
เป็นสถิตอิ า้ งอิง จึงควรตัง้ สมมติฐานการวิจยั ด้วย ซึ่งนักศึกษาควรต้องหา “เหตุผล” มาสนับสนุ นการตัง้ สมมติฐานการ
วิจยั นั้นก่อน โดยเหตุผลนั้นอาจจาก “ทฤษฎี/หลักการ” หรื อจาก “ผลงานวิจยั ” เช่น
* นักทฤษฎี การบริ หารตามสถานการณ์ให้ทศั นะว่า รูปแบบการบริ หารองค์การไม่เป็ นรูปแบบสาเร็ จรู ปเดี ยวกัน แต่จะมี
ความแตกต่างกันไปตามเงื่ อนไขของสถานการณ์นัน้ ๆ (....อ้างอิ ง..........) ดังนัน้ การวิ จยั นี้ จึ งตัง้ สมมติ ฐานว่า การ
พัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่ อการเรี ยนรูใ้ น 4 ด้าน คื อ ด้านกายภาพ ด้านการสอน ด้านเทคโนโลยี และด้านหลักสูตร ของ
สถานศึ กษาขัน้ พื้ นฐาน สพป. เขต 1 เมื่ อเปรี ยบเที ยบจาแนกตามขนาดสถานศึ กษา และเพศของผูบ้ ริ หารสถานศึ กษา
มี ความแตกต่างกัน
หรื อ
* จากผลการวิ จยั ของ ..................(........) และของ.................... (........) ซึ่ งศึ กษาระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมการ
เรี ยนรูใ้ นสถานศึ กษา..... และมี การเปรี ยบเที ยบระดับการพัฒนาจาแนกตามขนาดของสถานศึ กษาพบว่ามี ความ
แตกต่างกัน และจากผลการวิ จยั ของ.................. (.....) มี การเปรี ยบเที ยบจาแนกตามเพศของผูบ้ ริ หารสถานศึ กษา
พบว่ามี ความแตกต่างกัน ดังนัน้ การวิ จยั นี้ จึ งตัง้ สมมติ ฐานว่า การพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่ อการเรี ยนรูใ้ น 4 ด้าน คื อ
ด้านกายภาพ ด้านการสอน ด้านเทคโนโลยี และด้านหลักสูตร ของสถานศึ กษาขัน้ พื้ นฐาน สพป. เขต 1 เมื่ อจาแนก
ตามขนาดสถานศึ กษา และเพศของผูบ้ ริ หารสถานศึ กษา มี ความแตกต่างกัน
 ขอบเขตด้านประชากร
 ขอบเขตด้าน......
 ขอบเขตด้าน......
 ขอบเขตด้าน.....
 ขอบเขตด้านตัวแปร/เนื้ อหา
ควรนาเสนอตัวแปรต้น และ ตัวแปรตาม ไว้ในบทที่ 1 นี้ ไม่นาเสนอไว้ในบทที่ 3
 “ตัวแปรตำม” ที่นามาศึกษาทุกตัวแปร จะต้องมีการกาหนด “นิ ยามศัพท์เฉพาะ”
เพื่อแสดงให้ทราบว่า “ในงานวิจยั นี้” ตัวแปรนั้นๆ มีนิยามศัพท์เฉพาะสาหรับ
งานวิจยั นี้วา่ อย่างไร (อาจเหมือนหรื ออาจแตกต่างจากนิ ยามศัพท์ท่ ใี ช้กนั ทัว่ ไป)
 “นิ ยามศัพท์เฉพาะของตัวแปรนั้น ๆ” ที่อาจเหมือนหรื ออาจแตกต่างจากนิ ยามศัพท์
ที่ใช้กนั ทัว่ ไปนั้น ได้มาจากผลการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ซึ่งการ
review สาระของตัวแปรตามแต่ละตัว ผูว้ ิจยั จะต้องมีการสรุ ปสาระสาคัญ
ของตัวแปรตามนั้น เพื่อนาไปกาหนดเป็น “นิ ยามศัพท์เฉพาะ” ในบทที่ 1
 จุ ดมุ ง่ หมายในการกาหนด “นิ ยามศัพท์เฉพาะของตัวแปรนั้น ๆ” เพื่อนาไปใช้เป็ น
กรอบในการ “ทาข้อคาถาม” ในแบบสอบถาม ดังนั้น นิ ยามศัพท์เฉพาะจะต้องมี
ความชัดเจน ไม่คลุมเครื อ กระชับ ไม่เยิ่นเย้อ ไม่น้าท่วมทุง่ เน้น concept ที่
สาคัญๆ
ส่วนคาอื่นๆ ขึ้นกับความสาคัญและจาเป็นที่ตอ้ งนามากาหนดนิ ยามศัพท์เฉพาะหรื อไม่
 หัวข้อนี้
ควรเป็นหัวข้อสุ ดท้ายของบทที่ 1
 ควรคานึ งถึงประโยชน์ท่ คี าดว่าจะได้รบ
ั ทัง้ เชิงวิชาการ และการนาผลการวิจยั ไปใช้
ซึ่งจะมีความสัมพันธ์กบั “ข้อเสนอแนะ” ในบทที่ 5 ซึ่งควรมีทงั้ “ข้อเสนอแนะจาก
ผลการวิจยั ” และ “ข้อเสนอแนะเพื่อการนาไปใช้”
การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเป็น “หัวใจสาคัญ” หนึ่ งของงานวิจยั เพราะ
 เป็ นแหล่งที่จะแสดงความเป็ นเหตุเป็ นผลและความชัดเจนของตัวแปรที่จะใช้ในการวิจยั
 เป็ นแหล่งที่มาของนิ ยามศัพท์เฉพาะเพื่อใช้ในการวิจยั
 เป็ นแหล่งที่มาของกรอบแนวคิดเพื่อการวิจยั
 เป็ นแหล่งที่ผูว้ จ
ิ ยั สามารถ “พัฒนาทักษะเชิงวิชาการ” ของตนเองได้หลายๆ ทักษะ เช่น
ทักษะการค้นคว้าแหล่งข้อมูล ทักษะการเลือกข้อมูล ทักษะการแปลความข้อมูล ทักษะ
ภาษาอังกฤษ ทักษะการนาเสนอข้อมูล ทักษะการวิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูล และ
ทักษะ............
 ฯลฯ
แต่.... น่าเสียดาย งานวิจยั หลายเรื่ อง นาเสนอเนื้ อหาในบทที่ 2 อย่างไม่เป็นระบบ อย่างไม่มี
จุดมุง่ หมาย อย่างวกไปวนมา อย่างล้าสมัย อย่างขาดแหล่งอ้างอิง และอย่าง ....... ทาให้
นักศึกษา “ทิ้งโอกาส” ในการพัฒนาทักษะเชิงวิชาการให้ตนเอง
การเรียนการสอนแบบเก่า นักศึกษาจะมุง่ มาเพื่อ “นั่งฟังการบรรยายการสอนของ
ผูส้ อน” เรียกว่า Passive Learning แต่การเรียนการสอนแบบใหม่
นักศึกษาจะต้องเป็น “ผูศ้ ึกษาค้นคว้าด้วยตนเองให้มาก” เรียกว่า Active
Learning แต่ในทางปฏิบตั จิ ริ ง ทัง้ ผูส้ อนและผูเ้ รียนยังติดกับ “แบบเก่า” กันอยู ่
จุดมุง่ หมายหลักในการทาวิทยานิ พนธ์ของนักศึกษา คือ “เพื่อก่อให้เกิดการเรียนรู ใ้ น
การทาวิจยั ด้วยการปฏิบตั จิ ริ ง” (learning by doing) ไม่เรียนแต่
ภาคทฤษฎีในรายวิชาอย่างเดียว ซึ่ง “การศึกษาวรรณกรรมในบทที่ 2” เป็นแหล่งหนึ่ ง
ที่จะช่วยก่อเกิดการเรียนรู ใ้ น “ทักษะเชิงวิชาการ” ให้นักศึกษา หากผูส้ อน “ไม่ให้
โอกาส” หรื อผูเ้ รียน “ทิ้งโอกาส” อันนี้ ก็เป็นที่น่าเสียดาย “เวลา” ที่สูญเสียไป --- ทา
ให้เกิดความรู ส้ ึ กเหมือนว่า “มำ.....แล้วก็จะรีบไป....”
ข้อเสนอแนะ
อันดับแรก ในส่วนผูส้ อนควรต้อง “ให้โอกาส” กับนักศึกษาก่อน เช่น ในภาคเรียนแรก
นาเอา “ทฤษฎีใหม่/วิสยั ทัศใหม่/แนวโน้มใหม่/กระบวนทัศน์ใหม่” มาสู ก่ ารเรียนการสอนกัน
มากขึ้น เพื่อสร้างแรงจูงใจ สร้างแรงบันดาลใจ ให้นักศึกษาสนใจที่จะทาวิจยั เรื่ องใหม่ๆ แล้ว
ในภาคเรียนที่ 2 – 3 ควรมี “รายวิชา” (แบบไม่มหี น่วยกิตก็ได้) ให้นักศึกษาได้มกี ารศึกษา
ค้นคว้า “เชิงลึก” ในหัวข้อที่ตนเองสนใจจะทาวิจยั ทัง้ จากตาราและอินเตอร์เน็ต
อันดับสอง ในส่วนของผูเ้ รียน ควรต้อง “ใช้โอกาส” ให้เป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาทักษะเชิง
วิชาการในส่วนนี้ของตนเอง ทุกคนควรมี Note Book ประจาตัว สามารถสืบค้นข้อมูล
ใหม่ๆ ทางอินเตอร์เน็ตได้ในรายวิชาเรียน
**หากไม่ทาเช่นนี้ โดยส่วนตัวเชื่อว่า นักศึกษาจะวนเวียนแต่เรื่ องเก่าๆ
กรณีหลักสูตรของ ป. เอก
ในภาคเรียนแรก จะให้เรียนรายวิชา “วิจยั ทางการบริ หารการศึกษา” และรายวิชา “วิพากษ์การศึกษาไทยในสังคม
โลกและภูมิภาค” และรายวิชา “ทฤษฎีและแนวโน้มเพื่อการบริ หารการศึกษา”
ในภาคเรียนที่สอง จะให้นักศึกษาสารวจประเด็นที่ตนเองสนใจทาวิจยั แล้วให้ทาการศึกษา “เชิงลึก” นั้น จาก
รายวิชา “การศึกษาอิสระทางการบริ หารการศึกษา”
ในภาคเรียนที่สาม จะให้นักศึกษาทาการศึกษาค้นคว้า “เชิงลึก” ในประเด็นที่สนใจนั้นต่อจากรายวิชา “พัฒนาเค้า
โครงวิทยานิ พนธ์ทางการบริ หารการศึกษา”
โดยท้าทายและจูงใจว่า ให้ศึกษาค้นคว้าได้ดี หากทาเป็นบทที่ 1-3 ได้ดมี คี ุณภาพ ก็ให้เอาบทที่ 1-3 นั้น มาใช้ในการ
สอบวัดคุณสมบัติ (qualify examination: QE.) เพื่อประเมินศักยภาพว่าสามารถจะทา
วิทยานิ พนธ์ได้หรื อไม่ จะไม่สอบ QE. แบบให้อา่ นหนังสือมาสอบความรู ค้ วามจาแบบเก่าๆ เพราะไม่เกิด
ประโยชน์อะไร สู ใ้ ห้โอกาสและกระตุน้ ให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้า “เฃิงลึก” ด้วยตนเอง จะได้ประโยชน์ในการ
พัฒนา “ทักษะเชิงวิชาการ” ได้มากมาย
 ให้มแี ต่หวั ข้อ
“ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง” ตัดหัวข้อ “เทคนิ ควิธกี ารสุ ม่ ตัวอย่าง”
ออกไป เพราะมีการอธิบายซา้ ซ้อน วกไปวนมา และมีความสับสนในเรื่ อง “ขนาด
กลุม่ ตัวอย่าง” และ “วิธกี ารสุ ม่ ” --- สถาบันอื่นๆ ไม่มหี วั ข้อนี้
 หากต้องการกระจายกลุม่ ตัวอย่างตามสัดส่วนประชากรใน “ตัวแปรต้น” ให้
กระจายเพียง “ตัวแปรใดตัวแปรหนึ่ งที่สาคัญ” ไม่กระจาย 2/3 ตัวแปร เพราะ
“เป็นไปไม่ได้” ที่จะต้อง “สุ ม่ อย่างง่าย” เพื่อให้ได้มาซึ่งกลุม่ ตัวอย่างในแต่ละตัว
แปรที่กระจาย 2/3 ตัวนั้น
เพศ
อำยุ
ขนำดสถำนศึกษำ
ปัญหา คือ ในตอนสุ ม่ กลุม่ ตัวอย่างจะสุ ม่ โดยตัวแปรตัวไหน
เพราะสุ ม่ มาได้ครัง้ เดียว หากสุ ม่ ทุกตัวแปร ก็แสดงว่าจะได้กลุม่
ตัวอย่างมา 3 กลุม่ สาหรับงานวิจยั 1 เรื่ องอย่างนั้นหรื อ ?
1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจยั
ประชากรที่ใช้ในการวิจยั เป็น............................... ซึ่งจากสถิติในปีการศึกษา.... มี
จานวน................................ (....อ้างอิง....)
1.2 กลุม่ ตัวอย่างในการวิจยั
จากประชากรที่ใช้ในการวิจยั จานวน ...... ราย ผูว้ จิ ยั ใช้ตารางสาเร็จรู ปของ Krejie
and Morgan (...อ้างอิง...) เพื่อกาหนดขนาดกลุม่ ตัวอย่าง (sample size) ที่
ระดับความเชื่อมัน่ 0.95 ได้จานวน ........ ราย และเพื่อให้กลุม่ ตัวอย่างมีการกระจายไปตาม
สัดส่วนของประชากรในสถานศึกษาแต่ละขนาด ผูว้ จิ ยั ได้ใช้วธิ กี ารสุ ม่ แบบ.......... ........
.................................. ได้จานวนกลุม่ ตัวอย่างในสถานศึกษาแต่ละขนาดดังตาราง..... และ
วิธกี ารให้ได้มาซึ่งกลุม่ ตัวอย่างในสถานศึกษาแต่ละขนาด ผูว้ จิ ยั ได้ใช้วิธกี ารสุ ม่ อย่างง่าย
(simple random sampling) แบบ................
ขนำดเล็ก
ขนำดกลำง
ขนำดใหญ่

การสร้างเครื่ องมือ
ส่วนใหญ่จะสร้างเครื่ องมือขึ้นใช้เอง เป็ นแบบ rating scale 5 อันดับตามแนวของ
Likert โดยอาจมีปลายเปิ ด (open ended) ต่อท้ายของแต่ละแปรด้วย เพื่อให้ได้กลุม่
ตัวอย่างมีโอกาสให้ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ เพิ่มเติมด้วย --- ก็ควรดูวา่ ได้เขียนคาอธิบายวิธกี ารสร้าง
เครื่ องมือตรงนี้ได้ถูกต้อง และครบถ้วนสมบู รณ์แล้วหรื อไม่
 การตรวจสอบคุ ณภาพของเครื่ องมือ มี 2 กรณี คือ
1)
การนาข้อคาถามไปสอบถามผู ท้ รงคุณวุฒจิ านวนหนึ่ ง เพื่อดูความตรงเชิงเนื้ อหา
(content validity) นามาวิเคราะห์หาค่า IOC (ควรให้ผูท้ รงคุณวุฒติ รวจสอบ
ความสอดคล้องของข้อคาถามกับ “นิ ยามศัพท์เฉพาะ” โดยแนบข้อมูลคานิ ยามศัพท์เฉพาะให้ผู ้
ทรงวุฒไิ ด้พิจารณาด้วย)
2)
การนาแบบสอบถามไป Try out ในส่วนนี้ ต้องระวังให้เขียนให้ถูกต้องว่านาไปทดลองใช้
กับกลุม่ ตัวอย่างเท่าไร ที่ไหน และไม่สบั สนกับเรื่ องค่าอานาจจาแนก (หลายคนยังเขียนผิดๆ
ถูกๆ ต้องระวัง)
* ทัง้ กรณีคา่ IOC และค่า reliability ควรนาเสนอตารางแสดงค่า “โดยรวมและรายด้าน”
ให้เห็นด้วย ส่วนที่เป็ นรายละเอียดเป็ นรายข้อนั้น ก็แสดงไว้ในภาคผนวก
นาแบบสอบถามที่ได้รับการตรวจสอบจากอาจารย์ท่ ปี รึ กษาให้ผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพ
ของข้อคาถามด้านความตรงเชิงเนื้ อหา(content validity) คัดเลือกผูเ้ ชี่ยวชาญ
แบบเจาะจง (purposive sampling) จานวน 3 กลุม่ ๆ ละ 3 คน รวม
9 คน ได้แก่ กลุม่ ผูเชี่ยวชาญด้านการบริ หารการศึกษา กลุม่ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านจิตวิทยา
และกลุม่ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลทางการศึกษา (ดูรายนามผูเ้ ชี่ยวชาญใน
ภาคผนวก ข) โดยให้ผูเ้ ชี่ยวชาญพิจารณาความตรงของข้อคาถามโดยการหาดัชนีความ
สอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับนิ ยามเชิงปฏิบตั ิการ (item-objective
congruence: IOC)
ค่า IOC ของแบบสอบถามที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้โดยภาพรวมเท่ากับ 0.90 ส่วนค่า
IOC ของรายตัวแปรแฝงอยูร่ ะหว่าง 0.78 - 1.00 (ดูผลการวิเคราะห์คุณภาพเครื่ องมือ
ตรวจสอบคุณภาพเครื่ องมือในภาคผนวก ช) แสดงให้เห็นว่าค่า IOC ของแบบสอบถาม
ที่ใช้ในการวิจยั มีคา่ มากกว่า 0.50 ทุกข้อคาถาม สามารถสรุ ปได้วา่ ทุกข้อคาถามมีความ
สอดคล้องเหมาะสมกับนิ ยามเชิงปฏิบตั ิการ ดังนั้นจึงสามารถตัดสินได้วา่ ข้อคาถามมีความ
สอดคล้องกันหรื อมีความตรงเชิงเนื้ อหา (สุ วมิ ล ติรกานันท์, 2548)
ผูว้ ิจยั ได้นาแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้ (try-out) กับผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษาขัน้ พื้นฐานสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น
เขต 1 และเขต 4 ซึ่งไม่ใช่กลุม่ ตัวอย่างจานวน 30 คน แล้วนาข้อมูลที่ได้ไป
วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมัน่ (reliability) ของแบบสอบถามเป็นรายด้านและ
โดยรวม ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (alpha coefficient) โดยใช้วิธี
ของครอนบาค (Cronbach) ได้คา่ ความเชื่อมัน่ ของแบบสอบถามโดยรวมทัง้
ฉบับเท่ากับ 0.95 และได้คา่ ความเชื่อมัน่ รายด้านอยูร่ ะหว่าง 0.71 - 0.86 โดย
เกณฑ์คา่ ความเชื่อมัน่ ที่เหมาะสมควรอยูร่ ะหว่าง 0.60-1.00 แสดงว่าค่าความ
เชื่อมัน่ ที่วิเคราะห์ได้ดงั กล่าวมีคา่ สู งกว่าเกณฑ์ท่ กี าหนด จึ งสามารถนาไปใช้ได้ ดังใน
ตารางที่........
 หัวข้อนี้
ไม่มปี ั ญหาเท่าใด แต่ในการอธิบายนั้น ควรให้ขอ้ มูลเพิ่มเติมเพื่อความ
ชัดเจนด้วยว่า เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเวลาใด ส่งแบบสอบถามไปเท่าใด แล้ว
ได้รบั กลับคืนมาเท่าใด ได้ใช้วิธกี ารใดในการติดตามเพื่อให้ได้รบั แบบสอบถาม
กลับคืนมา
 ส่วนใหญ้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ก็ควรอธิบายถึงสถิตทิ ่ ใี ช้ในการวิจยั ให้ครบถ้วน
แต่ไม่จาเป็นแสดงรายละเอียดของ “สู ตร” การวิเคราะห์ขอ้ มูลประกอบ โดย
ส่วนตัวเห็นว่าไม่จาเป็น เพราะสู ตรที่นักศึกษาแสดง อาจไม่ตรงกับสู ตรที่โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ใช้กไ็ ด้
 การกาหนกดเกณฑ์การแปลผลข้อมู ล ส่วนใหญ่ไม่มป
ี ั ญหา
สมมุตวิ ตั ถุประสงค์การวิจยั กาหนดดังนี้
“เพื่ อศึ กษาระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่ อการเรี ยนรู ้ใน 4 ด้าน คื อ ด้านกายภาพ
ด้านการสอน ด้านเทคโนโลยี และด้านหลักสู ตร ของสถานศึ กษาขัน้ พื้ นฐาน สพป.
เขต 1 และศึ กษาเปรี ยบเที ยบระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่ อการเรี ยนรู ้ใน 4 ด้าน
นัน้ จาแนกตามขนาดของสถานศึ กษา และเพศของผูบ้ ริ หารสถานศึ กษา
แสดงให้เห็นว่า ผูว้ ิจยั จะต้องนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีละด้าน 4 ด้าน โดยแต่
ละด้านนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่แสดง “ระดับ” เสร็จแล้วก็ตามด้วย “การ
เปรียบเทียบ” ตัวแปรต้นตัวที่ 1 และตัวที่ 2 ต่อไปเลยตามลาดับ ---- ดูเฟรมถัดไป
1. ระดับกำรพัฒนำสภำพแวดล้อมเพื่อกำรเรียนรูใ้ นด้ำนกำยภำพ และกำรเปรียบเทียบจำแนกตำมขนำดของ
สถำนศึกษำ และเพศของผูบ้ ริหำรสถำนศึกษำ
1.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านกายภาพ
1.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
1.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถาน
2. ระดับกำรพัฒนำสภำพแวดล้อมเพื่อกำรเรียนรูใ้ นด้ำนกำรสอน และกำรเปรียบเทียบจำแนกตำมขนำดของ
สถำนศึกษำ และเพศของผูบ้ ริหำรสถำนศึกษำ
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านการสอน
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถาน
3. ระดับกำรพัฒนำสภำพแวดล้อมเพื่อกำรเรียนรูใ้ นด้ำนเทคโนโลยี และกำรเปรียบเทียบจำแนกตำมขนำดของ
สถำนศึกษำ และเพศของผูบ้ ริหำรสถำนศึกษา
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านเทคโนโลยี
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
4. ระดับกำรพัฒนำสภำพแวดล้อมเพื่อกำรเรียนรูใ้ นด้ำนหลักสูตร และกำรเปรียบเทียบจำแนกตำมขนำดของ
สถำนศึกษำ และเพศของผูบ้ ริหำรสถำนศึกษำ
แสดงเฉพำะ 4 ด้ำน ไม่ตอ้ งแสดง “ภำพรวม
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านหลักสู ตร
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
ของทัง้ 4 ด้ำน” จะเกินวัตถุประสงค์กำรวิจยั
และจะมีปัญหำหำกบำงตัวแปรมีนยั เป็ นบวก
บำงตัวแปรมีนยั เป็ นลบ
X
SD
แปลควำม
1. xxxxxxxxxxxxxxxx
xxxx xxxx
xxxx
2. xxxxxxxxxxxxxxxx
xxxx
xxxx
xxxx
3. xxxxxxxxxxxxxxxx
xxxx
xxxx
xxxx
โดยรวม
จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในตารางที่ .... พบว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานมีการบริ หารงาน
ด้านวิชาการโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก (xˉ = xxxx) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า มีการบริ หารงาน
อยูใ่ นระดับมากทุกข้อ ยกเว้น.................................. มีระดับการแสดงออกอยูใ่ นระดับมากที่สุด (..............)
มีขอ้ สังเกตว่า ข้อที่มคี า่ เฉลี่ยสู งสุ ดคือ ............................ ข้อที่มคี า่ เฉลี่ยต่าสุ ด คือ ...................................
และจากข้อเสนอแนะแนวทางการบริ หารงานวิชาการที่ได้จากแบบสอบถามแบบปลายเปิ ด (open
ended) มีขอ้ เสนอแนะที่สาคัญดังนี้ 1)................................................ (ค่าความถี่เท่ากับ...)
2)........................................... (ค่าความถี่เท่ากับ.....) 3) ..............................................(ค่าความถี่เท่ากับ
.....) และ 4) ............................................... (ค่าความถี่เท่ากับ.....)
หากเก็บข้อมูลแบบปลายเปิ ดด้วย
ไม่ตำยตัว
กรณี t-test หากพบ “ความแตกต่าง” ให้ระบุดว้ ยว่า “ใครมากกว่าใคร” แล้วเอา
ประเด็นที่วา่ “ใครมากกว่าใคร” นี้ ไปอภิปรายผล
เช่น
“ผลการวิเคราะห์ดงั ตารางที่ 9 พบว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาขัน้ พื้ นฐานเพศชายและเพศหญิ งมี ระดับการแสดงออก

ด้านความพึ งพอใจในการทางานแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 โดยผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาเพศ
หญิ งมี ความพึ งพอใจในการทางานมากกว่าผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาเพศชาย”
กรณี F-test หากพบ “ความแตกต่าง” จะมีการทดสอบความแตกต่างรายคูต่ อ่ ไป ซึ่ง
จะทาให้ทราบว่าคูไ่ หนที่มคี วามแตกต่างกัน ก็ให้ระบุเช่นกันว่า “ใครมากกว่าใคร” แล้วเอา
ประเด็นที่วา่ “ใครมากกว่าใคร” นี้ ไปอภิปรายผล
เช่น

“จากตารางที่ 12 พบว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึ กษาขัน้ พื้ นฐานที่ มี ชว่ งอายุนอ้ ยกว่า 41 ปี กับช่วงอายุ 51-60 ปี มี ระดับ
ความพึ งพอใจในการทางานแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 โดยผูบ้ ริ หารที่ มี ชว่ งอายุ 51-60 ปี มี
ระดับความพึ งพอใจในการทางานมากกว่าผูบ้ ริ หารที่ มี ชว่ งอายุนอ้ นกว่า 41 ปี ส่วนคูอ่ ื่ นๆ ไม่พบความแตกต่าง”
สรุปผลกำรวิจยั 4 ด้ำนๆ ละ 3 ประเด็น (ตำมวัตถุประสงค์กำรวิจยั )
1. ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านกายภาพ และการเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึ กษา
และเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
1.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านกายภาพ
3 ประเด็น
1.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
1.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถาน
2. ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านการสอน และการเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึ กษา
และเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านการสอน
3 ประเด็น
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถาน
3. ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านเทคโนโลยี และการเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
และเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านเทคโนโลยี
3 ประเด็น
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
4. ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านหลักสู ตร และการเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
และเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านหลักสู ตร
3 ประเด็น
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
ระดับกำรแสดงออกภำวะผูน้ ำเชิงจิตวิญญำณสำหรับผูบ้ ริหำรสถำนศึกษำขัน้
พื้นฐำน และเปรียบเทียบจำแนกตำมเพศและขนำดของโรงเรียน
ผู บ้ ริ หารสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานมีระดับการแสดงออกภาวะผู น้ าเชิงจิตวิญญาณโดยภาพ
รวมอยูใ่ นระดับมาก (xˉ = 4.45) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า มีระดับการแสดงออกภาวะผู น้ า
เชิงจิตวิญญาณอยูใ่ นระดับมากทุกข้อ ยกเว้น............... โดยมีขอ้ สังเกตว่า ข้อที่มมี คี า่ เฉลี่ยสู งสุ ดคือ
............................ ข้อที่มคี า่ เฉลี่ยต่ าสุ ด คือ...................................................... และจาก
ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาภาวะผู น้ าเชิงจิตวิญญานที่ได้จากแบบสอบถามแบบปลายเปิ ด
(open ended) มีขอ้ เสนอแนะที่สาคัญดังนี้ 1)................................................ (ค่าความถี่
เท่ากับ...) 2)........................................... (ค่าความถี่เท่ากับ.....) 3)
..............................................(ค่าความถี่เท่ากับ.....) และ 4) ....................................................
(ค่าความถี่เท่ากับ.....)
ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการแสดงออกภาวะผู น้ าเชิงจิตวิญญาณสาหรับ
ผู บ้ ริ หารสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานเมื่อจาแนกตามเพศ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ ี
ระดับ 0.05 โดยเพศหญิงมีระดับการแสดงออกภาวะผู น้ าเชิงจิตวิญญาณมากกว่าเพศชาย เมื่อ
เปรียบเทียบจาแนกตามตามขนาดของโรงเรียน 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาด
ใหญ่ พบว่า ไม่แตกต่างกัน
อภิปรำยผล 4 ด้ำน ๆ ละ 3 ประเด็น รวมแล้วต้องอภิปรำยผล 12 ประเด็น
1. ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านกายภาพ และการเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึ กษา
และเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
1.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านกายภาพ
3 ประเด็น
1.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
1.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถาน
2. ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านการสอน และการเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึ กษา
และเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านการสอน
3 ประเด็น
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถาน
3. ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านเทคโนโลยี และการเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
และเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านเทคโนโลยี
3 ประเด็น
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
4. ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านหลักสู ตร และการเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
และเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
2.1 ระดับการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู ใ้ นด้านหลักสู ตร
3 ประเด็น
2.2 การเปรียบเทียบจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา
2.3 การเปรียบเทียบจาแนกตามเพศของผู บ้ ริ หารสถานศึกษา
ควรให้ขอ้ เสนอแนะ 3 กรณี คือ
1) ข้อเสนอแนะจากผลการวิจยั
ไล่เลียงข้อค้นพบจากผลการวิจยั มาทีละด้าน ทะละประเด็น ดูวา่ ข้อค้นพบ
นั้นๆ ควรมีขอ้ เสนอแนะอย่างไร
2) ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
จากข้อค้นพบทัง้ หมดนั้น หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวง สพฐ
สพท. หรื อโรงเรียนเอง จะนาผลการวิจยั ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ควร
นาไปใช้อย่างไร
3) ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจยั ในอนาคต
ในลักษณะที่เป็นวิจยั ต่อยอด หรื อเชื่อมโยงกับการวิจยั อื่น
 ในรุ ่นต่อๆ ไป
ควรให้นักศึกษาเอาผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หรื อ print out มาเสนอไว้ในภาคผนวกด้วย