5. คลินิกสุขภาพเกษตรกร..คุณนัฐวุฒิ แดงสวัสดิ์

Download Report

Transcript 5. คลินิกสุขภาพเกษตรกร..คุณนัฐวุฒิ แดงสวัสดิ์

การจัดบริการคลินิกสุขภาพ
เกษตรกร
ณัฐวุฒิ แดงสวัสดิ์
นักวิชาการสาธารณสุ ขชานาญการ
กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่ าย
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 กรุงเทพฯ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุ ข
ฉีดเช้ า ขายเย็น ใครเป็ นเหยื่อสารพิษฆ่ าแมลง!!!
ทั่วโลกมีการผลิตสารเคมีกาจัดศัตรู พชื ไม่ ต่ากว่ าปี ละ 3
ล้ านตัน ในจานวนนัน้ ประมาณ 1.2 แสนตัน ถูกส่ งเข้ ามา
ขายให้ เกษตรกรไทยใช้ ในนาข้ าว สวนผัก ไร่ ข้าวโพด ไร่ ส้ม
ไร่ ถ่ วั ฯลฯ คิดเป็ นมูลค่ าที่ต้องควักกระเป๋าประมาณ 1.8
หมื่นล้ านบาทต่ อปี
คนส่ วนใหญ่ ร้ ูว่าสารเคมีพษิ เหล่ านีท้ าร้ ายร่ างกายมนุษย์
และสิ่งแวดล้ อม หลายประเทศรณรงค์ อย่ างจริงจังให้
เกษตรกรหันมาทาไร่ นาแบบปลอดสารพิษ
หรือ เกษตรอินทรีย์ แต่ ในประเทศไทย
ดูเหมือนหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องยังขยับ
ไม่ มากพอ ทาให้ ปริมาณการสั่งซือ้
ยาฆ่ าแมลงพุ่งขึน้ เฉลี่ยปี ละ10 %
หรือประมาณ 10 ล้ านกิโลกรัม!!
"ผมไม่ อยากเรียกว่ ายาฆ่ าแมลง หรือ ยาฆ่ าหญ้ า เพราะ
พวกนีไ้ ม่ ใช่ "ยา" การใช้ คาเรียกว่ า ยา สร้ างความเข้ าใจผิด
ทาให้ คิดว่ ายาคือสิ่งที่ดี ควรเรียกพวกมันว่ าสารเคมีพษิ จะ
ดีกว่ า เพราะมันส่ งผลร้ ายให้ คนไทยทัง้ ประเทศ เชื่อว่ าคน
ไทยเกือบ 100 เปอร์ เซ็นต์ ได้ รับผลกระทบจากสารเคมีพิษ
กลุ่มนี ้ เพียงแต่ จะได้ รับแบบทางตรงหรือทางอ้ อม ผมสุ่ม
ตรวจเลือดกลุ่มตัวอย่ างว่ ามีสารกาจัดศัตรูพืชในร่ างกาย
หรือไม่ คาตอบมากกว่ า 50 เปอร์ เซ็นต์ อยู่ระดับเสี่ยงสูงและ
ไม่ ปลอดภัย แต่ ท่ คี นไม่ ค่อยกลัว เพราะสารเคมีเหล่ านีไ้ ม่ ทา
อันตรายทันที มันสะสมก่ อนแล้ วค่ อยออกอาการ คนร่ างกาย
อ่ อนแอจะป่ วยเร็วกว่ า มันแสดงอาการทัง้ แบบเฉียบพลัน
และเรือ้ รัง"
พิษร้ ายของสารกาจัดศัตรูพืชเหล่ านี ้ อาการเบือ้ งต้ นทา
ให้ ระบบทางเดินอาหารผิดปกติ คลื่นไส้ อาเจียน ท้ องเสีย
บางคนจิตใจไม่ ปกติ หงุดหงิดง่ าย ใจร้ อน กระวนกระวาย
ส่ วนมากจะเป็ นกลุ่มเกษตรกรที่สัมผัสสารเคมีโดยตรง แต่ ถ้า
เป็ นคนกินผักกินข้ าวที่ปนเปื ้ อนสารพิษนี ้ จะเกิดผลเป็ น
ระยะยาว จะพบอาการระบบประสาทผิดปกติ โดยเฉพาะ
การเคลื่อนไหวกล้ ามเนือ้ เช่ น กระตุก ชัก และถ้ าสัมผัสและ
สะสมไว้ ในร่ างกายปริมาณมาก จะทาให้ เป็ นมะเร็งในอวัยวะ
ต่ างๆ
เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขระบุ
ว่ า ในปี 2554 ประเทศไทยมีเกษตรกรประมาณ 14 ล้ านคน
ทัง้ หมดเสี่ยงอันตรายจากการทาไร่ นา เพราะต้ องสัมผัส
ใกล้ ชิดกับสารเคมีฆ่าแมลงและฆ่ าหญ้ า ซึ่งมีความเป็ นพิษสูง
ในปี 2552 พบเกษตรกรป่ วยจากพิษสารเคมีเหล่ านีก้ ว่ า
4,700 ราย โดยเพิ่มจานวนคนป่ วยมากกว่ า 10 ปี ที่แล้ วถึง 2
เท่ าตัว
บางพืน้ ที่มีการปลูกผักเยอะมาก ขณะเดียวกันก็มีคน
ป่ วยอาการแพ้ สารเคมีจานวนมากเช่ นกัน สถานีอนามัยแต่
ละแห่ งต้ องรักษาคนไข้ ไม่ ซา้ หน้ าเดือนละ 60 -70 ราย ที่มี
อาการคล้ ายคลึงกัน คือ เวียนหัว หน้ ามืด หายใจไม่ ออก ซึ่ง
ดูออกแพ้ พวกยาฆ่ าแมลง
ในคาแนะนาข้ างกระป๋อง บอกว่ าให้ แต่ งตัวมิดชิด ใส่
หน้ ากาก ใส่ ถุงมือ ต้ องทาตามคาแนะนาอย่ างเคร่ งครัด แต่
หลายคนก็ไม่ ทาตาม เพราะเขาเชื่อว่ า ยิ่งสวมเสือ้ ผ้ าปิ ดหมด
ยิ่งอันตราย เพราะสารเคมีจะอับอยู่ข้างในร่ างกาย เขาต้ อง
ฉีดบ่ อยขึน้ เพราะแมลงดือ้ ยา ถ้ าจะให้ ผักสดสวยงาม
บางครัง้ ฉีดสารเคมีใส่ ผักตอนเช้ าเสร็จ ตอนเย็นเก็บไปส่ ง
ขายเลย ไม่ ได้ ปล่ อยไว้
7-14 วันตามคาแนะนา
เกษตรกรไทยมีพฤติกรรมใช้ สารเคมีไม่ ถูกต้ อง 3
ประการ คือ
1.นิยมใช้ สารเคมีเข้ มข้ นที่มีอันตรายระดับสูง
2.นิยมผสมสารเคมีหลายชนิดในการฉีดพ่ นแต่ ละครัง้
3.ฉีดบ่ อยเกินความจาเป็ นหรือฉีดพ่ นถี่เกินไป
และจากการเก็บข้ อมูลและสัมภาษณ์ เชิงลึกเกษตรกร
จานวน 10 ครอบครั วที่ใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพชื และมีประวัติ
การเจ็บป่ วย ระหว่ างวันที่ 1-31 พฤษภาคม 2554 พบข้ อสรุ ป
เบือ้ งต้ นว่ าทุกครอบครัวล้ วนมีปัญหาด้ านสุขภาพ เช่ น
ครอบครัวที่ 1 สามีผ้ ูฉีดพ่ นสารเคมีมากว่ า 26 ปี เป็ น
โรคพาร์ กินสัน หรือโรคสั่นสันนิบาต
ครอบครัวที่ 2 ภรรยาที่ช่วยฉีดพ่ นสารเคมี เคยเป็ น
โรคตับ มีอาการตัวเหลือง ปั จจุบันเป็ นโรคความดันโลหิตสูง
ครอบครัวที่ 3 ภรรยาเป็ นโรคโลหิตจางอยู่ระหว่ าง
รักษาตัว
ครอบครัวที่ 4 ภรรยาเสียชีวติ แล้ วเมื่อ 3 ปี ที่แล้ ว หลัง
ทางานในไร่ องุ่นที่สามีรับจ้ างฉีดยาฆ่ าแมลง ซึ่ง 3 ปี ก่ อน
หน้ านัน้ แข็งแรงดีทุกอย่ าง แพทย์ วนิ ิจฉัยเป็ นด้ วยโรคไต
เบาหวาน เลือดจาง สามีรับจ้ างฉีดสารเคมีในไร่ องุ่นวันละ
36 ถัง มีอาการอ่ อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจเป็ นโรคตับและ
โรคไต มีอาการเดินไม่ ปกติ
นอกจากสารเคมีเหล่ านีจ้ ะทาให้ เกิดพิษเฉียบพลัน
คือ เวียนหัว หน้ ามืด หายใจไม่ ออก ฯลฯ แล้ ว ยังทาให้
เจ็บป่ วยเป็ นโรคเรือ้ รังด้ วย ซึ่งปั จจุบันยังไม่ สามารถระบุ
สาเหตุของการเกิดโรคได้ อย่ างชัดเจน
เด็กคนนีพ้ กิ ารและเสียชีวิตในเวลาไม่ นาน
เนื่องจากพิษของสารเคมีเอ็นโดซัลแฟน
(ENDOSULFAN) ที่มารดาได้ รับขณะตัง้ ครรภ์
ภาพ : What’s your poison?. Environment
Justice Foundation
เด็กหญิงคนนีพ้ กิ ารเพราะสารเคมีเอ็นโดซัลแฟน
(ENDOSULFAN)
ยาฆ่ าหอยเชอรี่ยอดฮิตของชาวนา ที่มารดาได้ รับขณะตัง้ ครรภ์
ภาพ : What’s your poison?. Environment Justice
Foundation
หนึ่งในเด็กหลายคน ในเมืองเคราลา
ประเทศอินเดียคนป่ วยเป็ นมะเร็ง
เนื่องมาจากอยู่อาศัยในพืน้ ที่
ที่มีการใช้ สารเคมี เอ็นโดซัลแฟน
(ENDOSULFAN) เป็ นระยะเวลา
ที่ยาวนานติดต่ อกัน
ภาพ : What’s your poison?.
Environment Justice
Foundation
แนวทางการดาเนินงาน ของหน่ วยบริการปฐมภูมิ
คัดเลือกพื ้นที่เป้าหมาย
ประเมินสุขภาพทางกายด้ วยแบบสอบถาม
ผลปกติ
ผลตรวจพบความเสี่ยง/ไม่ปลอดภัย
ให้ คาแนะนา&สมุนไพรล้ างพิษ
ส่งต่อเพื่อการรักษาถ้ ามีอาการรุ นแรง
พบความเสี่ยง
เจาะเลือดเกษตรกร
กลุม่ เสี่ยง
ผลปกติ
แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัย :
คลินิกสุขภาพเกษตรกร
คลินิกสุขภาพเกษตรกร
หมายถึง การจัดบริการทางด้ านสุขภาพที่สอดคล้ องกับการ
ได้ รับผลกระทบจากการทางานหรือกรณีปัญหาสุขภาพอื่นๆ
ของเกษตรกร โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ ดูแลสุขภาพเกษตรกร
อย่ างครบวงจรและต่ อเนื่อง
แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัย :
คลินิกสุขภาพเกษตรกร
การดูแลสุขภาพเกษตรกรแบบครบวงจร
หมายถึง การดูแลสุขภาพเกษตรกรอย่ างเป็ นองค์ รวมในทุก
มิตเิ ชื่อมโยงทัง้ ร่ างกาย จิตใจ ครอบครัว สังคม
สภาพแวดล้ อมในการทางานควบคู่กับการดูแลแบบ
ผสมผสานในด้ าน การส่ งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุม
โรคและภัยที่เกิดจากการทางาน และพฤติกรรมเสี่ยงทาง
สุขภาพ การรั กษาพยาบาลเบือ้ งต้ น การฟื ้ นฟูสุขภาพ
แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัย :
คลินิกสุขภาพเกษตรกร
แรงงานในชุมชน
หมายถึง คนไทยอายุ 15 ปี ขึน้ ไป ที่ประกอบอาชีพและมี
รายได้ อาศัยในพืน้ ที่รับผิดชอบของหน่ วยบริการปฐมภูมิ
เช่ น กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อาชีพก่ อสร้ าง อาชีพเสริมสวย
กลุ่มอาชีพวิสาหกิจชุมชน เป็ นต้ น
แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัย :
คลินิกสุขภาพเกษตรกร
การจัดบริการอาชีวอนามัยในหน่ วยบริการปฐมภูมิ
หมายถึง บริการที่จัดให้ กับแรงงานในชุมชน ที่เน้ นการ
ป้องกัน การควบคุมโรคและการเฝ้าระวังสุขภาพ การ
รักษาพยาบาลเบือ้ งต้ น การส่ งต่ อ การฟื ้ นฟูสุขภาพ รวมถึง
การให้ สุขศึกษา คาปรึกษา การประสานและสนับสนุนการมี
ส่ วนร่ วมของครอบครัว ชุมชน อปท. วัด โรงเรียน ในการ
จัดการปั ญหาที่มีผลกระทบต่ อสุขภาพของแรงงานในชุมชน
แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัย :
คลินิกสุขภาพเกษตรกร
หน่ วยบริการปฐมภูมิ
หมายถึง โรงพยาบาลส่ งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) และ
หน่ วยงานบริการปฐมภูมิของโรงพยาบาลชุมชนที่มา
ให้ บริการสุขภาพแบบผสมผสานทัง้ การส่ งเสริมสุขภาพ
ป้องกันและควบคุมปั ญหาที่คุกคามสุขภาพ การ
รักษาพยาบาลและการฟื ้ นฟูสุขภาพเป็ นองค์ รวม เชื่อมโยง
ใกล้ ชิดระหว่ างผู้ให้ บริการ สถานบริการ ชุมชน และ
ครอบครัว
กิจกรรมของคลินิกสุขภาพเกษตรกร
ในหน่ วยบริการปฐมภูมิ ประกอบด้ วย
-ซักประวัตกิ ารทางาน
-ประเมินความเสี่ยงในการทางานโดยใช้ แบบประเมินอย่ าง
ง่ าย เช่ น แบบ นบก.1-56 แบบประเมินความเสี่ยงอาการ
ผิดปกติของระบบโครงร่ างกระดูกและกล้ ามเนือ้
(MSDs-ENVOCC-56)
- ตรวจคัดกรองสุขภาพ
ให้ เกษตรกรที่ทางานสัมผัส
สารเคมีกาจัดศัตรู พชื
กิจกรรมของคลินิกสุขภาพเกษตรกร
ในหน่ วยบริการปฐมภูมิ ประกอบด้ วย
- วินิจฉัยโรคและการบาดเจ็บจากการทางานเบือ้ งต้ น เช่ น
โรคผิวหนังจากการทางาน โรคแพ้ พษิ สารกาจัดศัตรูพชื โรค
กระดูก กล้ ามเนือ้ และโครงร่ าง เป็ นต้ น
- การรักษาพยาบาลเบือ้ งต้ น
- การส่ งต่ อเพื่อการวินิจฉัยโรคเพิ่มเติม หรือการ
รักษาพยาบาล
- บันทึกข้ อมูลการเจ็บป่ วยโรคและการบาดเจ็บจากการ
ทางาน
กิจกรรมของคลินิกสุขภาพเกษตรกร
ในหน่ วยบริการปฐมภูมิ ประกอบด้ วย
- การรายงานโรคและการบาดเจ็บจากการทางาน
- สื่อสารความเสี่ยง รวมถึงการให้ คาปรึกษา และสุขศึกษา
เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน
- ประสานและสนับสนุนการมีส่วนร่ วมของครอบครัว ชุมชน
อปท. โรงเรียนและวัด ในการจัดการปั ญหาที่มีผลกระทบต่ อ
สุขภาพแรงงานในชุมชน
กิจกรรมของคลินิกสุขภาพเกษตรกร
ในหน่ วยบริการปฐมภูมิ ประกอบด้ วย
- สนับสนุน พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขด้ าน
อาชีวอนามัย (อส.อช.) เพื่อช่ วยในการให้ คาแนะนา การ
ปรับปรุ งแก้ ไขสภาพการทางานให้ เหมาะสม
- การสอบสวนโรคในกรณีมีการเจ็บป่ วยด้ วยโรคและการ
บาดเจ็บจากการทางาน ในรายสงสัยแต่ ข้อมูลสนับสนุนการ
วินิจฉัยไม่ เพียงพอ
กลุ่มเป้าหมายที่ให้ บริการสุขภาพ ได้ แก่
- กลุ่มที่ 1 ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพาะปลูก
- กลุ่มที่ 2 แรงงานในชุมชน อาชีพอื่นๆ เช่ นอาชีพขับ
มอร์ เตอร์ ไซด์ รับจ้ าง หาบเร่ แผงลอย รับซือ้ ของเก่ า ปศุสัตว์
ประมง เป็ นต้ น
้ บบประเมินความเสย
ี่ งและ
การใชแ
การรายงานข้อมูลสถานการณ์
นบก.1
แบบประเมินความเสี่ยงในการทางานของเกษตรกรจาก
การสัมผัสสารเคมีกาจัดศัตรู พชื เป็ นเครื่ องมือใช้ การสารวจ
ข้ อมูลความเสี่ยงในการทางานในกลุม่ เกษตรกรโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งในกลุม่ เพาะปลูก ได้ แก่ ทานา ทาสวน ทาไร่
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินระดับความเสี่ยงฯ จากคาตอบของ
เกษตรกรผู้ใช้ หรื อสัมผัสสารเคมีกาจัดศัตรูพืช เกี่ยวกับโอกาสที่
จะได้ รับเข้ าสูร่ ่างกายจากการทางาน พฤติกรรมความปลอดภัย
ในการทางาน และพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ
ผู้ใช้ เครื่องมือ
รพช./รพ.สต./PCU
เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุข
ชุมชน
อสม.
อส.อช.
องค์ ประกอบของแบบประเมินความเสี่ ยงฯ (นบก.1)
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป มีตวั แปรสาคัญได้ แก่ อายุ เพศ อาชีพหลัก ที่อยู่
หน่วยงานที่จดั เก็บข้ อมูล วัน เดือน ปี ที่ประเมิน หมายเลขบัตรประชาชน
ส่ วนที่ 2 ข้ อมูลการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพชื และการปฏิบัติ
ตัวในขณะทางาน ข้ อมูลที่นามาวิเคราะห์หาความเสี่ยง และพฤติกรรม
ทางสุขภาพที่มีผลกระทบต่อสุขภาพในการทางาน โดยนาคาตอบของ
ข้ อมูลความเสี่ยงแต่ละข้ อที่ผ้ ตู อบแบบสอบถามมารวมกัน แล้ วนาคะแนน
ที่ได้ ไปเปรี ยบเทียบเป็ นระดับความเสี่ยง ซึง่ ได้ แบ่งระดับความเสี่ยงเป็ น 3
ระดับคือ
องค์ ประกอบของนบก.1 (ต่ อ)
ระดับความเสี่ยงเล็กน้ อย
ระดับความเสี่ยงปานกลาง
ระดับความเสี่ยงสูง
มีคะแนนรวม 14 - 20 คะแนน
มีคะแนนรวม 21 - 28 คะแนน
มีคะแนนรวม 29 - 42 คะแนน
ส่ วนที่ 3 ข้ อมูลความเจ็บป่ วยหรืออาการผิดปกติท่ เี กิดขึน้
หลังการใช้ หรื อสัมผัสสารเคมีกาจัดศัตรูพชื
ส่ วนที่ 4 สรุ ปผลการประเมินความเสี่ยงต่ อสุขภาพในการ
ทางานเบือ้ งต้ น
องค์ ประกอบของนบก.1 (ต่ อ)
ส่ วนที่ 5 การเจาะเลือดตรวจคัดกรอง โดย มีการระบุเหตุผล
ในการตรวจคัดกรอง เช่น
-มีความเสี่ยงค่อนข้ างสูง - มีความเสี่ยงสูงมาก
-มีความเสี่ยงสูง
- ประสงค์รับบริ การ
ส่ วนที่ 6 การปฏิบัตอิ ่ นื ๆ ได้ แก่ การให้ ความรู้/คาแนะนา สิ่ง
สนับสนุน
การเจาะเลือดตรวจคัดกรอง
การใช้ สมุนไพรล้างพิษ
การล้างสารเคมีตกค้ างในผักผลไม้
Village mapping
Community mapping
Body mapping
แผนการดาเนินงานในเกษตรกร ภายใต้ นโยบายการขับเคลื่อนลดโรค
เพิ่มสุข สาธารณสุขร่ วมใจ เทิดไท้ องค์ ราชัน
ตรวจคัดกรองสุขภาพเบือ้ งต้ นเพื่อประเมิน
ความเสี่ยงโรคจากการประกอบอาชีพ
ลดการใช้ สารเคมีในภาคเกษตร
ประเมินกระดูกและกล้ ามเนือ้
การป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
หัวใจและหลอดเลือด
คลินิกสุขภาพ
เกษตรกร
แบบครบวงจร
ใน รพ.สต.
การจัดประชุมชีแ้ จง
กลุ่มพัฒนาภาคีเครื อข่ าย สคร.ที่1 กรุ งเทพฯ จัดการประชุม
เครื อข่ ายฯ เพื่อชีแ้ จงถ่ ายทอดแนวทางการดาเนินงานคลินกิ
สุขภาพเกษตรกรครบวงจร วันที่ 28 มกราคม 2556 ณ รพ.สต.
บ้ านใหม่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี มีผ้ ูเข้ าร่ วมประชุมรวมทัง้ หมด 27
ท่ าน ประกอบด้ วย นายเสน่ ห์ เกิดนาค สาธารณสุขอาเภอบาง
ใหญ่ นางทิพวิมล ชนะสงคราม สสจ.นนทบุรี นายชิน ขวัญเมือง
รพ.บางใหญ่ นายภูวนัย สังข์ ทอง สสอ.บางใหญ่ นางนันทวัน
พันเจริญ ผอ.รพ.สต.บ้ านใหม่ ร่ วมด้ วยอสม.ต.บ้ านใหม่ และ
เจ้ าหน้ าที่จากสคร.ที่1 กรุ งเทพฯ
การจัดประชุมชีแ้ จง
การจัดประชุมชีแ้ จง