การเมืองการปกครองไทย

Download Report

Transcript การเมืองการปกครองไทย

การเมืองการปกครองไทย
ในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ จะมีคาจากัดความที่
สาคัญที่จะต้องรูแ้ ละเข้าใจอยู่ 2 คา อันได้แก่
1. การเมือง (politics)
2. การปกครอง ( Government)
เพราะเหตุใดในวิชาการเมืองการปกครองไทย จึงจาเป็ น
ที่จะต้องนาคาทัง้ สองคาดังกล่าวมาเป็ นรากฐานใน
การศึกษาหาความรู้ สืบเนือ่ งจากขอบเขตของวิชา
รัฐศาสตร์นนั้ คาว่า
การเมือง (Politics) มีความหมายที่แตกต่างนัน่ ก็คือ การ
แข่งขัน การแสวงหาอานาจ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมส่วนใหญ่ จาก
คานิยามดังกล่าวมีลกั ษณะเป็ นพื้นฐานอาจทาให้เกิดข้อสงสัยว่า
ขอบเขตของการเมือง สิ่งหนึง่ ที่อยากให้นกึ ถึงและคิดตามไปได้แก่
1. พลเมือง คือการนึกถึงประชาชน ซึ่งคาว่าพลเมืองนี้
ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ ระหว่างประชาชน กับประชาชน คาว่า
(Politics) จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางการเมืองของ
ประชาชน ถ้าพูดถึงพฤติกรรมก็หมายถึงการแสดงออกทาง
การเมืองต่างๆ เช่น การไปลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ ในปั จจุบนั
ประเทศไทย มีแนวโน้มในการใช้สิทธิ
ในการเลือกตัง้ มากขึน้ มีเปอร์เซนสูงขึน้ แต่วิชารัฐศาสตร์ไม่ใช่
แค่เอาจานวนไปวัดกับคน บางคนไปออกเสียงเลือกตัง้ เพราะถูก
บังคับมา หรือเพราะรูจ้ กั กันเป็ นเพื่อนกัน ไม่ได้คิดว่าบุคคลนัน้ จะทา
ประโยชน์ได้มากน้อยเพียงไร ฉะนัน้ เมือ่ มองในเชิงพฤติกรรมจะต้อง
ลงไปทดสอบศึกษาในเรื่องที่เกี่ยวกับคุณภาพของคนด้วย นีเ่ ป็ น
ประเด็นหลักที่เป็ นปั ญหาในการเมืองการปกครองไทย มิเช่นนัน้ เรา
คงไม่มรี ฐั ธรรมนูญฉบับปี 2540 ที่กาหนดให้คณะกรรมการการ
เลือกตัง้ (กกต.) เข้าไปทาหน้าที่ดแู ลส่วนต่างๆ ในการเลือกตัง้
2. การเมือง หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับ
รัฐบาล หรือรัฐ ในชีวิตประจาวันของตนเราถูกวางด้วยกฎและ
กติกาโดยรัฐ ไว้เกือบทุกแบบ ตัง้ แต่เข้าโรงเรียน เมือ่ เด็กผูช้ ายโตเป็ น
หนุม่ ต่างก็ตอ้ งไปเป็ นทหาร นีเ่ ป็ นเรื่องของรัฐที่ตอ้ งเข้าไปควบคุม
หากมีการทางานก็ตอ้ งเสียภาษี มีหน้าที่ของพลเมือง สิง่ ต่างๆ
เหล่านีอ้ ยู่ในกรอบของ Politic
3. การเมือง หมายถึง ความเป็ นอิสระขององค์กรต่างๆ ที่
เกิดขึน้ ในสังคม จะเห็นได้ว่าในปั จจุบนั เรามี NGO ( non
government organization)ถ้าแปลกันตามรากศัพท์ก็คือ
องค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐบาล รัฐไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเรือ่ งของ ngo ที่
น่าสนใจในปั จจุบนั ได้แก่
การทาท่อก๊าซ เรื่องของปั ญหาที่เกิดขึน้ ระหว่างภาคประชาชนกับรัฐ
NGO เป็ นองค์กรที่เป็ นการรวมตัวของภาคประชาชน เป็ นการ
รวมตัวเพื่อต่อรองกับรัฐบาล หรือปกป้องผลประโยชน์ ใน
สหรัฐอเมริกามีองค์กรที่ในประเทศไทยยังไม่มี นัน่ ก็คือ องค์กรใน
การปกป้องผูบ้ ริโภค องค์กรดังกล่าวจะดูแลหมดทุกอย่าง เช่น ของ
ที่ขายใน supermarket สะอาดหรือไม่ ใช้ได้หรือไม่ มีคณ
ุ ภาพ
เป็ นอย่างไร และจะประกาศให้คนทราบ ในสังคมของคนที่มคี วามรู้
พอได้ทราบประกาศจากข้อมูลขององค์กรดังกล่าว เห็นข้อมูล
ข่าวสาร ว่าสินค้าชนิดนัน้ เป็ นอย่างไร ถ้าเป็ นสินค้าไม่มคี ณ
ุ ภาพก็จะ
ไม่เลือกซื้อสินค้าดังกล่าว
และองค์กรนีก้ ็มกั จะเกิดข้อขัดแย้งกับเจ้าของกิจการต่างๆ เจ้าของ
บริษทั ต่างๆ ที่ใหญ่โตก็จะทาการฟ้องร้องต่อสูต้ อ่ ไป
Consumer Protection คนที่เป็ นหัวหน้าองค์กรนัน้ มี
ประสบการณ์ในการทางานมากว่า 30 ปี แล้ว แต่ในช่วง 2-3 ปี ที่
ผ่านมาได้ลงสมัครรับเลือกตัง้ ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา แต่
ไม่ไดรับการคัดเลือก ในอนาคตมีแนวโน้มเป็ นไปได้ เพราะได้จดั ตัง้
พรรคการเมืองพรรคหนึง่ คือพรรค Green หรือพรรคสีเขียว
ในส่วนของประเทศไทยก็กาลังมีการจัดตัง้ พรรคสีเขียวเช่นกัน
บุคคลที่เป็ นหัวหน้าพรรคกรีน ชือ่ Mr. Ralph Nader
ส่วนคาที่สองนัน่ ก็คือ คาว่าการปกครอง (Government) คาๆ
นีเ้ ป็ นหัวใจของวิชารัฐศาสตร์ เมือ่ กล่าวถึงคาว่า การปกครอง
(Government) หรือการปกครองจะมีระดับของตัวมันเอง
ได้แก่
1. องค์กร(Organization) ถ้าพูดถึง Government
ต้องมีการปกครอง ถ้าการปกครองไม่มเี ครื่องมือในการปกครองก็
ไม่สามารถในการปกครองได้ ฉะนัน้ วิธีหนึง่ ที่จะปกครองได้ คือต้องมี
เครื่องมือ และเครื่องมือที่สาคัญ ก็ได้แก่ องค์กร และองค์กรในภาษา
รัฐศาสตร์ นัน่ ก็คือสถาบัน (Institutions)
เช่นคณะรัฐมนตรี ประเทศไทยนัน้ คณะรัฐมนตรีจะประชุมทุกๆ วัน
อังคาร และออกมติตา่ งๆ มีขา้ ราชการ มีการบริหาร ฉะนัน้ อะไรที่เป็ น
การปกครองมักจะมองถึงการจัดการของรัฐ การปกครองนัน้ มีหลาย
ระดับ ประเทศไทยมีการปกครองทัง้ หมด 3 ระดับ ได้แก่
1. ระดับชาติ มีรฐั บาลที่กรุงเทพ มีสภาตัง้ อยู่บริเวณพระบรม
รูปทรงม้า เราเรียกการปกครองระดับนีว้ ่า การบริหารส่วนกลาง
2. ระดับภูมภิ าค เป็ นการปกครองที่อยู่ในกรอบของเรื่องการ
ปกครองในประเทศไทย มีผวู้ ่าราชการจังหวัด และจะจัดให้มผี วู้ ่าราชการ
จังหวัดพิเศษขึน้ มา เป็ นการปรับเปลี่ยนทางการปกครอง
ที่เรียกว่า ผูว้ ่า chief Executive official( ceo) เป็ น
การบริหารที่ฉบั ไว ทุกอย่างเบ็ดเสร็จหรือเรียกว่า one Stop
Service นีเ่ ป็ นหลักการบริหารแบบธุรกิจที่ประสบความสาเร็จ ซึ่ง
ประเทศไทยก็มนี ายกรัฐมนตรีที่มงุ่ การบริหารเป็ นสาคัญ
3. ระดับท้องถิ่น ในทางรัฐศาสตร์ ถือว่าเป็ นการปกครองที่
ใกล้ชดิ ประชาชนมากที่สดุ เช่น อบต. อบจ. เทศบาล ระดับท้องถิ่นถือเป็ น
ระดับรากหญ้าของระบบการเมืองการปกครอง
ระดับของการปกครองในประเทศไทยจึงมี 3 ระดับ ระดับที่ใกล้ชดิ
ประชาชนมากที่สดุ คือระดับท้องถิ่น รองลงมาคือระดับภูมภิ าค และระดับ
ชาตื คือนโยบายใหญ่ นีค่ ือข้อแตกต่างของการเมืองการปกครอง
ร ูปแบบของการปกครอง
รัฐศาสตร์สนใจอะไรบ้าง
1. อานาจอธิปไตย (Sovereignty) คาว่า
Sovereignty หมายถึง ความเป็ นอิสระ ถ้าพูดถึงอานาจ
อธิปไตยนัน่ ก็คือความมีอิสระ แต่ในเชิงรัฐศาสตร์ นัน่ เป็ นความเป็ น
อิสระของรัฐของบ้านเมือง อานาจอธิปไตยจึงเป็ นเรื่องทีว่ ิชา
รัฐศาสตร์หึความสาคัญ ยกตัวอย่างเหตุการณ์เช่น ในกรณีที่
สหรัฐอเมริกาเข้าบุกอีรกั ตัวของซัดดัมเองนัน้ บางกระแสก็ กล่าวว่า
ได้เสียชีวิตไปแล้วให้ทาการตรวจดีเอ็นเอ แต่อีกกระแสก็กล่าวว่า
ซัดดัมยังไม่เสียชีวิต ประเด็นที่ตอ้ งการให้ทราบในเหตุการณ์นี้ ได้แก่
ประเด็นที่เกี่ยวกับอานาจอธิปไตย ผูน้ าสหรัฐอเมริกา
ได้กล่าวว่า ประเทศต่างๆ จะเข้าร่วมปฎิบตั กิ ารกับ
สหรัฐอเมริกา หรือจะอยู่กบั ฝ่ ายตรงข้าม คากล่าวเช่นนี้ แสดงให้
เห็นว่าเป็ นการไม่ให้อานาจอธิปไตยของรัฐในทางความคิด นัน่ ก็คือ
ถ้าคุณไม่อยู่เป็ นพวกเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศของคุณก็ตอ้ ง
เป็ นศัตรูกบั สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็ นการใช้อานาจมาก และทาให้หลาย
ประเทศมีปัญหากัน เช่นในกรณีของเดนมาร์ก นายกรัฐมนตรีซงึ่
เป็ นสตรีนนั้ เพิ่งได้ลาออกจากสภา เพราะในระหว่างการเลือกตัง้ นัน้
ได้ใช้นโยบายหาเสียงกับประชาชน ที่ว่าประเทศของเราถ้าไม่เข้า
ร่วมมือกับสหรัฐอเมริกา ประเทศของเราจะแย่ เพราะอิรกั มีอาวุธ
ร้ายแรง ( แต่ปัจจุบนั ยังคงไม่สามารถค้นพบอาวุธได้)
อาวุธร้ายแรง (weapon of Mase
Destruction) เป็ นอาวุธที่ทาลายล้างมวลชน มีสองชนิด ได้แก่
1. อาวุธเคมี (Chemical)
2. อาวุธชีวภาพ เป็ นพวก Biological)
เมือ่ นโยบายการหาเสียงออกมาเช่นนี้ ทาให้ประชาชนคล้อย
ตามจนได้รบั การเลือกตัง้ เป็ นนายกรัฐมนตรี เมือ่ เข้าดารงตาแหน่ง
อยู่ในสภา สภาของประเทศเดนมาร์กได้ตงั้ คาถามขึน้ ว่า “อาวุธที่ว่า
นีย้ งั ไม่สามารถค้นพบได้เลย จนกระทัง่ สหรัฐอเมริกาถูกอิรกั รุกราน
จนเสร็จภารกิจเรียบร้อยแล้ว อาวุธร้ายแรงดังกล่าว ก็ยงั ไม่ถกู
ค้นพบ คาถามคือ เพราะเหตุใด ท่านจึงกล่าวกับประชาชนว่า อิรกั มี
อาวุธร้ายแรงในการครอบครอง ท่านจะทาอย่างไร” จนทาให้มมี ติ
ออกมากว่า 100 เสียง
ต่อกว่า 60 เสียง ให้มกี ารเปลี่ยนแปลงตัวนายกรัฐมนตรี นัน่
ก็หมายความว่า อานาจ (Sovereignty) หรือความเป็ นอิสระ
ของรัฐขึน้ อยู่กบั หลายปั จจัย และปั จจัยที่สาคัญทีส่ ดุ ในโลกปั จจุบนั ก็
คือ ผูม้ อี านาจนัน้ เรามักจะเกรงใจ เกรงกลัว เพราะมีอานาจมากกว่า
นีก่ ็คือความอยู่รอดของชาติ ในฐานะประชาชนนัน้ ก็ตอ้ งมองว่าชาติ
ก็ตอ้ งมีความเป็ นอิสระ มีความเป็ นตัวของมันเอง มากน้อยแค่ไหน
ขึน้ อยู่กบั วิจารณญาณของแต่ละบุคคล
หรืออีกตัวอย่างหนึง่ มีประเทศเล็กๆ ประเทศหนึง่ ตัง้ อยู่ใกล้
กับสหรัฐอเมริกา เมือ่ เวลาส่งนางงามเข้าประกวด มักทาให้ประเทศ
อื่นเกรงกลัว เพราะส่วนใหญ่มกั จะได้นางงามโลก ประเทศนัน้ ก็คือ
เวเนซูเอลา ซึ่งเป็ นประเทศที่มที รัพยากรนา้ มันมหาศาลเป็ นอันดับ5
ของโลก ปรากฏว่าผูน้ าของประเทศ นายฮิวโก้ ชาเวส ไม่ยอมปฎิบตั ิ
ตามสหรัฐอเมริกาในกรณีที่เดินทางไปเยือนอิรกั เพระสหรัฐอเมริกา
ประกาศไม่ให้เดินทางไปอิรกั ตามกฎบัตสิ หประชาชาติกอ่ นทีจ่ ะทา
การบุกอิรกั ใครจะเข้าไปในอิรกั โดยทางเครื่องบินไม่ได้ นีเ่ ป็ นกฎข้อ
ห้าม หากบุคคลใดเข้าไปในอิรกั โดยทางเครื่องบินสหรัญอเมริกา
สามารถยิงเครื่องบินลานัน้ ได้ตามที่กาหนดเขตห้ามบิน
แต่ว่านายฮิวโก้ ชาเวส ก็ได้เดินทางไปพบกับซัดดัม ฮุสเซ็น
ในช่วงที่ซัดดัมยังอยู่ในกรุงแบกแดค แต่ได้ใช้วิธีการบินไปลงที่
อิหร่าน และนัง่ รถต่อเข้าไปในประเทศอิรกั ทาให้เกิดข่าวใหญ่โตว่า
นายฮิวโก้ ชาเวส นัน้ นัง่ อยู่ในรถโดยมีซัดดัม ฮุสเซ็น ขับรถชมกรุง
แบกแดค สร้างความไม่พอใจให้กบั สหรัฐอเมริกาอย่างมาก และมอง
ว่าไม่ใช่เป็ นมิตรกับประเทศของตน จากเหตุการณ์ดงั กล่าวสามารถ
มองได้ว่าเวเนซูเอลา จะมีอานาจอธิปไตยในอุดมคติ ถ้าต้องอยู่ใกล้
ประเทศใหญ่ ถ้าต้องเกรงใจ แต่ปรากฏว่านายฮิวโก้ ชาเวส ไม่ได้
กระทาดังกล่าว สุดท้ายจึงก่อให้เกิดปั ญหาภายในประเทศมากมาย
และปั จจุบนั ก็ยงั คงไม่สงบ
การปกครองใน 3 รูปแบบ ซึ่งจะเป็ นระเบียบของโลกที่ผา่ นมา
จะเห็นว่าการเมืองการปกครองของโลก ก็คือการปกครองแบบโลก
ตะวันตก โลกตะวันออก นัน้ ก็มแี ต่การเมืองการปกครองจะอิงทาง
ตะวันตกมากกว่า จีนเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี ค.ศ. 1949
เป็ นเวลา 53 ปี ที่ผา่ นมา แต่กอ่ นปี ค.ศ. 1949 จีนมีการปกครอง
ระบอบกษัตริย์ กษัตริยอ์ งค์สดุ ท้ายนัน้ ก็คือ จักรพรรดิปูยี ส่วน
ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในปี พ.ศ. 2475
ก่อนหน้านัน้ ไทยก็มกี ษัตริยป์ กครองเช่นกัน ปั จจุบนั ประเทศไทย
ยังคงมีสถาบันกษัตริยอ์ ยู่ และประชาชนยังให้ความจงรักภักดี ถือ
ว่าเป็ นสถาบันพิเศษ ในทางการเมืองการปกครองของไทย
ถ้าย้อนไปดูระบบกษัตรืยใ์ นยุโรป และในเอเชียเริ่มที่จะเสื่อม
ถอยลง ด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ
1. ระบบการปกครองแบบกษัตริย์ เป็ นระบบที่รวมศูนย์อานาจ
อานาจในทางรัฐศาสตร์มอี ะไรบ้าง อานาจอธิปไตยของรัฐมี
อะไรบ้าง อานาจหลักของประเทศที่สาคัญนัน่ ก็คือ
อานาจในการบริหาร นายกรัฐมนตรี ในระบบรัฐสภา คุมอานาจใน
สภาได้เต็มที่ เช่น นายกรัฐมนตรีของไทย พ.ต.ท.ทักษิณ ชิณวัตร ได้
กล่าวว่าจะอยู่บริหารประเทศให้ได้ 20 ปี คงเป็ นได้ยาก เพราะที่ผา่ น
มาการเมืองไทยนัน้ ไม่เคยทาได้ อย่างมากก็ 4 ปี แต่ถา้ มองในเชิง
รัฐศาสตร์ว่าอีก 4 ปี ข้างหน้าว่ามีแนวโน้ม(tendency)
ที่จะอยู่ได้ก็เพราะรากฐานของเสียงที่อยู่ในสภาของท่านที่แข็งแกร่ง
อยู่ ละพรรคต่างๆก็พยายามรวมตัวกันเพื่อให้เกิดความเชือ่ มัน่ ละ
สามารถอยู่ตอ่ อีก 4 ปี ที่ว่านีพ้ อมีเหตุผลที่นา่ เป็ นได้มากกว่า ฉะนัน้ ใน
ระบบกษัตริยเ์ มือ่ มองย้อนกลับไปก็จะมีการรวมอานาจทางด้านนิติ
บัญญัติ บริหาร และตุลาการ ให้อยู่กบั คนๆ เดียว ทาให้การบริหารนัน้
ไม่ทนั กับภาคความต้องการของประชาชน เนือ่ งจากคนมีจานวนเพิม่ มาก
ขึน้ จะใช้องค์กรหลักองค์กรใดในการปกครองให้มปี ระสิทธิภาพเป็ นไปได้
ไม่ยาก ท้ายที่สดุ ระบบการปกครองชนิดนีก้ ็จะล้าสมัยไปในทีส่ ดุ เพราะ
ระบบการเมืองการปกครองมีการเปลี่ยนแปลงเนือ่ งจากมีความต้องการ
หรือจานวนประชากรเพิ่มมากขึน้
ปั จจัยต่อมานัน้ เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องของประชาชนและ
ท้ายที่สดุ ก็เป็ นระบบประชาธิปไตย ถ้าพูดถึงระบบประชาธิปไตยนัน้
ในประวัตศิ าสตร์จะมีกระแสประชาธิปไตยอยู่ 3 กระแสด้วยกันทัง้ 3
กระแส ประชาธิปไตยนัน้ เป็ นประวัตศิ าสตร์ในการพัฒนา
ประชาธิปไตย กระแส (Wave) ของประชาธิปไตยมาได้อย่างไรแม้
จะเป็ นแนวคิดของตะวันตก แต่ทา้ ยก็มกี ารเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองใหม่ในปี พ.ศ. 2475 ก็นาระบบการเมืองจากตะวันตกมาใช้
กระแสประชาธิปไตย กระแสที่ 1 เกิดขึน้ ในปี ค.ศ. 1776 เป็ นปี
ที่สหรัฐฯ ทาการปฎิวตั อิ เมริกนั เป็ นการปฎิวตั ปิ ระชาธิปไตยใน
สหรัฐฯ เพราะเหตุใดในปี ค.ศ. 1776จึงเกิดเหตุการณ์ดงั กล่าวขึน้
สืบเนือ่ งจาก ก่อนปี 1776 อังกฤษได้นนั้ ได้ทาการปกครองสหรัฐฯ
ดดยส่งตัวแทนจากอังกฤษมาอยูบ่ ริเวณนิวยอร์กซึ่งแต่เดิมนัน้
สหรัฐฯ ไม่ได้เป็ นอย่างในปั จจุบนั ยังไม่มแี ท็กซัส นิวแม็กซิโก ยังไม่มี
ใครรูจ้ กั อเมริกามากนัก จะรูจ้ กั ในบริเวณที่เรียกว่า นิวยอร์ก หรือนิ
วอิงแลนด์ ในปี 17766 เป็ นปี ที่สหรัฐฯ ต่อต้านอังกฤษ ให้ออกไป
จากดินแดนสหรัฐฯ เป็ นการปฎิวตั ใิ ห้ออกจากอาณานิคม ถ้ามอง
เพียงคาว่า “อาณานิคม”
นัน้ รายรอบประเทศไทยก็ตกเป็ นอาณานิคมของตะวันตกแทบ
ทัง้ สิ้น อินโดจีน ลาว พม่า กัมพูชา นัน้ ตกอยู่ในการดูแลของฝรัง่ เศส
มาเลเซียอยู่ในการปกครองของอังกฤษ (แต่เดิมสิงคโปร์อยูก่ บั
มาเลเซีย สิงคโปร์แยกตัวออกจากมาเลเซีย ในปี ค.ศ.1965 โดย
สิงคโปร์ถือว่าเป็ น City state คือรัฐที่เล็กเหมือนเมืองๆหนึง่
แต่สิงคโปร์เป็ นประเทศที่มบี ทบาททางการค้ามากมาย ประเทศ
ต่างๆ ต้องการอิสรภาพ เมือ่ สหรัฐฯ นัน้ ถือว่าเป็ นประเทศแรกของ
โลกที่ได้อิสรภาพจากการเป็ นดินแดนในอาณานิคมหลังจากนัน้
สหรัฐฯ ก็มกี ารร่างรัฐธรรมนูญและมีประชาธิปไตยและถือเป็ น
ระบบการปกครองแบบหนึง่ ของโลก
ในปี ค.ศ. 1789 เกิดการปฎิวตั ใิ นฝรัง่ เศสแต่ในฝรัง่ เศสนัน้
ไม่ได้ปฎิวตั จิ ากอาณานิคม แต่ปฎิวตั จิ ากระบบกษัตริยข์ องพระเจ้า
หลุยส์ที่ 16 คุกมาสติส เป็ นสัญลักษณ์ของการปฎิวตั ิจากระบบ
กษัตริยเ์ ป็ นระบบสาธารณรัฐ นัน่ ก็คือระบบประชาธิปไตยแบบ
สาธารณรัฐในสมัยต่อมา
เมือ่ เกิดการปฎิวตั ใิ นฝรัง่ เศสและสหรัฐฯ ทาให้เกิดการกระจาย
ไปยังดินแดนต่างๆ ในยุโรปและมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
เรื่อยมา
ประเด็นความขัดแย้งระหว่างสหรัฐอเมริกาและฝรัง่ เศสที่เกิด
ในช่วงสงครามอิรกั กับสหรัฐอเมริกา
ฝรัง่ เศสไม่เห็นด้วยที่ว่าสหรัฐไม่ปฎิบตั ติ ามมติของ
สหประชาชาติ(UN) มติของสหประชาชาติ ก็คือ จะต้องตรวจสอบ
อาวุธว่ามีอาวุธร้ายแรงหรือไม่ ถ้ามีจริงก็ตอ้ งทาสงครามโดยให้
นานาประเทศต่างเข้าร่วม แต่สหรัฐอเมริกานัน้ ไม่ปฎิบตั ติ าม ไม่เห็น
ด้วย (go it alone)
โดยมีองั กฤษเข้าร่วม แต่ฝรัง่ เศสคัดค้าน และได้กล่าวในทีป่ ระชุม
สหประชาชาติ เพราะฝรัง่ เศสเห็นว่าอานาจอธิปไตยของฝรัง่ เศสก็มี
ศักดิศ์ รี และไม่เห็นด้วย ที่ว่าสหรัฐอเมริกาที่ไม่ปฎิบตั ติ ามมติ UN
ทาให้สหรัฐอเมริกานัน้ ไม่พอใจ จึงได้ทาการเปลี่ยนแปลงชือ่
อาหารทัง้ หมดที่เรียกว่า French fry มาเป็ น Freedom
fry
( เนือ่ งจากว่าประเทศที่มชี อื่ เสียงทางด้านอาหารที่เป็ นที่นยิ มมีอยู่ 2
ชาติ นัน่ คือ ฝรัง่ เศส และอิตาลี) เมือ่ เป็ นเช่นนี้ ฝรัง่ เศสจึงทาการ
ทวงสัญญา ในปี 1776 ที่มนี ายพลของฝรัง่ เศส ชือ่ ลาฟาเยฟ ที่ได้
ส่งเรือรบมาช่วยสหรัฐอเมริกาในการรบกับอังกฤษให้เป็ นอิสระ
ปั จจุบนั ยังคงมีความไม่ลงรอยกันอยู่ในทางการทูต แต่ไม่รนุ แรง
มากนัก
กระแสประชาธิปไตย กระแสที่ 2 ในปี ค.ศ. 1945(2488) เป็ นปี ที่
สาคัญในประวัตศิ าสตร์ของโลกนัน่ ก็คือ เป็ นปี ที่มกี ารสิน้ สุสงครามโลก
ครัง้ ที่ 2 ในสงครามโลกครัง้ ที่ 1 นัน้ มีคนเสียชีวิตประมาณ 20 ล้านคน
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 เกิดขึน้ เพราะฮิตเลอร์สามารถควบคุมอานาจใน
ยุโรปได้ทงั้ หมด และในเอเชียก็มญ
ี ี่ปุ่นสามารถควบคุมกาลังได้
สหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมในสงครามในกรณีของ Pearl Harbor
เมือ่ สหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมสงคราม จนท้ายที่สดุ ฝ่ ายยุโรปและญี่ปุ่นก็ได้
ยอมแพ้ กระแสประชาธิปไตยเริ่มมีบทบาทสาคัญในปี ค.ศ. 1945 อีก
ครัง้ หลังปี 1945 ประเทศกาลังพัฒนาต่างเริ่มได้รบั อิสระจากนักล่า
อาณานิคม ทุกคนพูดถึงเสรีภาพ สิทธิของประชาชน สิทธิมนุษยชน พูด
ถึงเรื่องการเมืองการปกครอง รัฐบาลมาจากการเลือกตัง้ มีกระแสของ
การพัฒนาประชาธิปไตยที่เฟื่ องฟูมาก จนถึงปี 1989
ประชาธิปไตยกระแสที่ 3 ปี 1989 เป็ นปี ที่โซเวียตเปลี่ยนแปลง
การปกครองจากระบอบคอมมิวนิสต์ เป็ นระบอบประชาธิปไตย
อดีตประธานาธิบดีกอร์บาชอฟ ปรับเปลี่ยนระบอบการปกครอง
ใหม่จากการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ที่มี Presidium มี
สภาต่างๆ เปลี่ยนเป็ นประชาธิปไตย หลังปี 1989 จนถึงปั จจุบนั
ประเทศที่อยู่ภายใต้การปกครองของโซเวียตเดิม ได้แตกออกเป็ น
ประเทศเล็กๆ 15 ประเทศ และจัดรูปแบบการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย เศรษฐกิจแบบเสรีนยิ ม
กระแสประชาธิปไตย กระแสที่ 3 คือ ปี 1989 จนถึงปั จจุบนั
เกิดจากกระแสในช่วงที่ 2 ประเทศไทยเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา ในปี
ค.ศ. 1973 ในช่วงนีป้ ระเทศเพื่อนบ้านอันได้แก่ ลาว กัมพูชา
เวียตนาม ซึ่งแต่เดิมนัน้ มีการปกครองแบบประชาธิปไตย หลังจากปี
1975 ประเทศเหล่านี้ ได้มกี ารปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ หลัง
ปี 1989 ประชาธิปไตยจึงได้รบั ชัยชนะ ได้รบั อานาจ ประเทศต่างๆ
ที่เป็ นสังคมนิยม เร่มเปลี่ยนแปลงไป ประเทศจีน หลังการปฎิวตั ใิ นปี
1949 ที่เป็ นระบอบคอมมิวนิสต์ ปั จจุบนั จีนได้ให้สิทธิเสรีภาพแก่
ประชาชน และอาจจะให้มกี ารเลือกตัง้ ปั จจุบนั จึงเป็ นการดารงอยู่
ของกระแสและกลไกของกระแสประชาธิปไตย
ในทางรัฐศาสตร์ประชาธิปไตยเริ่มที่กรีก ซึ่งประชาธิปไตยที่
เกิดขึน้ ในกรีกนัน้ เป็ นประชาธิปไตยทางตรง แต่ประชาธิปไตยที่
กล่าวขึน้ มาข้างต้นนัน้ เป็ นประชาธิปไตยแบบมีตวั แทน ก็คือ มีการ
เลือกสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรเข้าไปในสภา สภาก็เข้าไปออก
กฎหมายให้ประชาชนใช้ ประชาธิปไตยแบบทางตรง ก็คือประชาชน
ที่ว่านัน้ ใช้อานาจนิตบิ ญ
ั ญัติ บริหาร และตุลาการด้วยตนเอง
ทัง้ หมด เกิดเป็ นประชาธิปไตยแบบอุดมคติ เพลโต อริสโตเติล ถือ
เป็ นนักปรัชญาตะวันตก ปรัชญาตะวันออกนัน้ ก็มี แต่ระบบ
การศึกษาของประเทศไทยและของโลกถูกครอบงาโดยการศึกษา
ของตะวันตก
ลักษณะของการใช้อานาจ ภาษาในวิชารัฐศาสตร์มคี าอยู่ 2 คา
อันได้แก่ 1. อานาจ(Power)
2. ลัทธิอานาจนิยมเบ็ดเสร็จ (
Totalitarianism)
1. อานาจ (Power) ในการเรียนรัฐศาสตร์ อานาจหรือ
power เป็ นสิ่งหนึง่ ที่นกั ศึกษาจะต้องทาความเข้าใจให้มากที่สดุ
ก็คือ ทาความเข้าใจกับคาจากัดความในการศึกษาแต่ละเรือ่ งว่าคือ
อะไร คาว่า power เป็ นศัพท์ทางฟิ สิกส์ เป็ นเรื่องของการ
ผลักดัน หรือพลังงาน คาในทางฟิ สิกส์ ถูกนามาใช้ในทาง
สังคมศาสตร์ อานาจในทางสังคมศาสตร์ ภ้ามองในตัวบุคคลอะไร
คือพลังของอานาจและแหล่งอานาจของคนคืออะไร
1.1 เงิน (money)
1.2 การศึกษา (Education) ไม่ใช่การศึกษาในแง่ของการ
เรียน แต่เป็ นการศึกษาหาความรู้ หรือที่เรียกว่าเป็ นผูร้ นู้ นั ่ เอง ผูร้ ไู้ ม่
จาเป็ นต้องมีเงินทอง นักวิชาการหลายคน ก็ไม่มเี งินทอง แต่เป็ นผูม้ ี
ความรู้ แต่ในบางครัง้ ทัง้ สองอย่าง อาจจะต้องผสมผสานกันไป
1.3 ความแข็งแกร่งของร่างกาย ในมุมมองของตัวบุคคล ในทาง
การเมืองไทยกาลังมีการจัดระเบียบเกีย่ วกับผูม้ ืทธิพลต่างๆ ผูม้ อี ิทธิพล
ก็คือมี power แต่ power ในส่วนนีอ้ าจจะมีเงิน การศึกษา มี
ร่างกายที่แข็งแรง สามารถมีลกู น้องที่ขยายอิทธิพลของตนไปได้
แต่สิ่งเหล่านีไ้ ม่ถือว่าเป็ นกฎหมาย แม้ว่าในสังคมจะยอมรับ
เป็ นสิ่งที่คนรูจ้ กั มีคนนับหน้าถือตา หรือแม้จะสร้างประโยชน์ให้แก่
บุคคลอื่น คนที่มp
ี ower นีต้ า่ งก็ตอ้ งการมีอานาจที่เรียกว่า
authority ต้องการให้มกี ฎหมายมารองรับอานาจของตนเอง
เช่น กานันสมชาย คุณปลื้ม หรือที่รจู้ กั กันในนามกานันเปาะ แต่เดิม
เป็ นบุคคลที่บคุ คลทัว่ ไปให้การยอมรับ แต่ในทางกฎหมายไม่ให้การ
รับรอง ต่อมา authority มีสว่ นผลักดันให้กานันสมชายได้
สมัครเข้าเป็ นนายกเทศมนตรีของตาบลแสนสุข เมือ่ ได้เป็ น
นายกเทศมนตรีของตาบลแสนสุข จึงได้รบั รองทางกฎหมาย เพราะ
ทุกอย่างได้ผา่ นการเลือกตัง้
คนเลือกเข้ามาโดยผ่านกลไกของรัฐ ทาให้ตวั ของกานันสมชาย
มีอานาจในการปกครองทันที ดังนัน้ การมี authority การมี
power โดยอาศัยกฎหมายมารองรับอยู่ คนที่มคี วามรู้
ความสามารถนี้ จะทาให้ได้รบั การยอมรับอย่างถูกต้องตาม
กฎหมาย เช่น ถ้าเป็ นผูว้ ่าฯ authority ที่เกิดขึน้ ก็คือหน้าที่
เพราะบุคคลดังกล่าวมีการศึกษาที่ดี อีกทัง้ ยังมีปฎิสมั พันธ์ที่ดกี บั
ผูอ้ ื่น (connection) หรือรูจ้ กั คนเยอะนัน่ เอง
2. ลัทธิอานาจนิยมเบ็ดเสร็จ (totalitarianism)
คาว่า total ในภาษาอังกฤษแปลว่า ทัง้ หมด ดังนัน้ ลัทธิอานาจ
นิยมเบ็ดเสร็จ หรือลัทธิทางการเมือง หมายถึง ระบบความเชือ่ ทาง
การเมือง ตาว่าเบ็ดเสร็จ มีอานาจเหมือนกับคาว่า one stop
service คือมีทงั้ อานาจนิตบิ ญ
ั ญัติ บริหาร ตุลาการ อยู่ในการ
บริหารจุดเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ระบบสภาของโซเวียตเดิมก่อนที่จะมีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 1989 จะมีลกั ษณะที่เป็ นแบบลัทธิอานาจ
นิยมเบ็ดเสร็จ ระบบนีใ้ นปั จจุบนั ค่อยๆ ถูกลบหายไปด้วยกระแส
ประชาธิปไตยในกระแสที่ 2 และ 3 ที่เข้ามากดดันให้มกี ารเปลี่ยนแปลงใน
โลกปั จจุบนั นี้ การเมืองการปกครองภายในจะมีกระแสการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยมาก
authoritarianism มาจากคาว่า Authority ซึ่ง
มาอย่างถูกกฎหมาย ถูกทุกอย่าง แต่ว่าใช้อานาจแบบไม่เป็ น
ประชาธิปไตย เช่นในประเทศมาเลเซีย ได้ชอื่ ว่าเป็ นประชาธิปไตยแบบ
อานาจนิยม หรืออย่างที่ในต่างประเทศเรียกว่า
Authoritarian Democracy ประชาธิปไตยแบบอานาจ
นิยมซึ่งอยู่ในการปกครองของนายกรัฐมนตรี มหาเธห์ โมหมัด ซึ่ง
อยู่ในอานาจมาแล้ว 22 ปี (ได้มกี ารคาดการณ์ว่า ตุลาคม 2546
จะลาออกจากตาแหน่ง) การใช้อานาจของมหาเธห์นนั้ ได้มาตาม
ระบบประชาธิปไตย โดยมีพรรคการเมืองสนับสนุนอยู่ โดยพรรค
การเมืองดังกล่าว คือพรรค Umno อะไรก่อให้เกิดความหมายใน
ส่วนนี้ เนือ่ งจากต่างชาติมองว่าเป็ นประชาธิปไตยแบบอานาจนิยม
จากเหตุผลที่ว่าเมือ่ 4 ปี ที่แล้ว มหาเธห์ โมหมัด ได้ทาการจับตัวรอง
นายกรัฐมนตรี นายอัลวา อิบราฮิม จาคุกในข้อหารักร่วมเพศ
(Sodomy) กล่าวหาว่านายอัลวา อิบราฮิม นัน้ เป็ นคนไม่ปกติ
นอกจากนายอัลวา อิบราฮิม จะดารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีใน
ขณะนัน้ แล้ว ยังดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ซึ่ง
ถือว่าเป็ นกระทรวงเกรดเอของมาเลเซีย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพของ
ตัวอัลวาเองที่สามารถดารงตาแหน่งรัฐมนตรีได้ถึงสองกระทรวง
ปั จจุบนั นายอัลวา อิบราฮิม ยังถูกจาคุกอยู่ และในปั จจุบนั นี้ นักโทษ
ทางการเมืองของมาเลเซียได้ถกู จาคุกอยู่ประมาณกว่า 70 คน จาก
สาเหตุที่บคุ คลใดขัดขืน หรือไม่เห็นด้วยกับระบบการบริหารของ
รัฐบาล จะถูกจาคุกหมด จากตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงการใช้
อานาจโดยผ่านกลไกกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งมองดูว่าไม่
เหมาะสมเท่าที่ควร นัน่ ก็คือได้อานาจจากประชาชนอย่างเต็มที่ แต่ใช้
อานาจอย่างไม่ถกู ต้อง
คาว่า ism ในภาษาไทยตรงกับคาว่า นิยม เช่น ถ้าพูดถึงคา
ว่าทุนนิยม (capitalism) สังคมนิยม (socialism)
ชาตินยิ ม
( nationalism) คาว่า ism นีเ้ กิดขึน้ ในศตวรรษที่ 13 ใน
ทวีปยุโรป เกิดจากบุคคลที่มคี วามคิดคล้ายๆ กันมีอดุ มการณ์ที่
คล้ายคลึงกัน เช่นเป็ นพวกที่รกั ชาติเหลือเกิน เข้ามารวมตัวกันแล้ว
ตัง้ เป็ นกลุม่ ขึน้ มา
ส่วนในประเทศพม่าจัดอยูใ่ นระบบ totalitarian บวกกับ
authoritarian พม่ามีรฐั บาลที่มาจากทหารในการบริหาร
ประเทศ และปั จจุบนั ก็มขี า่ วเกีย่ วกับนางออนซานซูจี ที่ทางการกัก
ตัวเอาไว้ภายในบ้านพัก ซึ่งทัว่ โลกได้ทาการกดดันพม่าอยู่
เสรีนยิ ม ปรากฏขึน้ อยู่ในหน้าหนังสือพิมพ์ บทความ และบท
วิจารณ์ตา่ งๆ มากมาย ซึ่ง liberalism มาจากคาว่า liberate
แปลว่าปลดปล่อย นัน่ คือเสรี มีนกั วิชาการท่านหนึง่ ชือ่ รุสโซ กล่าวว่า
man is born free มนุษย์เกิดมามีเสรีภาพ but it every
wher, he is in chain แต่ก็อยู่ในโซ่ตรวน คาว่าโซ่ตรวนนีก้ ็คือ
กฎ ระเบียบทางสังคม ดังนัน้ กติกาหรือโซ่ตรวน ไม่ใช่เป็ นเพียงกฎหมาย
ที่เรามองเท่านัน้ เราสามารถมองถึงความคิดของตน สายตาและมุมมอง
ของคน นัน่ ก็คือประเพณีของคน ฉะนัน้ การปฎิวตั ถิ า้ มองในทางการเมือง
ในปี 1789 ที่เป็ น liberate นัน้ พื้นฐานของคน สิทธิของพลเมือง
เป็ นสิทธิที่เกิดขึน้ ในส่วนนีน้ นั ่ คือการปลดปล่อยสิทธิ เสรีภาพตาม
ธรรมชาติ
สังคมไทย พัฒนามาได้อย่างไรเรามีการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง หลายคนได้มองว่าการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการ
ปกครองของไทยนัน้ มีลกั ษณะที่พิเศษ ที่ว่าพระมหากษัตริยไ์ ด้มอบ
รัฐธรรมนูญแก่ประชาชน ด้วยความพอใจ หรือว่าถูกกดดันให้ตอ้ ง
มอบอานาจในการบริหารให้แก่ฝ่ายคณะราษฎร์ ได้มกี ารศึกษากัน
อย่างกว้างขวาง ฝ่ ายที่มมี มุ มองว่า พระมหากษัตริยไ์ ด้มอบ
รัฐธรรมนูญให้กบั ประชาชนด้วยความพอใจ ได้มกี ารศึกษาตัง้ แต่
สมัยรัชการที่ 5 ในจดหมายจางวางหรา่ เป็ นจดหมายที่รชั การที่ 5
เขียนถึงบรรดาลูกๆ ที่อยู่ในต่างประเทศและได้พดู ถึงเรือ่ ง
Republic ที่ว่าเมืองไทยน่าจะมีระบบการปกครอง
อย่างเช่นตะวันตก และได้เขียนจดหมายโต้ตอบกับบรรดาลูกใน
ต่างประเทศเกี่ยวกับความพร้อมในประทศไทยว่า ประเทศไทยพร้อม
ที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองหรือไม่ โดยการโต้ตอบกันทาง
จดหมาย พอเหตุการณ์มาถึงสมัยรัชการที่ 7 ก็มคี ากล่าวที่ว่า รัช
การที่ 7 จะมอบอานาจให้แก่คณะราษฎร์ แต่ได้เกิดเหตุการณ์ปฎิวตั ิ
เสียก่อน ปี 2475 จึงเป็ นจุดที่สาคัญของการเมืองไทย เราไม่ตอ้ ง
เสียเลือดเนือ้ ไม่ตอ้ งมีการเข่นฆ่ากัน เป็ นการประนีประนอมกัน
การยกสถาบันกษัตริยข์ นึ้ ไว้ในที่สงู อย่างที่เรามีการปกครอง
แบบ constitutional monarchy ระบบการเมืองการ
ปกครองเช่นนี้ เกี่ยวข้องกับเสรีนยิ มอย่างไร
หลังจากที่ประเทศไทยมีประชาธิปไตยแบบมีตวั แทน ในปี 2475 และมี
รัฐธรรมนูญใช้ในปี 2476 เป็ นฉบับแรกของประเทศไทย ซึ่งภาพรัฐธรรมนูญ
แต่ละฉบับ สะท้อนให้เห็นอะไรบ้าง คาว่าเสรีนยิ ม มาจากรากฐานทางเศรษฐกิจ
ที่ว่า สิทธิในการทากินแบบเสรี ประเทศไทยเกิดขึน้ มานานแล้ว ตัง้ แต่สโุ ขทัย ดัง
คากล่าวที่ว่า “ใครใคร่คา้ ช้าง ค้า ใครใคร่คา้ ม้าค้า ใครใคร่คา้ เงิน ค้าทองค้า “ที่
ปรากฏในศิลาจารึก
เสรีนยิ มในสังคมไทย ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีการค้าขายกับยุโรป โดย
ผ่านพระมหากษัตริย์ ต่อมาหลัง 2475 บทบาทของพ่อค้า ประชาชน ได้เข้ามามี
ส่วนทางการค้าขายเพิ่มมากขึน้ และพัฒนาระบบเสรีทางการค้าเพิ่มมากขึน้
เสรีนยิ มมีหลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง
1. เสรีนยิ มจะประสานประโยชน์กบั หลักทางการเมืองก็คือ หลัก
ประชาธิปไตย แบบมีตวั แทน หลักการประนีประนอม ถือเป็ นสาระสาคัญ
ของระบบประชาธิปไตยแบบเสรีนยิ ม ประนีประนอม คือการลองผิด
ลองถูก ในที่นกี้ ็คือ ถ้าเรามีรฐั บาลไม่ดี แล้วให้โอกาสอยูค่ รบเทอม ถ้า
รัฐบาลชุดดังกล่าวไม่เป็ นที่ถกู ใจ ก็สามารถเลือกตัง้ ใหม่เมือ่ ถึงคราว
เลือกตัง้ ครัง้ ต่อไป ตามที่คนพอใจมาบริหารประเทศ นีค้ ือหลักการ
ประนีประนอมที่แฝงอยู่ในหลักประชาธิปไตยแบบเสรีนยิ ม ภายใต้กติกา
ในส่วนนีม้ กี ารประนีประนอม การประนีประนอมหมายถึง การเจรจา
ข้อตกลง การประชุมต่างๆ ถือเป็ นวิธีการของการประนีประนอม ภายใน
กติกาเสรีประชาธิปไตยในตัวของมันเอง
2. การแข่งขันอย่างมีกติกาในระบบประชาธิปไตย ผูว้ างกติกาก็
คือ สภา ซึ่งสภามาจากการเลือกตัง้ ของประชาชน ประเทศไทยมีระบบ
สภาคู่ คือมีสภาผูแ้ ทนราษฎร (house of representatives)
แต่ที่ประเทศอังกฤษใช้ House of commons คาว่า
commons มาจากคาว่าประชาชน หรือสามัญชน และอีกสภาหนึง่
คือ วุฒิสภา (Senate) ซึ่งเหมือนกับสหรัฐอเมริกา ซึ่งสหรัฐอเมริกา
นัน้ นามาจากรูปแบบการปกครองของโรมัน ส่วนของอังกฤษมีสภาสูงที่
เรียกว่า House of lord การแข่งขันอย่างมีกติกา ต้องเป็ นระบบ
และเป็ นกลาง คือต้องไม่เอนเอียงเข้ากับกลุม่ คนกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ ที่มี
อานาจ หรือบารมี ฉะนัน้ ในการวางรากฐานกติกา ต้องเป็ นหน้าทีข่ องรัฐ
และหน้าที่ของรัฐ ที่สาคัญที่สดุ ก็คือการออกกฎหมาย ประเทศไทยมี
กฎหมายมากมาย แต่ขาดการบังคับใช้ที่ถกู ต้อง
3. คิดอย่างมีเหตุและผล (rational thinking) คือ
ฐานของคนที่มคี วามเข้มแข็ง ในศาสนาพุทธได้กล่าวว่าทุกอย่างมา
จากเหตุ เหตุก็คือตัวตัง้ ที่ปรากฏขึน้ ซึ่งนาไปสูผ่ ลที่ว่า ดังนัน้ เราต้อง
หาเหตุ หรือข้อเท็จจริงเสียก่อน การหาข้อเท็จจริงนัน้ ต้องดูว่าฟังได้
ไหม ต้องฟังดูว่า ฟังได้ไหม ต้องฟังดูว่าเป็ นเหตุและผลกันหรือไม่
ต้องอาศัยความคิด ทาไมประชาธิปไตยจึงต้องอาศัยเหตุและผล เหตุ
และผลหรือหลัก เพราะระบอบประชาธิปไตยที่เกิดขึน้ ในศตวรรษที่
17 เป็ นช่วงที่ศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์เติบโตขึน้ มาในยุโรป และ
ศาสตร์ของยุโรปก็คือศาสตร์ของการคิดอย่างมีเหตุและผล วิธี
ดังกล่าวเป็ นวิธีทางวิทยาศาสตร์ ที่นามาใช้ในหลักทางรัฐศาสตร์
ฉะนัน้ เมือ่ นามาใช้กบั หลักรัฐศาสตร์
จึงทาให้เกิดข้อพิพาทระหว่างประชาชนกับรัฐ เช่น ในเรื่องการ
ทาท่อก๊าซ ต้องให้ความเป็ นธรรมกับทัง้ สองฝ่ าย หรืออย่างใน
ประเทศสหรัฐอเมริกามักจะให้ความสาคัญกับการเมืองระดับล่าง
ก่อนนัน้ ก็คือการเมืองในระดับท้องถิ่นนัน้ เอง ยกตัวอย่างเช่น มีรฐั
รัฐหนึง่ ในสหรัฐอเมริกา คือรัฐดาโกต้า ได้มกี ฎหมายออกมาว่า เด็ก
อายุไม่ตา่ กว่า 18 ปี สามารถดืม่ สุราได้ ซึ่งเป็ นการใช้เกณฑ์เดียวกับ
การเลือกตัง้ เมือ่ เด็กวัยรุ่นดังกล่าวได้มกี ารดืม่ สุราในยามคา่ คืนจึง
ก่อให้เกิดเสียงรบกวนแก่บคุ คลรอบข้าง สร้างความไม่พอใจให้แก่
ประชาชนทัว่ ไป ประชาชนเหล่านีจ้ ึงได้ให้ขอ้ เสนอแก่ทางรัฐดาโกต้า
ให้เปลี่ยนแปลงกฎหมาย
โดยอนุญาตให้เด็กจะดืม่ สุราได้ตอ้ งมีอายุไม่ตา่ กว่า 21 ปี แล้ว
รัฐบาลกลางก็จะให้เงินสนับสนุนเพื่อสร้างถนนหลวง กับรัฐดาโกต้า เป็ น
เงินจนวนกว่า 90 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ทาให้เรื่องดังกล่าวได้เข้าไปสูส่ ภา
ของรัฐดาโกต้า จนทาให้มกี ารเปลี่ยนแปลงกฎหมายดังกล่าว จากกรณี
ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าในการปฎิบตั งิ านของรัฐบาลกลางนัน้ พยายามที่
จะเข้าไปแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึน้ ภายในการเมืองระดับท้องถิ่น คือพยายาม
เข้าใจปั ญหาของประชาชนในระดับรากหญ้าว่าต้องการสิ่งใด และ
พยายามแก้ปัญหาให้ถกู จุด พร้อมกับเสนอผลประโยชน์เพื่อเป็ นการตอบ
แทน และกระตุน้ ให้นโยบายดาเนินไปได้สะดวกโยไม่ถกู คัดค้าน หรือ
อย่างเช่นอีกกรณีหนึง่ ประเทศฝรัง่ เศสได้ทาการผลิตเคริ่องบิน
คองคอร์ดขึน้ มา ใช้เครื่องบินลาดังกล่าวเป็ นเครื่องบินในระบบ
Super sonic มีความเร็วเหนือคลื่นเสียง จากเดิมที่
เครื่องบินโบว์อิ้งธรรมดา สามารถบินข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกใช้
เวลา 9 ชัว่ โมง แต่เมือ่ ทดลองใช้เครื่องบินคองคอร์ด ใช้เวลาเพียง 3
ชัว่ โมง ทางการฝรัง่ เศสได้ทาสัญญาขอนาเครื่องบินมาลงใน
นิวยอร์ก (สนามบินนานาชาติในนิวยอร์ก มี 2 แห่ง ได้แก่ สนามบิน
นานาชาติ JFK และสนามบิน Lacadia) แต่เคริ่องบิน
คองคอร์ดมีขอ้ เสียคือ ในขณะที่ขนึ้ จากรันเวย์ จะมีเสียงดังมาก จน
กระจกภายรอบบ้านเรือนใกล้เคียงกับสนามบินเสียหาย ทาให้
รัฐบาลของสหรัฐอเมริกาได้ทาเรื่องให้ทางการฝรัง่ เศส ทาการ
ปรับปรุงแก้ไขเรื่องเสียงของเครื่องบินดังกล่าว
แต่ทางการฝรัง่ เศสกลับเพิกเฉย รัฐบาลกลางสหรัฐฯ ได้กล่าว
ว่าประเทศสหรัฐอเมริกานัน้ ได้ให้ความสาคัญกับประชาชน ระดับ
ท้องถิ่นทางด้านสิทธิและเสรีภาพ ฉะนัน้ เมือ่ ทางการฝรัง่ เศสไม่
ปฎิบตั ติ าม จึงได้ทาการยกเลิกสัญญาห้ามเครื่องบินคองคอร์ดลง
จอดยังสนามบินดังกล่าว ปั จจุบนั เมือ่ ทางการฝรัง่ เศสได้ทาการ
ปรับปรุงเรื่องเสียงของเครื่องบินคองคอร์ดจึงทาให้เครือ่ งบิน
คองคอร์ดจากฝรัง่ เศสสามารถลงจอดยังสนามบินนานาชาติใน
นิวยอร์คได้ จากตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงว่ารัฐบาลกลางใน
สหรัฐอเมริกาได้พยายามแก้ไขปั ญหาของประชาชนในประเทศ ให้
ความสาคัญกับประชาชนทุกระดับ ที่ว่าสหรัฐฯจะให้ความเสมอภาค
แก่ประชาชนของประเทศก่อนสิ่งอื่นใด