ความรู้เรื่องสุขภาพจิต และ เทคนิคการประสานงาน

Download Report

Transcript ความรู้เรื่องสุขภาพจิต และ เทคนิคการประสานงาน

ความรู้ เรื่องสุ ขภาพจิต
และ
เทคนิคการประสานงาน
ภวมัย กาญจนจิรางกูร
สานักพัฒนาสุ ขภาพจิต
กรมสุ ขภาพจิต
"สุขภาพจิตและสุขภาพกายนั้นพูดได้ ว่า สุขภาพจิตสาคัญกว่ าสุขภาพ
กายด้ วยซ้า เพราะว่ าคนไหนทีร่ ่ างกายสมบูรณ์ แข็งแรงแต่ จิตใจฟั่นเฟื อน
ไม่ ได้ เรื่ องนั้น จะไม่ เป็ นประโยชน์ ต่องานหรื อสังคม แต่ อย่ างใด ส่ วนคนที่
สุขภาพกายไม่ สู้ จะแข็งแรงแต่ สุขภาพจิตดีหมายความว่ าจิตใจดี ร้ ูจักจิตใจ
ของตัวเองและร้ ูจักปฏิบัติให้ ถูกต้ องย่ อมเป็ นประโยชน์ ต่อตัวเองและเป็ น
ประโยชน์ ต่อสังคมได้ มากในทีส่ ุ ด สุขภาพจิตทีด่ ีกอ็ าจจะพามาซึ่งสุขภาพ
กายได้ ผ้ ทู จี่ ะสอนวิชาชีพหรื อปฏิบัติงานอย่ างอื่น นอกจากการรั กษาอดีต
แล้ วยัง ช่ วยทาให้ กายนั้นหายจากโรคภัยได้ สะดวก"
พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
พระตาหนักภูพงิ ค์ ราชนิเวศน์
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520
สุ ขภาพจิต
องค์ การอนามัยโลก ได้ ให้ ความหมายของสุ ขภาพจิตว่ า
"เป็ นความสามารถของบุคคลที่จะปรับตัวให้ มคี วามสุ ขอยู่กบั สั งคมและ
สิ่ งแวดล้ อมได้ ดี มีสัมพันธภาพอันดีงามกับบุคคลอืน่ และดารงชีวติ อยู่
ได้ ด้วยความสมดุลอย่ างสุ ขสบาย รวมทั้งสนองตอบความต้ องการของ
ตนเองในโลกที่กาลังเปลีย่ นแปลงได้ โดยไม่ มขี ้ อขัดแย้ งภายในจิตใจและ
มิได้ หมายความ เฉพาะเพียงแต่ ปราศจากอาการของโรคประสาทและโรค
จิตเท่ านั้น"
(WHO in Hogarth 1978 : 236)
สุ ขภาพจิต
สุ ขภาพจิต หมายถึง สภาพชีวติ ทีเ่ ป็ นสุ ข
ผู้มอี ารมณ์ มนั่ คง สามารถปรับตัวให้ เข้ ากับสั งคมที่
เปลีย่ นแปลงมาก ๆ ได้ มีสมรรถภาพในการทางานและ
อยู่ร่วมกับผู้อนื่ ด้ วยความพอใจ
นพ. ฝน แสงสิ งแก้ ว (2532 : 289)
สรุปได้ ว่า :
สุ ขภาพจิตเป็ นเรื่องทีม่ คี วามสั มพันธ์ ระหว่ างคนกับ
สิ่ งแวดล้ อม โดยมีความรู้ สึกหรือสภาวะทางจิตใจเกีย่ วข้ อง
อยู่ด้วย
การมีสุขภาพจิตทีด่ ี คือ การสามารถใช้ กลไกในการ
ปรับตัวทีถ่ ูกต้ อง สามารถปรับอารมณ์ ความรู้ สึกสู่ สภาวะ
สมดุลได้ โดยทีต่ นเองและสิ่ งแวดล้ อมไม่ เดือดร้ อน
ผู้ทมี่ ีสุขภาพจิตทีด่ ี มีลกั ษณะดังนี้
1. เกีย่ วกับตนเอง จะพึงพอใจในการกระทาทีพ่ จิ ารณาว่ าดีว่าถูกต้ องแล้ ว เข้ าใจ
ตนเองดี แก้ ไขปัญหาต่ าง ๆ ของตนเองได้ ตลอดจนสามารถควบคุมอารมณ์ ได้
2. เกีย่ วกับบุคคลอืน่ ย่ อมยอมรับฟังความเห็นของผู้อนื่ นับถือและมีความรักผู้อนื่
อย่ างจริงใจ มีความไว้ วางใจผู้อนื่ และทาประโยชน์ ให้ แก่ หมู่คณะตลอดจนรู้ สึกว่ าตนเป็ น
ส่ วนหนึ่งของหมู่คณะ
3. เกีย่ วกับความสามารถในการดาเนินชีวิต ผู้มสี ุ ขภาพจิตดีย่อมแก้ ปัญหาของตนได้
มีความมุ่งหมายในชีวติ มีความรับผิดชอบในหน้ าทีข่ องตน และรู้ จักใช้ ความสามารถของ
ตนให้ เป็ นประโยชน์ ต่อตนเองและผู้อนื่
(สุ รางค์ จันทร์ เอม 2527 : 14 – 15 )
วิธีการส่ งเสริมสุ ขภาพจิตด้ วยตนเอง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ฝึ กควบคุมอารมณ์
สะสมไมตรี
ไม่ หนีอุปสรรค
รู้ จักฝึ กใจ
ใฝ่ เสริมคุณค่ า
หาความสงบสุ ข
ออกกาลังกาย ท่ องเที่ยว เล่ นเกม เล่ นกีฬา
สั ญญาณเตือน..ภาวะปัญหาสุ ขภาพจิต
ด้ านร่ างกาย : มักเจ็บป่ วยบ่ อยๆ โดยไม่ ทราบสาเหตุ
ไม่ มเี รี่ยวแรง ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ
ด้ านจิตใจ : เคร่ งเครียด เศร้ าหมอง ฟุ้ งซ่ าน เบื่อหน่ าย
ไม่ มสี มาธิในการทางาน ฯลฯ
ด้ านพฤติกรรม : สู บบุหรี่/ดืม่ สุ รามากขึน้ อาจใช้ ยากระตุ้นหรือ
สารเสพติดต่ างๆ จู้จี้ ขีบ้ ่ น เก็บตัว ฯลฯ
ความเครียด
ความเครียด
ความรู ้สึกหรื อปฏิกิริยาตอบสนองของร่ างกายและจิตใจที่เกิดขึ้น
เพื่อต่อต้านสิ่ งที่มาคุกคาม เพื่อรักษาสภาวะสมดุลของร่ างกายไว้
ความเครียดในระดับน้ อย ๆ
จะกระตุน้ ให้ร่างกายเกิดความพยายาม
อดทนและต่อสู ้เพื่อขจัดความเครี ยด
และส่ งเสริ มให้เกิดความเข้มแข็ง
สามารถเอาชนะปัญหาและอุปสรรคได้
ความเครียดเกิดอยู่นานและรุ นแรงเกินไป
จะทาให้เกิดปั ญหาสุ ขภาพจิตหรื อ
เจ็บป่ วยทางกายและทางจิตได้
เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิ ต มะเร็ ง
โรคกระเพาะ โรคซึ มเศร้า ฯลฯ
วิธีการจัดการกับความเครียด
 เสริมสร้ างสุ ขภาพให้ แข็งแรง
 เปลีย่ นแปลงสถานการณ์ ที่ทาให้ เครียด
 เปลีย่ นแปลงที่จิตใจ
 ฝึ กผ่ อนคลายความเครียด
เทคนิคการผ่ อนคลาย
 การฝึ กการหายใจ (Breathing Relaxation)
 การฝึ กผ่ อนคลายกล้ ามเนือ้ (Muscle Relaxation)
 การฝึ กสร้ างภาพในจินตนาการ (Visual Imagery
Training)
 การนวดคลายเครียด (Massage)
การประสานงาน
การประสานงาน
การประสานงาน คือ การดาเนินการเพือ่ ให้ กจิ กรรมที่
วางแผนไว้ มีความต่ อเนื่องและบรรลุผลตามเป้าหมายทีว่ าง
ไว้ ซึ่งการทาหน้ าทีด่ งั กล่ าวได้ อย่ างราบรื่นและประสบความ
สาเร็จนั้น จาเป็ นต้ องอาศัยทักษะในการเป็ นผู้ประสาน
ซึ่งเป็ นทักษะในการทางานร่ วมกันระหว่ างบุคคล กลุ่ม หรือ
หน่ วยงาน เพือ่ ให้ งานสาเร็จตามเป้ าหมายที่วางไว้
คุณสมบัตขิ องผู้ประสานงาน
1. ใจเย็น มีความอดทนสู ง
2. เสี ยสละ เห็นประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่ าประโยชน์ ส่วนตน
และมีความเต็มใจให้ บริการ
3. มีความสามารถในการปรับตัว และมีความยืดหยุ่นในการ
เผชิญกับสถานการณ์ ต่าง ๆ
4. มีมนุษยสั มพันธ์ ทดี่ ี
5. มีความกระตือรือร้ นในการทางาน
ทักษะการเป็ นผู้ประสานและการเตรียมตัว
ทักษะที่จาเป็ น
1. การสร้ างความสั มพันธ์ ที่ดี
2. การสื่ อสาร
3. การทางานเป็ นทีม
การเตรียมตัวในการประสานงาน
1. เตรียมข้ อมูล
2. แนะนาตัว
3. ความเป็ นมาและวัตถุประสงค์ ของการติดต่ อ
4. ช่ องทางในการติดต่ อผู้ประสาน
เทคนิคการประสานงาน
1. รู้ เขารู้ เรา พยายามผูกมิตร
2. รู้ จกั ขอความร่ วมมือและรู้ จกั ให้ ความร่ วมมือ
3. งดเว้ นการนินทาว่ าร้ ายผู้อนื่
4. เคารพในอานาจ หน้ าที่ของกันและกัน
5. เข้ าใจข้ อจากัด/ปัญหาของกันและกัน
6. รับฟังคาติชม รับฟังคาแนะนา ความเห็นของคนอื่น
7. พยายามทางานของตนให้ เสร็จทันเวลา
ปัญหา/อุปสรรคทีอ่ าจเกิดขึน้ และแนวทางแก้ ไข
ปัญหา/อุปสรรค
แนวทางแก้ไข
? ไม่ทราบว่าจะประสานงานกับใคร √ สอบถามจากผูร้ ู้ หรื อผูม้ ีประสบการณ์
เพื่อขอข้อมูล หรื อคาแนะนา
? การติดต่อ
√ เตรี ยมข้อมูลก่อนการติดต่อ เช่น
กาหนดการ วัน เวลา สถานที่ ฯลฯ
? หมดกาลังใจ
√ ขอความช่วยเหลือจากผูอ้ ื่น
√ ฝึ กคิดทางบวก
? เหนื่อย
√ พูดระบายความรู ้สึก
√ แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
ข้ อคิดในการทางานด้ วยหัวใจ
 รักงานที่ทา
 มีทัศนคติที่ดีในการทางาน
 มีมนุษย์ สัมพันธ์ ในทีท่ างาน
 มีการพัฒนาตนเองให้ เหมาะสมกับงาน
หลักธรรมเพือ่ ความสาเร็จในการทางาน
อิทธิบาท 4
 ฉันทะ
 วิริยะ
ความพอใจในงานเห็นคุณค่ าของงานรักงานทีท่ า
ความเพียรพยายาม บากบั่น อดทน กับงานที่ตนเอง
ทา
 จิตตะ
 วิมังสา
มีความคิดจดจ่ อ เอาใจใส่ ในงานทีท่ า
การตรวจสอบ หมั่นพิจารณา ใคร่ ครวญ
เมื่อมีปัญหาในงานที่ทาก็ต้องคอยแก้ ไข ปรับปรุ ง
ตรวจสอบ ข้ อบกพร่ องของงานที่ทา
แนะนาช่ องทางการสื่ อสารและปรึกษาปัญหา
 สายด่ วนสุ ขภาพจิต โทร.1323
 สายสุ ขภาพจิต (ระบบอัตโนมัติ) โทร.1667
 เว็บไซด์ คลังความรู้ ทางวิชาการด้ านสุ ขภาพจิต
และจิตเวช www.klb.dmh.go.th
 เว็บไซด์ กรมสุ ขภาพจิต www.dmh.go.th