ดูงาน - โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

Download Report

Transcript ดูงาน - โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์

แนวคิดเกีย่ วกับวิวฒ
ั นาการของสิง่ มีชวี ิต
แนวคิดเกีย่ วกับวิวฒ
ั นาการของสิง่ มีชีวิต
ในอดีต ทางซีกโลกตะวันตกมีความเชือ่ ว่าโลกและสิง่ มีชวี ิตทัง้ มวลนัน้ เกิดขึ้นด้วยอานุภาพ
ของสิง่ เหนือธรรมชาติ จนกระทัง่ ในศตวรรษที่ 18 เมื่อวิทยาศาสตร์มีความก้าวหน้ามากขึ้น มีการ
สร้างเครือ่ งมือวิทยาศาสตร์ การศึกษาในห้องปฏิบตั ิการประกอบกับการเดินทางออกสารวจแผ่นดิน
ใหม่ของชนชาติต่างๆ ทาให้เกิดข้อสงสัยในความเชือ่ เดิมเรือ่ งกาเนิดของสิง่ มีชวี ิตและเริม่ มีการเสนอ
แนวคิดใหม่เกีย่ วกับเรือ่ งวิวฒ
ั นาการของสิง่ มีชวี ิตที่เปลีย่ นไปจากอดีต
ต่อมาในต้นศตวรรษที่ 19 เริม่ มีการบุกเบิกเรือ่ งการศึกษาซากดึกดาบรรพ์ของ
สิง่ มีชวี ิตจากตัวอย่างที่เก็บจากทัว่ โลก จึงทาให้นกั วิทยาศาสตร์ได้ขอ้ มลลสนับสนุนกับ
หลักฐานด้านอืน่ ๆเพิม่ มากขึ้นจนทาให้เกิดแนวคิดปฏิวตั ิเกีย่ วกับวิวฒ
ั นาการที่เชือ่ ว่า
สิง่ มีชวี ิตน่าจะมีการเปลีย่ นแปลงให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลีย่ นแปลงไปในแต่ละยุคสมัยและยอมรับ
ว่าสิง่ มีชวี ิตมีวิวฒ
ั นาการจริง
แนวคิดเกีย่ วกับวิวฒ
ั นาการของลามาร์ก
ชอง ลามาร์ก (JEAN LAMARCK)
นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรัง่ เศสได้ศกึ ษาเปรียบเทียบ
สิง่ มีชวี ิตที่พบแพร่หลายในยุคนัน้ กับซากดึกดา
บรรพ์ท่ีได้รวบรวมไว้ในพิพธิ ภัณฑ์
ลามาร์กได้เสนอแนวคิดเพือ่ อธิบายว่าสิง่ มีชวี ิตมี
การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมขณะเกิดวิวฒ
ั นาการ
แนวคิดของลามาร์กมีดงั นี้
แนวคิดของลามาร์ก ประเด็นที่ 1
แนวคิดของลามาร์กประเด็นแรกกล่าวว่า สิง่ มีชวี ติ มีแนวโน้ม
ทีจ่ ะพัฒนาไปมีความซับซ้อนมากขึ้นและสิง่ มีชวี ติ มีความพยายามทีจ่ ะอยู่
รอดในธรรมชาติซง่ึ จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสรีระไปในทิศทาง
นัน้ “หากอวัยวะใดทีม่ ีการใช้งานมากในการดารงชีวติ จะมีขนาดใหญ่
ส่วนอวัยวะใดทีไ่ ม่ใช้จะค่อยๆลดขนาดและอ่อนแอลง และเสือ่ มไปใน
ทีส่ ุด” แนวคิดดังกล่าวนี้ เรียกว่า กฎการใช้และไม่ใช ้้
(Law of use and disuse)
แนวคิดของลามาร์ก ประเด็นที่ 2
ประเด็นทีส่ องมีความเกี่ยวเนื่องต่อจากประเด็นแรกทีว่ า่
“การเปลี่ยนแปลงของสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ กิดขึ้นจากการใช้และไม่ใช้นนั้ จะคงอยู่
ได้ และสิง่ มีชวี ติ สามารถถ่ายทอดลักษณะทีเ่ กิดใหม่น้ ีไปสูร่ ุน่ ลูกได้”
แนวคิดดังกล่าว เรียกว่า กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะทีเ่ กิดขึ้นใหม่
(Law of inheritance of acquired
characteristic)
ลามาร์กได้ใช้แนวคิดทัง้ สองมาอธิบายการเปลี่ยนแปลง
รูปร่างของสิง่ มีชวี ติ เช่น ลักษณะของยีราฟซึง่ มีคอยาว ลามาร์ก
อธิบายว่าจากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ ยีราฟในอดีตจะมีคอสัน้ แต่
เนื่องจากอาหารขาดแคลนไม่พอกิน จึงต้องกินใบไม้จากต้นไม้สูง
แทนหญ้า และเนื่องจากยืดคออย่างเดียวนัน้ ยังไม่พอจึงต้องมีการ
เขย่งขาเพิ่มด้วย จึงทาให้ยีราฟมีคอและขาทีย่ าวขึ้น ลักษณะที่
เปลี่ยนแปลงไปนี้สามารถถ่ายทอดสูร่ ุน่ ลูกหลานยีราฟรุน่ ต่อมา
แนวคิดเกี่ยวกับวิวฒ
ั นาการลามาร์กเป็ นแนวคิดทีไ่ ม่มีหลักฐานสนับสนุนว่า
ลักษณะทีเ่ กิดขึ้นมาใหม่ในชัว่ ชีวติ นัน้ สามารถถ่ายทอดไปยังรุน่ ต่อไปได้ ทา
ให้ไม่ได้รบั การยอมรับจากนักวิทยาศาสตร์ในสมัยนัน้
อย่างไรก็ตามลามาร์กได้กระตุม้ ให้นกั วิทยาศาสตร์เริม่ คิดว่า
วิวฒ
ั นาการเกิดขึ้นได้อย่างไร และเป็ นนักวิทยาศาสตร์คนแรกทีย่ อมรับว่า
โลกได้กาเนิดมานานหลายพันล้านปี สภาพแวดล้อมของโลกในแต่ละยุคสมัย
ย่อมแตกต่างกันและเป็ นแรงผลักดันทาให้สงิ่ มีชวี ติ มีการเปลี่ยนแปลงให้เข้า
สภาพแวดล้อมก่อให้เกิดสิง่ ชีวติ ชนิดใหม่ซง่ึ แตกต่างจากสิ่งมีชวี ติ เดิม หรือ
วิวฒ
ั นาการขึ้นนัน่ เอง
แนวคิดเกีย่ วกับวิวฒ
ั นาการของดาร์วิน
แนวคิดเกี่ยวกับวิวฒ
ั นาการทีด่ ูจะเป็ นทีย่ อมรับอย่างแพร่หลาย
มาจนถึงปั จจุบนั นัน้ เป็ นของชาร์ลส์ ดาร์วนิ (Charles
Darwin, พ.ศ. 2352-2428) นักธรรมชาติวทิ ยาชาว
อังกฤษ ปี ทดี่ าร์วนิ เกิดอยูใ่ นช่วงรัชสมัยของรัชกาลที่ 3 และในอีก
50 ปี ตอ่ มาดาร์วนิ ได้ตพี ิมพ์หนังสือเรือ่ ง กาเนิดความหลากหลาย
ของสิง่ มีชวี ติ โดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (The Origin
of Species by Means of Natural
Selection) ทีเ่ ขย่าวงการวิทยาศาสตร์และกระทบความเชือ่
ชาวตะวันตก จนได้รบั การวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างแพร่หลาย
ดาร์วินเกิ ดเมื่อวันที่ 12
กุ มภาพันธ์ พ.ศ. 2352
ที่เมืองชรูเบอรี่
(Shrewsbury) ประเทศอังกฤษ ในครอบครัวที่มีฐานะมัง่ คัง่ บิดาของ
ดาร์วนิ อยากให้เขาเรียนแพทย์แต่เนื่องจากนัน่ ไม่ได้มาจากความชอบส่วนตัว เขา
จึงไม่สนใจเรียนเพราะฝั กใฝ่ สนใจกับการศึกษาธรรมชาติรอบตัว และมัก ชอบ
เดินทางเป็ นระยะทางไกลเพื่อเก็บสะสมแมลงต่างๆ ดาร์วินเรียนแพทย์ได้เพียง
สองปี เท่านัน้ ก็ลาออกมา บิดาจึงส่งให้ดาร์วินไปเรียนต่อวิชาเกี่ยวกับศาสนาที่
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์จนจบการศึกษา
ในปี พ.ศ. 2374 ดาร์วนิ ซึง่ มีอายุเพียง 22 ปี ได้รบั การฝากฝังโดย
ศาสตราจารย์จอห์น เฮนสโลว์ (John Henslow) ให้เดินทางไปกับ
เรือหลวงบีเกิ้ล (H.M.S.Beagle) ในฐานะนักธรรมชาติวทิ ยาประจา
เรือ การเดินทางครัง้ นี้ เป็ นโครงการของราชนาวีองั กฤษ ซึ่งมีเป้ าหมายในการ
เดินทางเพื่อสารวจภูมิประเทศบริเวณชายฝั่งทะเลของทวีปอเมริกาใต้และหมู่เกาะ
ในมหาสมุทรแปซิฟิกซึง่ ยังไม่มีใครเคยไปสารวจมาก่อน
ภาพวาดเรือหลวงบีเกิล้
เส้ นทางการเดินทางของเรือหลวงบีเกิล้ (เส้ นทางตามลูกศรสี แดดง)
ในระหว่างการเดินทางดาร์วนิ ได้สงั เกตเห็นความหลากหลายของสิง่ มีชวี ติ ทัง้ พืช
และสัตว์ทอี่ าศัยอยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่างกันรวมไปถึงวิถีความเป็ นอยูท่ ี่
แตกต่างกันออกไปของกลุม่ คนในทีต่ า่ งๆ นอกจากนี้ระหว่างการรอนแรมอยูใ่ น
เรือดาร์วนิ ยังได้ศึกษาแนวคิดของญาติผใู ้ หญ่ชอ่ื ชาร์ลส์ ไลแอลล์
(Charles Lyell, พ.ศ. 2340-2518) จากหนังสือเรือ่ ง หลัก
ธรณีวทิ ยา
(The Principles of Geology) ทีก่ ล่าวถึงการเปลี่ยนแปลง
ของโลกทีเ่ กิดขึ้นอย่างค่อยเป็ นค่อยไป แม้วา่ จะโลกจะเกิดขึ้นมานานหลาย
พันล้านปี ก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนี้ก็ยงั คงเกิดขึ้นอยูเ่ สมอ ซึง่ นี่เองนับเป็ นการ
จุดประกายความสงสัยของดาร์วนิ ว่าสิง่ มีชวี ติ เองก็น่าจะมีการเปลี่ยนแปลงได้
เช่นเดียวกับเปลือกโลกเช่นกัน
ชาร์ ลส์ ไลแดอล
ต่อมาปี พ.ศ. 2378 เรือบีเกิลได้เดินทางมาถึงหมู่เกาะกา
ลาปากอส ในมหาสมุทรแปซิฟิกทีห่ มู่เกาะนี้ ดาร์วนิ ได้สงั เกตและเกิด
ข้อสงสัยในลักษณะของพืชและสัตว์หลายชนิดทีเ่ ก็บและบันทึกรวบรวม
ไว้เช่า นกฟิ นช์ทพี่ บแพร่กระจายอยูต่ ามเกาะต่างๆ ในหมู่เกาะกาลาปา
กอสนกกลุม่ นี้ดารงชีวติ โดยการกินอาหารทีแ่ ตกต่างกัน ตาม
สภาพแวดล้อมของเกาะนัน้ ๆ เช่นเมล็ดพืช ผลไม้ นา้ หวานจากดอกไม้
และแมลง เป็ นต้นโดยนกฟิ นช์ทพี่ บมีลกั ษณะจะงอยปากหนาบาง สัน้
และยาวแตกต่างกัน และแตกต่างจากจะงอย ปากของนกฟิ นช์ใน
ประเทศอีเควดอร์ซง่ึ อยูบ่ น แผ่นดินใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้
หมู่เกาะกาลาปากอส
จงอยปากของนกฟิ นช์ ทแดี่ ตกต่ างกันตาม
ความเหมะสมในการกินอาหาร
ภายหลังจากการเดินทางกับเรือหลวงบีเกิ้ลยาวนานถึง 5 ปี เมื่อเดินทาง
กลับมาถึงประเทศอังกฤษ ดาร์วนิ จึงได้เริม่ ศึกษาเกี่ยวกับสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ขาได้
บันทึกและเก็บรวบรวบข้อมูลมายาวนานตลอดการเดินทาง รวมถึงการ
อ่านบทความของโทมัส มัลทัส (Thomas Malthus, พ.ศ.
2309-2377) ทีก่ ล่าวถึงอัตราการเพิ่มของประชากรว่ามีอตั ราทีเ่ ร็ว
กว่าการเพิ่มของอาหารหลายเท่า โดยทีอ่ ตั ราการเกิดของประชากรเพิ่มใน
อันดับเรขาคณิต ส่วนอัตราการเพิ่มของอาหารเพิ่มตามอันดับเลขคณิต
จากบทความนี้ทาให้ดาร์วนิ คิดว่าการทีส่ ิ่งมีชวี ติ นัน้ มีจานวนเกือบคงที่
แทนทีจ่ ะมีจานวนลูกหลานเพิ่มขึ้นเรือ่ ยๆนัน้ น่าจะต้องมีปัจจัยบางอย่างมา
จากัดจานวนประชากรของสิง่ มีชวี ติ
โทมัส มัลทัส กับแดนวคิดอัตรา
การเพิม่ ของประชากร
จากข้อมูลข้างต้นนี้เองทาให้ดาร์วนิ เริม่ เข้าใจเกี่ยวกับกลไกการเกิด
วิวฒ
ั นาการของสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ขาคิดว่าสิ่งมีชวี ติ มีความหลากหลายตาม
ธรรมชาติ และปั จจัยทางธรรมชาติ เช่น ปริมาณอาหารและนา้ ทีจ่ ากัด ทาให้
สิง่ มีชวี ติ ตัวทีเ่ หมาะสมเท่านัน้ ทีจ่ ะมีชวี ติ อยูร่ อด (survival of the
fittest) และถ่ายทอดลักษณะทีเ่ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมนัน้ ไปสู่
ลูกหลาน แนวคิดของดาร์วนิ ดังกล่าว เรียกว่า ทฤษฏีการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ (theory of natural selection)
ในช่วงเวลาต่อมา อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ (Alfred
Russel Wallace)นักธรรมชาติวทิ ยาชาวอังกฤษได้เสนอ
ผลงานทีม่ ีเนื้อหาตรงกันกับแนวคิดของดาร์วนิ ทีว่ า่ วิวฒ
ั นาการเกิด
จากกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ ในปี พ.ศ.2401 ไลเอลล์ ได้
นาผลงานของดาร์วนิ และวอลเลซเผยแพร่เป็ นครัง้ แรกในทีป่ ระชุม ปี
ต่อดาร์วนิ ได้จดั พิมพ์ผลงานของตนเองในหนังสือ Origin
of Species by Means of Natural
Selection ซึง่ มีการแสดงลาดับความคิดเป็ นขัน้ ตอน
สมเหตุสมผล และมีหลักฐานประกอบหลายอย่างตามวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์โดยสาระสาคัญของหนังสือกล่าวว่า สิง่ มีชวี ติ
วิวฒ
ั นาการเกิดขึ้นโดยกลไกกทีก่ อ่ ให้เกิดวิวฒ
ั นาการคือ การ
คัดเลือกโดยธรรมชาติ
เอินส์ เมียร์ (Ernst Mayr) ได้วเิ คราะห์ทฤษฎีการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติของดาร์วนิ ทีป่ รากฏอยูใ่ นหนังสือ Origin of Species
by Means of Natural Selection โดยตัง้ ข้อสังเกตและ
ข้อสรุปดังนี้
ข้อสังเกตที1่ สิ่งมีชวี ติ มีความสามารถในการสืบพันธุแ์ ละสปี ชสี ์
กาเนิดลูกหลานได้จานวนมาก
ข้อสังเกตที2่ จานวนสมาชิกของประชากรแต่ละสปี ชสี ใ์ นแต่ละรุน่ มักมี
จานวนคงที่
ข้อสังเกตที3่ ปั จจัยทีจ่ าเป็ นต่อการดารงชีวติ ของสิ่งมีชวี ติ มีปริมาณ
จากัด
จากข้อสังเกตทัง้ 3 ข้อทาให้เกิดข้อสรุปข้อหนึ่งว่าสิง่ มีชวี ติ มีการ
ต่อสูด้ ้ นิ รนเพื่อการอยูร่ อดและให้ได้สง่ิ ทีจ่ าเป็ นต่อการดารงชีวติ ซึง่ มีจานวนจากัด
จึงมีสมาชิกเพียงส่วนหนึ่งทีอ่ ยูร่ อดในแต่ละรุน่
ข้อสังเกตที4่ สิง่ มีชวี ติ แต่ละตัวในประชากรมีลกั ษณะทีแ่ ปรผัน
แตกต่างกัน
ข้อสังเกตที5่ ความแปรผันทีเ่ กิดขึ้นนี้สามารถถ่ายทอดไปยังรุน่ ต่อไป
ได้
ข้อสรุปข้อสอง การอยูร่ อดของสมาชิกในสิง่ แวดล้อมไม่ได้
เกิดขึ้นอย่างสุม่ แต่เป็นผลมาจากลักษณะทางพันธุกรรมทีแ่ ตกต่างกันของ
สิง่ มีชวี ติ สิง่ มีชวี ติ ทีม่ ีลกั ษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมซึง่ มีโอกาสกับ
แวดล้อม
ข้อสรุปข้อสาม การทีส่ งิ่ มีชวี ติ แต่ละตัวมีศกั ยภาพในการอยู่
รอดและให้กาเนิดลูกหลานไม่เท่ากัน ทาให้ประชากรมีการเปลี่ยนแปลงไป
ทีละเล็กละน้อยและมีลกั ษณะทีเ่ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมสะสมเพิ่มขึ้นใน
แต่ละรุน่
ดังนัน้ อาจสรุปแนวคิดของดาร์วนิ ได้ดงั นี้
1.การคัดเลือกโดยธรรมชาติทาให้สง่ิ มีชวี ติ แต่ละตัวมีความสามารถในการ
อยูร่ อด และมีความสามารถใน
การให้กาเนิดลูกหลานแตกต่างกัน
2. การคัดเลือกโดยธรรมชาติเกิดขึ้นจากปฏิสมั พันธ์ระหว่างสิง่ แวดล้อมที่
ประชากรอาศัยกับลักษณะความ
แปรผันทางพันธุก์ รรมของสมาชิกในประชากร
3. ผลการจากคัดเลือดโดยธรรมชาติทาให้ประชากรมีการปรับตัวให้
สามารถดารงชีวติ อยูใ่ นสภาพแวดล้อม
นัน้
ดาร์วนิ อธิบายเกี่ยวกับการคัดเลือกว่าเป็ นแรงผลักดันทีก่ อ่ ให้เกิด
วิวฒ
ั นาการของสิง่ มีชวี ติ อาจจะเข้าใจแนวคิดของดาร์วนิ ได้มากขึ้นเมื่อพิจารณานา
การของสิง่ มีชวี ติ อาจะเข้าใจแนวคิดของดาร์วนิ ได้มากขึ้นเมื่อพิจารณา ตัวอย่างทีเ่ กิด
จาก การคัดเลือกของมนุษย์ (artificial selection) ในการปรับปรุง
พันธุพ์ ืชและสัตว์ เช่น การปรับปรุงและคัดเลือกพันธุข์ องกะหลา่ ป่ า
การคัดหรื อเลือกพันธุ์สุนขั ทาให้เกิดสุ นขั พันธุ์
ใหม่ๆที่แตกต่างจากพันธุ์
การคัดเลือกโดยธรรมชาติตามแนวคิดของดาร์วนิ เป็ นการคัดเลือก
ประชากรทีส่ มาชิกของประชากรมีความแปรผันทางพันธุกรรมทาให้มีลกั ษณะ
แตกต่างกันไป สมาชิกของประชากรทีม่ ีลกั ษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูก
คัดเลือก ไว้และมีจานวนประชากรเพิ่มขึ้นแต่ดาร์วนิ ยังไม่สามารถอธิบายได้วา่
ความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากรเกิดขึ้นอย่างไร และมีการถ่ายทอด
ลักษณะทีเ่ กิดขึ้นจากพ่อแม่ไปยังรุน่ ลูกได้อย่างไร ต่อมาเมื่อความรูเ้ กี่ยวกับการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของแมนดอลได้รบั การยอมรับมากขึ้น แต่ยงั ไม่
สามารถเชือ่ มโยงความรูเ้ กี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของ
แมนดอลกับแนวคิดเกี่ยวกับวิวฒ
ั นาการโดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์
วินได้ จนกระทัง่ มีความรูท้ างพันธุศาสตร์ประชากร (population
genetics) ทาให้เชือ่ มโยงแนวคิดของดาร์วนิ และแนวคิดของแมนดอลไว้
ด้วยกันและสามารถอธิบายกลไกการเกิดวิวฒ
ั นาการได้
ในปั จจุบนั แนวคิดเกี่ยวกับวิวฒ
ั นาการเป็ นการรวบรวมแนวคิดและความรูท้ างด้าน
อืน่ ๆ เช่น บรรพชีวินวิทยา (palaeontology) อนุกรมวิธาน
(taxonomy) ชีวภูมิศาสตร์โดยเฉพาะพันธุศาสตร์ประชากรโดยนาความรู ้
ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการอธิบายวิวฒ
ั นาการของสิง่ มีชวี ติ เรียกแนวคิดเกี่ยวกับ
วิวฒ
ั นาการยุคใหม่น้ ีวา่ ทฤษฎีวิวฒ
ั นาการสังเคราะห์ (syntketic theory
of evolution) ทฤษฏีววิ ฒ
ั นาการสังเคราะห์เน้นความสาคัญของประชากรซึง่
เป็ นหน่วยของวิวฒ
ั นาการโดยสิง่ มีชวี ติ แต่ละตัวในประชากรเดียวกันมีความแปรผัน
แตกต่างกัน ลักษณะทางพันธุใดทีเ่ หมาะสมต่อสภาพแวดล้อมนัน้ ก็จะประสบ
ความสาเร็จในการสืบพันธุแ์ ละถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวไปยังรุน่ ต่อไปทาให้สดั ส่วน
ของลักษณะทางพันธุกรรมดังกล่าวในประชากรเพิ่มมากขึ้น ดังนัน้ สภาพแวดล้อมจึง
เป็ นแรงผลักดันในการคัดเลือกประชากรทีเ่ หมาะสมหรืออาจกล่าวได้วา่ การคัดเลือก
โดยธรรมชาติเป็ นกลไกหลักที่สาคัญทีส่ ุดทีก่ ่อให้เกิดวิวฒ
ั นาการขึ้น แล้วพันธุศาสตร์
ประชากรเกีย่ วข้องกับวิวฒ
ั นาการอย่างไร
บรรณานุกรม
http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=13
19
 https://sites.google.com/site/biologyroom610/evolu
tion/evolution2
 http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/150charlesdarwin/index.html

จัดทาโดย
สมาชิกกลุ่มที่ 6
1.นายภานุพงศ์ ปุญญะประสิทธิ์ เลขที่ 7 ก (หาภาพประกอบ)
2.นายอัษฎาวุธ ตันพงษ์ เลขที่ 8 ก (จัดเนื้อหาลง point)
3.นางสาวกรชนก รุ่งขจรกลิน่ เลขที่ 17 ก (รวบรวมเนื้อหาและตกแต่ง)
4.นายภลวณัฏฐ์ ไตรติลานันท์ เลขที่ 4 ข (ตรวจเนื้อหาและอักษร)
5.นายธีระ เทพราช
เลขที่ 10 ข (จัดหาข้อมลล)
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6/3
เสนอ
ครลบรรจบ ธุปพงษ์
รายงายนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา (ว30244)
โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ฉะเชิงเทรา