วิตามิน E - สำนักโภชนาการ

Download Report

Transcript วิตามิน E - สำนักโภชนาการ

1
2
วิตามินอี จัดอยูใ่ นกลุ่มวิตามินชนิ ดละลายในไขมัน (fat soluble
vitamin) มีลกั ษณะเป็ นของเหลวคล้ายน้ ามัน สี เหลืองอ่อน ไม่ละลายใน
น้ า ละลายได้ในสารละลายไขมัน เช่ น แอลกอฮอล์ อีเทอร์ วิตามินอีมี
ความสาคัญต่อการทางานของระบบสื บพันธุ์ จึงเรี ยกชื่อตามความหมาย
คือ Tocopherol มาจากภาษากรี ก Tokos แปลว่า เด็ก (Children) และ
Pheno แปลว่า ทาให้เกิด (to bear)
โครงสร้างทัว่ ไปของวิตามินอี
3
มีการศึกษาพบว่าผูห้ ญิงวัยหมดประจาเดือนที่ได้รับวิตามินอีวนั ละ 800 IU
( IU ( International Unit ) เป็ นหน่วยสากลของวิตามิน โดยที่ 1 IU ของวิตามินอี จะ
เท่ากับปริ มาณ d – alpha – tocopherol 0.667 มิลลิกรัม ) อย่างต่อเนื่ องเป็ นเวลา
1 เดือน สามารถช่วยลดอาการต่างๆ เช่น อาการนอนไม่หลับ เหนื่ อยล้า ซึ มเศร้า และ
เจ็บหน้าอกได้ นอกจากนี้ ในผูช้ ายที่ มีระบบสื บพันธุ์ ไม่ สมบูรณ์ พบว่าเมื่ อได้รับ
วิตามินอี วันละ 200 IU อย่างต่อเนื่ องเป็ นเวลา 3 เดือน จะมีโอกาสมีบุตรสู งขึ้น
เนื่ องจากวิตามินอีช่วยลดระดับของอนุ มูลอิสระในน้ าอสุ จิ จึ งทาให้ผนังเซลล์อสุ จิ
แข็งแรงขึ้น แต่กอ็ าจไม่ปรากฏผลหากคนนั้นเป็ นคนสู บบุหรี่ เนื่ องจากการสู บบุหรี่
เป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้เกิดอนุมูลอิสระ ซึ่ งจะทาลายความแข็งแรงของอสุ จิ
4
วิตามิ นอีพบมากในน้ ามันพืช ได้แก่ น้ ามันสกัดจากจมูกข้าวสาลี น้ ามันรา
ข้า ว น้ า มัน ข้า วโพด ถัว่ เมล็ด แห้ง ผักใบเขี ย ว อย่า งไรก็ตามขณะที่ ร่ า งกาย
ต้องการวิตามินอีเพิ่มขึ้น การรับประทานสารอาหารจาพวกไขมันในปริ มาณที่
เหมาะสมก็มีความจาเป็ นต่อการดูดซึ มวิตามินอีดว้ ย
จากการศึ ก ษาค้น คว้า ทางโภชนาการ พบว่ า วิ ต ามิ น อี ป้ องกั น การเกิ ด
ออกซิ เดชัน (antioxdation) ของกรดไขมันไม่อิ่มตัว วิตามิ นอี มีอยู่ในธรรมชาติ
7 ชนิ ด ด้ว ยกัน ได้แ ก่ -alpha,-beta,-delta,-epsilon,-osta,-gamma และ -zeta
วิตามินอีจะมีประสิ ทธิ ภาพแตกต่างกัน แต่ชนิ ดที่มีประสิ ทธิ ภาพทางชีวภาพมาก
ที่สุด คือ แอลฟา ( alpha – Tocopherol ) หน่วยของวิตามินอี เรี ยกว่า tocopherol
equivalent [T.E.] โดยที่สานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข ได้
กาหนดว่า ผูใ้ หญ่ควรได้รับวิตามินอี 15 มิลลิกรัมต่อวัน ตามปริ มาณสารอาหาร
อ้างอิงที่ควรได้รับประจาวันสาหรับคนไทย พ.ศ.2546
5
ปริมาณวิตามินอีในอาหารบางชนิด*
อาหาร
นา้ มันจมูกข้ าวสาลี
นา้ มันดอกทานตะวัน
นา้ มันถั่วลิสง
มาการีน , เหลว
มาการีน , แข็ง
เนยแข็ง
จมูกข้ าวสาลี
ซีเรียล
ข้ าวซ้ อมมือ , สุ ก
ขนมปังโฮลวีท
* U.S. Department of Agriculture ( 2000 )
วิตามินอี
( มิลลิกรัม ต่ อ อาหาร 100 กรัม )
192
51
13
12
10
2
18
0.1
0.7
0.9
6
ปริมาณวิตามินอีในอาหารบางชนิด ( ต่ อ )*
อาหาร
ขนมปังขาว
เมล็ดดอกทานตะวัน
เมล็ดอัลมอน
ถั่วลิสงคัว่
กุ้ง
ไข่
นา้ นม
แอปเปิ้ ล
กล้ วยหอม
ผักโขม , สด
แอสพารากัส , สด
ถั่ว ( pea ) , สด
* U.S. Department of Agriculture ( 2000 )
วิตามินอี
( มิลลิกรัม ต่ อ อาหาร 100 กรัม )
0.4
50
26
7
0.5
1
0.1
0.3
0.3
1
0.4
0.4
7
ปริมาณวิตามินอีอ้างอิงที่ควรได้ รับประจาวันสาหรับกลุ่มวัยบุคคลต่ าง
กลุ่มบุคคล
กลุ่มอายุ
ปริมาณวิตามินอีที่ควรได้ รับ
( มิลลิกรัม ต่ อ วัน )
ทารก
0 – 5 เดือน *
6 – 11 เดือน
น้ านมแม่ ( 4 )
5
เด็ก
1 – 3 ปี т
4 – 5 ปี
6 – 8 ปี
ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
ไตรมาสที่ 3
6
7
7
+0
+0
+0
0 – 5 เดือน
6 – 11 เดือน
+4
+4
หญิงตั้งครรภ์
หญิงให้นมบุตร
* แรกเกิดจนถึงก่อนครบอายุ 6 เดือน
т อายุ 1 ปี ไปจนถึงก่อนอายุครบ 4 ปี
8
ปริมาณวิตามินอีอ้างอิงทีค่ วรได้ รับประจาวันสาหรับกลุ่มวัยบุคคลต่ าง ( ต่ อ )
กลุ่มบุคคล
กลุ่มอายุ
ปริมาณวิตามินอีที่ควรได้ รับ
( มิลลิกรัม ต่ อ วัน )
ชาย
9 – 12 ปี
13 – 15 ปี
16 – 18 ปี
9 – 12 ปี
13 – 15 ปี
16 – 18 ปี
11
15
15
11
15
15
วัยรุ่ น
หญิง
9
ปริมาณวิตามินอีอ้างอิงทีค่ วรได้ รับประจาวันสาหรับกลุ่มวัยบุคคลต่ าง ( ต่ อ )
กลุ่มบุคคล
กลุ่มอายุ
ปริมาณวิตามินอีทคี่ วรได้ รับ
( มิลลิกรัม ต่ อ วัน )
19 – 30 ปี
31 – 50 ปี
51 – 70 ปี
≥ 71 ปี
19 – 30 ปี
31 – 50 ปี
51 – 70 ปี
≥ 71 ปี
15
15
15
15
15
15
15
15
ผูใ้ หญ่
ชาย
หญิง
10
คุณสมบัติที่เป็ นสารต้านอนุ มูลอิสระของวิตามินอี นอกจากจะ
ช่ วยป้ องกัน เซลล์จ ากการท าลายของปฏิ กิริ ย าออกซิ เดชัน และการเกิ ด
อนุ มู ล อิ ส ระแล้ว วิ ต ามิ น อี ย ัง ช่ ว ยป้ องกัน การเกิ ด สารไนโตรซามี น
(nitrosamines) ตัวการหนึ่ งที่ ก่อให้เกิ ดโรคมะเร็ ง โดยเกิ ดจากการทา
ปฏิกิริยาของสารจาพวกไนไตรท์ที่มีในอาหารที่รับประทานเข้าไป ภายใน
กระเพาะอาหาร และยังช่ วยเสริ มสร้ างภูมิ คุ ม้ กันให้กับ ร่ างกายอี กด้วย
นอกจากนี้การศึกษาในห้องปฏิบตั ิการพบว่าวิตามินอียงั มีผลช่วยยับยั้งการ
เจริ ญของเซลล์มะเร็ งได้
11
กระบวนการออกซิ เดชันของไขมันชนิด LDL ( low density lipoprotein ) ซึ่ ง
เป็ นไขมันที่ไม่ดีในเลือด จะมีผลทาให้เส้นเลือดเกิดความเสี ยหายอย่างมาก มีหลักฐานที่
แสดงว่าวิตามินอีมีคุณสมบัติช่วยลดการเกิดกระบวนการที่วา่ นี้ และช่วยลดการเกาะตัว
กันของเกล็ดเลือด (platelet aggregation) ส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพการทางานของเซลล์
กล้ามเนื้ อหัวใจดี ข้ ึ น และยังช่ วยลดอัตราเสี่ ยงต่อการเป็ นโรคระบบหลอดเลื อดหัวใจ
รวมถึ งหลอดเลื อดสมองด้วย โดยได้มีการศึ กษาในประเทศอังกฤษพบว่า คนที่ ได้รับ
วิตามินอีอย่างน้อยวันละ 100 IU หลังการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจจะช่วยป้ องกันการ
สะสมของไขมันที่ผนังเลือดได้ และคนที่ได้รับวิตามินอีประมาณวันละ 400-800 IU
อย่างต่อเนื่ องเป็ นเวลาอย่างน้อยหนึ่ งปี ครึ่ ง จะช่วยป้ องกันอัตราการเกิดโรคหัวใจวายได้
ถึง 77%
12
เชื่อกันว่าสาเหตุที่คนเป็ นโรคเบาหวานจะมีการสะสมของสาร
อนุ มู ล อิ ส ระเนื่ อ ง จากกระบวนการเผาผลาญสารอาหารในร่ า งกาย
ผิดปกติ นอกจากนี้ แล้วยังมีอตั ราการตายจากการเกิดโรคแทรกซ้อนจาก
โรคหลอดเลือดหัวใจได้สูง มีงานวิจยั ที่แสดงว่าคนเป็ นโรคเบาหวานที่
รับประทานวิตามินอีเพียงวันละ 100 IU จะช่วยทาให้การควบคุมระดับ
น้ าตาลในเลือดให้คงที่ได้ดี และยังช่วยเพิ่มความแข็งแรงของหลอดเลือด
อีกด้วย
13
โรคต้อกระจก (cataracts) เป็ นความผิดปกติของเลนส์ตา
ทาให้ม องภาพไม่ ชัดเจน และอาจตาบอดได้ โดยเชื่ อ ว่าเกิ ด จาก
ปฏิกิริยาออกซิ เดชันที่ ผิดปกติของโปรตีนในเลนส์ ตา มีการศึกษา
พบว่าสารที่ มีคุณสมบัติตา้ นอนุ มูลอิสระจาพวกวิตามินอีสามารถ
ช่ ว ยป้ องกัน และชะลอการเกิ ด ของโรคต้อ กระจกได้อ ย่ า งมี
ประสิ ทธิ ภาพ แต่พบว่าสารในกลุ่มนี้ ไม่ช่วยให้เกิดผลดีได้ในคนที่
สู บบุหรี่ โดยพบว่าการสู บบุหรี่ เป็ นสาเหตุอนั ดับต้นๆ ของการเกิด
โรคต้อกระจก อย่างไรก็ดีจาเป็ นต้องมี การศึกษาเพิ่มเติ มเกี่ ยวกับ
กลไกของสารต้านอนุมูลอิสระและวิตามินอีเกี่ยวกับโรคต้อกระจก
14
สารอนุ มูลอิสระจะมีผลทาให้เซลล์เกิดความเสี ยหายและตายได้ใน
ที่สุด ซึ่ งนอกจากจะเป็ นสาเหตุทาให้ร่างกายอ่อนแอและแก่เร็ วกว่าปกติแล้ว
หากเกิ ดที่ สมองก็จะทาให้มีโอกาสเป็ นโรคเรื้ อรั งทางสมองต่างๆ เช่น โรค
สมองเสื่ อม (Alzheimer’s disease) โรคพาร์ คินสัน (Parkinson’s disease) เป็ น
ต้น จากการศึกษาทางคลินิกพบว่าผูท้ ี่รับประทานวิตามินอี 1,300 IU ต่อวัน
อย่างต่อเนื่องเป็ นเวลา 2 ปี จะช่วยชะลอการเกิดโรคสมองเสื่ อมจากการอุดตัน
ของเส้นเลือดในสมองได้
15
สถาบันโรคผิวหนังหลายแห่ งมีการวิจยั พบว่าวิตามินอีช่วยป้ องกัน
ผิวจากการไหม้เกรี ย ม ริ้ วรอยเหี่ ยวย่น และรอยแผลได้ดี ไม่ ว่าจะเป็ นการ
รั บ ประทานหรื อการทาที่ ผิ ว หนั ง โดยตรง เนื่ อ งจากการเกิ ด แผลหรื อ
การอักเสบบนผิวหนัง หรื อการถูกแสงแดดเผาไหม้จะทาให้เกิ ดการสะสม
ของอนุ มูลอิสระขึ้น วิตามินอีจะทาหน้าที่เหมือนฟองน้ าที่ดูดซับสารอนุ มูล
อิสระก่อนที่จะทาให้เนื้ อเยื่อต่างๆ เสี ยหาย จึงช่วยเสริ มสร้างความแข็งแรง
ของผนังเซลล์ทาให้เซลล์ผิวแข็งแรงขึ้ น และช่ วยให้ทนต่อรั งสี UV ใน
แสงแดดได้ดี ข้ ึ น ดัง นั้น ผูผ้ ลิ ต เครื่ อ งส าอางจึ ง นิ ย มน าวิ ตามิ น อี ม าใช้เ ป็ น
ส่ วนผสมของผลิตภัณฑ์
16
1. เป็ นสารต้ านอนุมูลอิสระ คือ ทาให้ เกิดการเผาผลาญโดยมีออกซิ เจน เป็ นตัวการ
สาคัญทาให้ ร่างกายเผาผลาญได้ ดี
2. เป็ นตัวช่ วยไขกระดูกในการสร้ างเลือด ช่ วยขยายเส้ นเลือด ต้ านการแข็งตัว
ของเลือด ลดความสามารถในการจับตัวเป็ นลิ่มเลือด และลดอัตราเสี่ ยงของ
โรคทีเ่ กีย่ วกับหลอดเลือดสมองและหัวใจ
3. บารุ งตับซึ่งทาหน้ าทีเ่ กีย่ วกับเลือด
4. ช่ วยในระบบสื บพันธุ์ เซลล์ ประสาท และกล้ ามเนือ้ ให้ ทางานได้ ตามปกติ
5. ช่ วยให้ ผวิ พรรณสดใส และช่ วยสมานแผลไฟไหม้
6. ช่ วยให้ ปอดทางานดีขนึ้ และไม่ อ่อนเพลียง่ าย
17
โรคหัวใจกาเริบ วิตามินอีมีหน้าที่ในการจับสารที่เข้ามาทาลายภูมิคุม้ กัน
ของร่ างกาย การขาดวิตามินอีทาให้สารเหล่านี้ เข้าไปทาปฏิกิริยากับไขมัน
ในเลือดทาให้เนื้ อเยื่อต่างๆ เสื่ อมสภาพเร็ วยิ่งขึ้น นาไปสู่ ภาวะหลอดเลือด
แดงแข็ง ก่อให้เกิดก้อนเลือดและที่สุดทาให้เกิดโรคหัวใจกาเริ บได้
ระบบประสาทมีปัญหา ในกรณี ของคนที่ ร่างกายมี ปัญหาในการดูดซึ ม
ไขมันและในเด็กทารกที่คลอดก่อนกาหนด การได้รับวิตามินอีต่ากว่าปริ มาณ
ที่กาหนดอาจทาให้เกิดความเสี ยหายต่อระบบประสาทและเป็ นโรคโลหิ ตจาง
ได้ เนื่องจากเซลล์เม็ดเลือดแดงในร่ างกายถูกทาลาย
18
การตรวจวิเ คราะห์ วิต ามิ น อี สามารถเลือ กวิเ คราะห์ ไ ด้ ท้ัง วิธี เ คมี และใช้
เครื่องมือ HPLC ( High Performance Liquid Chromatography ) ใน
ปัจจุบันวิธีหลังจะเป็ นที่นิยมมากกว่ า เนื่องจากสามารถตรวจวิเคราะห์ ได้ แม้ ใน
ปริ มาณน้ อย การวิเคราะห์ โดย HPLC สามารถเลือกได้ ท้ังใน mode ของ
normal phase หรือ reversed phase ปัจจัยที่มีผลต่ อ retention time ของสาร
คือ polarity ของ mobile phase อย่างเดียวเท่ านั้น
19
20
ชั่งนา้ หนักตัวอย่ างประมาณ 4 กรัม ด้ วยเครื่องชั่งทศนิยม 4 ตาแหน่ ง ใส่ ในขวดก้ นกลมขนาด 250 ml.
โดยทาการวิเคราะห์ ซ้าตัวอย่ างละหนึ่งซ้า
( เตรียมตัวอย่ างอีก 1 flask เพือ่ spike วิตามินที่ต้องการวิเคราะห์ โดยทราบความเข้ มข้ นที่แน่ นอน )
เติม 95 % ethanol 50 ml. , เติม 50 % KOH 5 ml. เติม pyrogallol เล็กน้ อย
ผสมให้ เข้ ากัน
นาไปใส่ ใน shaking water bath สวม condenser ใช้ อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เวลา 30 นาที
ถ่ ายสารละลายลงในกรวยแยกขนาด 250 ml. ล้ างสารละลายด้ วยนา้ กลัน่ 100 ml.
21
เติม hexane 50 ml. ปิ ดฝา เขย่ า 30 ครั้ง ปล่ อยแก๊ สออก เขย่ าต่ ออีก 70 ครั้ง แล้ วปล่ อยแก๊ สออก
ทิง้ ไว้ให้ สารละลายเกิดการแยกชั้น 30 นาที
ถ่ ายสารละลายส่ วนล่ างลงในกรวยแยกอันใหม่
เติม hexane 50 ml. ปิ ดฝา เขย่ า 30 ครั้ง ปล่ อยแก๊ สออก เขย่ าต่ ออีก 70 ครั้ง แล้ วปล่ อยแก๊ สออก
ทิง้ ไว้ให้ สารละลายเกิดการแยกชั้น 30 นาที
ถ่ ายสารละลายส่ วนล่ างทิง้
ถ่ ายสารละลายที่สกัดได้ จากกรวยแรกลงสู่ กรวยแยกอันที่สอง
22
เติมนา้ กลัน่ 100 ml. ลงไปในกรวยแยกเพือ่ ล้ างสารละลาย จากนั้นวนสารละลายเบา 10 ครั้ง
ปล่ อยแก๊ สออก
ทิง้ ให้ แยกชั้น 20 นาที
ทาซ้าอีกอย่ างน้ อย 2 ซ้า
หรือล้างจนนา้ มีpHเป็ นกลาง เช็คได้ โดยหยด phenolpthalein ลงไป
จะได้ สารละลายใส
ถ่ ายสารละลายลงในขวดก้ นกลมขนาด 125 ml.
นาไประเหย hexane ออกด้ วยเครื่องระเหยสาร (evaporator) โดยใช้ ความดัน 335 mbar
ที่อณ
ุ หภูมิ 40 องศาเซลเซียส ให้ เหลือสารละลายปริมาณน้ อย
กาจัดนา้ ด้ วย isopropanol , กาจัด isopropanol ด้ วย hexane เติม hexane ซ้า 1 – 3 ครั้ง
แล้ วระเหยสารละลายให้ แห้ ง
23
กาจัด hexane ด้ วย nitrogen gas
เติม mobile phase 4 ml. ลงใน flask
ถ่ ายสารละลายที่ได้ ลงในหลอดทดลอง
นาไป centrifuge ที่ 3000 rpm เป็ นเวลา 10 นาที
ดูดส่ วนใสใส่ ใน vial สี ชา
เก็บไว้ ในทีเ่ ย็น ( ถ้ าไม่ ได้ วเิ คราะห์ ในวันนั้น )
จากนั้นนาสารละลายที่ได้ ไปวิเคราะห์ ด้วย HPLC
24
Mobile
phase
pump
injector
column
detector
Recorder
waste
25
HPLC ที่ใช้ ในห้ องแลป
26
1. การคานวณหาความเข้ มข้ นของStandard Vitamin E
Conc.Vit.E = { [ A292 x 2.778 ] – [ A280 x 1.152 ] – [ A301 x 1.626 ] } x 132
( g / ml. )
2. การคานวณหาค่ าปริมาณVitamin Eในอาหาร 100 g.
ปริมาณVitamin Eในอาหาร 100 g. = ค่าของความเข้ มข้ นจาก print out (g / ml. ) x ค่าFinal Volume ( ml. ) x 100 ( g. )
( g / 100 g. )
นา้ หนักตัวอย่ าง ( g. )
27
การหาค่ า Average
Avr = Sample 1 + sample 2
2
การหาค่ า % Recovery
% Recovery = ค่ าความเข้ มข้ นของ spike ใน flask x 100
ค่ า spike ที่ทราบค่ า
การหาค่ า % Duplicated
% Duplicated = Sample 1 – Sample 2 x 100
Avr
28
บรรณานุกรม
th.wikipedia.org/wiki/วิตามินอี
http://pha.narak.com/topic.php?No=24470
http://www.thaihealthy.org/doctor_talk_detail.php?talk_id_real=61
http://www.vcharkarn.com/varticle/39183
http://www.nutritionthailand.com/nutrition/vitamin/371-tocopherol
กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข ปริ มาณสารอาหารอ้างอิงที่ควร
ได้รับประจาวันสาหรับคนไทย พ.ศ. 2546
http://www.watcharina.com/board/index.php?topic=1185.msg5622
29
30