กองทุน FTA กับการพัฒนาศักยภาพข้าว

Download Report

Transcript กองทุน FTA กับการพัฒนาศักยภาพข้าว

การสั มมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง
“กองทุน FTA: เพิม่ ศักยภาพการแข่ งขันขันข้ าวไทยสู่ สากล”
กองทุน FTA กับการพัฒนาศักยภาพสิ นค้ าข้ าว
โดย
นางราตรี พูนพิริยะทรัพย์
ผู้อานวยการส่ วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร
สานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
8 กันยายน 2554
ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น
่ ออกข้าวไทย
มูลค่าการสง
และประเทศผูน
้ าเข้ารายใหญ่ (2553)
ไนจีเรีย
19,984
11.88%
สหร ัฐฯ
13,864
8.24%
โกตดิว ัวร์
10,453
6.21%
แอฟริกาใต้
9,614
5.72%
อิร ัก
7,214
4.29%
รวม
168,193
100%
จีน
6,876
4.09%
อืน
่ ๆ
88,529
52.64%
หน่วย: ล้านบาท
ญีป
่ ่น
ุ
4,882
2.90%
่ งกง
ฮอ
6,777
4.03%
สถานการณ์การผลิตข ้าว
ประเทศไทยมีพ้ืนที่ปลูกข้าวประมาณ 66 -69 ล้านไร่



มีเกษตรกรทานาประมาณ 3.7 ล้านครัวเรื อน
ผลผลิตเฉลี่ย (ปี 2551) ไทย 453 กก./ไร่ เวียดนาม 822 กก./ไร่ อินโดนีเซีย
752 กก./ไร่ พม่า 634 กก./ไร่ มาเลเซีย 584 กก./ไร่ กัมพูชา 438 กก./ไร่
ประเทศไทยส่ งออกข้าวมูลค่าประมาณ 200,000 ล้านบาท/ปี

ผลผลิตข้ าวต่ อไร่ ของประเทศอาเซียน
ประเทศ
2551 (กก./ไร่ )
1. เวียดนาม
2. อินโดนีเซีย
3. พม่า
4. ฟิ ลิปปิ นส์
5. มาเลเซีย
6. ลาว
7. บรู ไน
8. ไทย
9. กัมพูชา
10. สิ งคโปร์
822
752
634
613
584
547
458
453
438
0
เฉลี่ยอาเซียน
638
เมื่อปี 2535 มีการจัดตัง้ AFTA ซึ่งเป็ นการริเริ่มเขตการค้ าเสรีอาเซียน
ปี 2553 ไทย ต้ องลดภาษีนาเข้ าเหลือร้ อยละ 0 และยกเลิกโควตา
ปี 2558 จัดตัง้ เป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปิ ดเสรีการค้ า
บริการ แรงงาน และทุน
แนวทางรองรับการเปิ ดเสรีสินค้ าเกษตร 23 รายการ
(บทบาทภาครัฐ)
ขัน้ ที่ 1 : บริหารการนาเข้ า ณ ด่ านศุลกากร
ขัน้ ที่ 2 : เยียวยาเกษตรกรที่ได้ รับผลกระทบ
(ปรับโครงสร้ างการผลิตให้ สามารถแข่ งขันได้ โดยใช้ เงินสนับสนุนจากกองทุน FTA กษ.)
ขัน้ ที่ 3: ใช้ มาตรการปกป้องพิเศษ
(เพื่อระงับผลกระทบชั่วคราว โดย กรมศุลกากร กรมการค้ าต่ างประเทศ
แล ะสศก. ติดตามและเฝ้าระวัง
การนาเข้ า หากนาเข้ าผิดปกติให้ เสนอคณะกรรมการฯ ที่ดแู ลสินค้ า 23 รายการพิจารณาการเก็บค่ าธรรมเนียม
ปกป้อง => แจ้ ง พณ. และ ก. คลัง => เสนอครม. เพื่อเก็บค่ าธรรมเนียมปกป้อง)
แนวทางการปรั บตัวของเกษตรกร
 เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต
 ลดต้ นทุนการผลิต
 ปรั บปรุ งคุณภาพผลผลิต (สอดคล้ องกับความ
ต้ องการของตลาด)
 ผลิตสินค้ าทีห่ ลากหลายเพื่อลดความเสี่ยง
 แปรรูปเพื่อเพิม่ มูลค่ า หรือเก็บรั กษาได้ นานขึน้
 ปรั บเปลี่ยนอาชีพ
 น้ อมนาปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ
7
พัฒนาคณ
ุ ภาพชีวิตของชาวนา
การบริหารจัดการ เพิม่ ผลผลิตต่ อไร่
ขนส่ งและบริการ
พัฒนา
คุณภาพ สร้ างมูลค่ าเพิม่
ผลิตผล
การพัฒนาการผลิต
เป้ าหมาย
การตลาด
ระหว่ างประเทศ
การรักษาเสถียรภาพราคา
ยุทธศาสตร์ ข้าวไทย
การพัฒนาชาวนา
การจัดระบบตลาด
& พัฒนาผลิตภัณฑ์
พืน้ ที่เพาะปลูกและความต้ องการเมล็ดพันธุ์ข้าวทั้งประเทศ
พืน้ ทีป่ ลูกข้าว
66.5
ล้
า
นไร่
(100
%)
นาปี 57.5 ล้ านไร่
(88 %)
นาดา 24.0 ล้านไร่
7 กก./ไร่
 ใช้ 168,000 ตัน
 เปลีย่ นเมล็ดพันธุ์
ทุก 3 ปี
นาหว่าน 33.5 ล้านไร่
20 กก./ไร่
 ใช้ 670,000 ตัน
เปลีย่ นเมล็ดพันธุ์
ทุก 2 ปี
เมล็ดพันธุ์นาดา
เมล็ดพันธุ์นาหว่าน
56,000 ตัน/ปี
335,000 ตัน/ปี
เมล็ดพันธุ์นาปี
391,000 ตัน/ปี
นาปรัง 9 ล้ านไร่
(12 %)
ใช้ เมล็ดพันธุ์
1.018 ล้ านตัน
เฉลีย่
15.3 กก./ไร่
นาหว่าน
 20 กก./ไร่
 ใช้ 180,000 ตัน
เปลีย่ นเมล็ดพันธุ์ทุกปี
เมล็ดพันธุ์นาปรัง
180,000 ตัน/ปี
ความต้ องการผลิตเมล็ดพันธุ์
571,000 ตัน/ปี
สถานการณ์ด ้านเมล็ดพันธุข
์ ้าว


้ ดพันธุข
ความต ้องการใชเมล็
์ ้าว ปี ละ 1.0 ล ้านตัน
หน่วยงานราชการมีกาลังการผลิตได ้เพียง ปี ละ
100,000 ตัน

เอกชนผลิตโดยไม่มม
ี าตรฐานรองรับ

เกษตรกรบางสว่ นเก็บพันธุข
์ ้าวใว ้ปลูกเอง
ปริมาณเมล็ดข ้าวดีทต
ี่ ้องผลิต
รวม 571,000 ต ัน/ปี
 ราชการ+สหกรณ์+เอกชน 221,000 ตัน
 จากศูนย์ข ้าวชุมชน 350,000 ตัน
∴ ศูนย์ข ้าวชุมชน 7,000 ศูนย์
ต ้องผลิตศูนย์ละ 50 ตัน (เป้ าหมาย)
ขอบเขตศูนย์ละ 8,000 ไร่
ตาบล)
(ประมาณ 1
โครงการเพิม่ ศักยภาพการผลิตข้ าวและสร้ างความเข้ มแข็งให้ ชาวนา
เพือ่ รองรับผลกระทบจากการเปิ ดเสรีการค้ าอาเซียน (AFTA)
วัตถุประสงค์
เพื่อยกระดับผลผลิตข้าว ปรับปรุ งคุณภาพข้าว ลดต้นทุน
การผลิตให้สามารถแข่งขันได้
เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรชาวนาในชุมชน
ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ขา้ วคุณภาพดี และเป็ นศูนย์กลาง
การเรี ยนรู้ในการผลิตข้าวของชาวนา
โครงการเพิม่ ศักยภาพการผลิตข้ าวและสร้ างความเข้ มแข็งให้ ชาวนา
เพือ่ รองรับผลกระทบจากการเปิ ดเสรีการค้ าอาเซียน (AFTA)
พัฒนาศูนย์ ข้าวหลัก 5 ศูนย์ และศูนย์ ข้าวชุ มชนเครือข่ าย 50 ศูนย์ รวม
55 ศูนย์ ในพืน้ ที่ 5 จังหวัด คือ สุ รินทร์ อุดรธานี อานาจเจริญ
นครสวรรค์ และอ่างทอง
จัดตั้งหมู่บ้านต้ นแบบการลดต้ นทุน ในพืน้ ทีน่ าร่ อง 6 จังหวัด คือ
สุ รินทร์ อุดรธานี อานาจเจริญ นครสวรรค์ อ่างทอง และ
นครศรีธรรมราช
ระยะเวลาดาเนินโครงการ 3 ปี
งบประมาณ 128.91 ล้านบาท
(จ่ ายขาด 101.41 ล้านบาท หมุนเวียน 27.50 ล้านบาท)
วิธด
ี าเนินงาน
การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ขา้ วพันธุ์ดี
จัดเวทีชุมชน
จัดทาแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ดี
• ศูนย์ละ 200 ไร่
• สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ขา้ ว ศูนย์ละ 3 ตัน
การตรวจสอบและรับรองคุณภาพเมล็ดพันธุ์ขา้ ว
• GAP Seed
การติดตามให้คาแนะนาทางวิชาการ
สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็ น
• โรงเก็บเมล็ดพันธุ์
• ลานตากข้าว
• เครื่ องคัดเมล็ด เครื่ องวัดความชื้น
สนับสนุนเงินยืมสาหรับรับซื้ อเมล็ดพันธุ์คืนจากสมาชิก ศูนย์ละ 500,000 บาท
วิธีดาเนินงาน
การพัฒนาศักยภาพชาวนา และองค์กรชาวนาให้เข้มแข็ง
การสร้างศูนย์เรี ยนรู้การผลิตข้าวชุมชน
• สร้างชาวนาชั้นนาศูนย์ละ 5 คน
• สร้างชาวนามืออาชีพ ศูนย์ละ 50 คน
• สร้างชาวนารุ่ นใหม่ ศูนย์ละ 25 คน
• ถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรู ป การสร้างมูลค่าเพิม่
• พัฒนาระบบการเตือนภัยธรรมชาติและศัตรู ขา้ ว
• จัดตั้งศูนย์บริ การชาวนา และเครื อข่าย
• จัดตั้งหมู่บา้ นต้นแบบลดต้นทุนการผลิต
• จัดทาสื่ อต่างๆ
• ส่ งเสริ มการใช้เทคโนโลยีลดต้นทุน
• จัดตั้งศูนย์เรี ยนรู ้และบริ การเครื่ องจักรกล
พัฒนาองค์กรชาวนาให้เข้มแข็ง
• ตั้งคณะกรรมการศูนย์ๆ ละ 5 คน
• จัดตั้งแกนนาชาวนาจากชาวนาชั้นนา ศูนย์ละ 1 คน
ประโยชน์ที่ได้รับ
มีเมล็ดพันธุ์ขา้ วดีในชุมชนเพิ่มขึ้น ปี ละ 2,750 ตัน กระจายในชุมชน
ปี ละ 180,000 ไร่
เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ 1,100 ครัวเรื อน
มีรายได้ครัวเรื อนละ 5,000 บาท/ปี รวม 5.5 ล้านบาท/ปี
ผลผลิตเพิ่มขึ้น ปี ละ 14,400 ตัน (ไร่ ละ 80 กิโลกรัม) คิดเป็ นมูลค่า
140 ล้านบาท
ต้นทุนในการผลิตข้าวลดลง ตันละ 1,000 บาท
โครงการผลิตเมล็ดพันธุข
ณภาพดีของสหกรณ ์
์ าวคุ
้
เพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถการแขงขั
่ นขาวไทยสู
้
่
สากล
17
โครงการผลิตเมล็ดพันธุข
ณภาพดีของสหกรณ ์
์ าวคุ
้
เพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถการแขงขั
่ นขาวไทยสู
้
่ สากล
• วัตถุประสงค ์
– สนับ สนุ น ให้สหกรณการเกษตร
เป็ นศูน ย กลางการ
์
์
ผลิตเมล็ดพันธุข
์ ้าวคุณภาพดี
– ส่งเสริมเกษตรกรปลูก พืชตระกูล ถั่ว สลับ กับ การทา
นา
– เพือ
่ ให้กับเกษตรกรมีความรู้ในการผลิตข้าวคุณภาพดี
ไดมาตรฐาน
ลดการใช้สารเคมี
้
– เพือ
่ ให้เกษตรกรมีความสามารถในการแขงขั
่ น
18
โครงการผลิตเมล็ดพันธุข
ณภาพดีของสหกรณ ์
์ าวคุ
้
เพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถการแขงขั
่ นขาวไทยสู
้
่ สากล
• เป้าหมาย
– พืน
้ ทีด
่ าเนินการในจังหวัดพิษณุ โลก
สุโขทัย และ
จังหวัดพิจต
ิ ร
– พืน
้ ทีก
่ ารผลิตเมล็ดพันธุขั
้ พันธุจ์ าหน่าย (R3) ราย
์ น
ละ 10 ไร่ จานวน 360 ราย รวมพืน
้ ทีป
่ ลูก
3,600 ไร่
• ระยะเวลาด
าเนิ
น
การ
3
ปี
(2554/55
–
– ผลิตเมล็ดพันธุข
าว
ได้ 3,402 ตัน/ปี
้
์
2556/57)
• งบประมาณ
55.88
ลานบาท
้
– จายขาด
8.41
ลานบาท
่
้
– เงินยืมปลอดดอกเบีย
้
47.17 ลานบาท
้
19
โครงการผลิตเมล็ดพันธุข
ณภาพดีของสหกรณ ์
์ าวคุ
้
เพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถการแขงขั
่ นขาวไทยสู
้
่ สากล
วิธีดาเนินการ
ส่ งเสริ มการผลิต
เมล็ดพันธุ์
ผลิตเมล็ดพันธุ์
คุณภาพดี
-ถ่ายทอดเทคโนโลยี/ศึกษาดูงาน การ
ผลิตเมล็ดพันธุ์
-สนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกร
ที่เข้าร่ วมโครงการ ไร่ ละ 750 บาท/
รอบการผลิต
-จ้างเจ้าหน้าที่เพื่อติดตามให้
คาแนะนาเกษตรกร
-สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนสาหรับ
การผลิตเมล็ดพันธุ์ให้เกษตรกรราย
ละ 30,000 บาท
-สหกรณ์รวบรวมเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตได้
จากสมาชิก เพื่อนาไปปรับปรุ งใน
โรงงานปรับปรุ งเมล็ดพันธุ์
-สหกรณ์ควบคุมและตรวจสอบ
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้ได้มาตรฐาน
-พัฒนาตราสิ นค้า และจัดทาบรรจุ
ภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน
ส่ งเสริ มการปลูก
ถัว่ สลับการทานา
-สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ถวั่ ไร่ ละ 700
บาท/ฤดูการผลิต เพื่อพักดินตัดวงจร
โรคแมลง
-ส่งเสริ มให้ลดการใช้น้ า โดย
เกษตรกรทานาจากปี ละ 3 ครั้ง เหลือ
ปี ละ 2 ครั้ง
20
โครงการผลิตเมล็ดพันธุข
ณภาพดีของสหกรณ ์
์ าวคุ
้
เพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถการแขงขั
่ นขาวไทยสู
้
่ สากล
• ผลทีค
่ าดวาจะได
รั
่
้ บ
– เกษตรกรจะสามารถลดตนทุ
่ ขึน
้
้ นการผลิต ผลผลิตเพิม
ผลิตข้าวทีม
่ ค
ี ุณภาพ
– สหกรณจะเป็
นศูนยกลางการผลิ
ตและจาหน่ายและการ
์
์
กระจายพันธุข
ม
่ ค
ี ุณภาพดีไดมาตรฐาน
้
้
์ าวที
– การผลิตขาวของไทยมี
ศักยภาพในการผลิตสูงขึน
้
้
ผลผลิตเฉลีย
่ สูงขึน
้ ผลิตขาวได
คุ
้
้ ณภาพมาตรฐาน
21
ระบบการผลิตข้าวคุณภาพ
ตลาด
ื้ สูง
กาล ังซอ
ร ับสม ัคร/
้ ทะเบียน
ขึน
Niche Market
ั
สร้างตราสญล
ักษณ์
Q-Brand Rice
ระบบการผลิต
เมล็ดพ ันธุ ์
Q-Seed
เครือข่าย
ศูนย์ขา้ วชุมชน
ตรวจสอบ
ตรวจสอบ
& ร ับรอง GAP
Q-Farm
& ร ับรองโรงส ี
ผลผลิตคุณภาพ
Q-Grain
Q-Seed to Q-Brand Rice
การสร้างตราสัญลักษณ์
GMP Mill
แนวคิด
โครงการส่ งเสริมและพัฒนาการผลิตข้ าวสารคุณภาพมาตรฐาน
ขัน้ ตอน
สถาบันเกษตรกร
เข้ าร่ วมโครงการ
เป้าหมาย
Q-Seed
โครงการ
/กิจกรรม
พัฒนา&ถ่ ายทอดความรู้
เกษตรกร เป้าหมาย
- ระบบการผลิตข้ าว GAP
- การรวมกลุม่ และระบบ
ควบคุมภายในของกลุม่
- กรมส่ งเสริมการเกษตร
หน่ วยงาน -กรมส่ งเสริมสหกรณ์
รับผิดชอบ - มกอช.
การปลูกข้ าวใช้
ระบบการผลิต
ทีด่ ี (GAP)
Q-Farm
ผลผลิต
ไร่ นาด้ วยเทคโนโลยีและ
ข้ าวเปลือกคุณภาพ
มาตรฐาน
Q-Grain
ตรวจสอบและรับรองระบบ
การผลิตข้ าว GAP
- รับรองแบบรายเดี่ยว
- รับรองแบบกลุ่ม
- กรมการข้ าว
-มกอช.
โรงสี
ทีม่ ีระบบการ
แปรสภาพข้ าวเปลือก
ทีไ่ ด้ มาตรฐาน
Q-Process
ข้ าวสาร
Q- mark
Q-Product
พัฒนา&ถ่ ายทอดความรู้
โรงสี สหกรณ์การเกษตร
- ระบบจัดการ GMP
- การบริ หารเงินทุนหมุนเวียน
พัฒนาและส่ งเสริมการตลาด
- ส่ งเสริ มการตลาด
- จ้างนักการตลาดมืออาชีพ
- ส่ งเสริ มการสร้าง Brand
ข้าวสาร Q
-กรมส่ งเสริมสหกรณ์
-กรมการข้ าว
- มกอช.
- กรมส่ งเสริมสหกรณ์
- กรมส่ งเสริมการเกษตร
- กรมการข้ าว
- มกอช.
กองท ุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ
24
กองท ุนปรับโครงสร้างการผลิต
ภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
การแข่งขันของประเทศ
วิสยั ทัศน์
สร้างขีดความ
สามารถในการ
แข่งขันให้กบั
สินค้าเกษตร
วัตถ ุประสงค์
- เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
ปฏิร ูปผลิตผลทางการเกษตร
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
และพัฒนาค ุณภาพสินค้าเกษตร
- เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม
สินค้าเกษตร
- เพื่อช่วยเหลือให้เกษตรกร
ปรับเปลีย่ นจากการผลิตสินค้า
ที่ไม่มีศกั ยภาพสูส่ ินค้าที่มีศกั ยภาพ
ตัง้ ขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี
เมื่อ 20 กรกฎาคม 2547
การสนับสน ุน
- สนับสน ุนปัจจัยการผลิต
และเทคโนโลยี
- สนับสน ุนงานวิจยั และพัฒนา
- ให้ความร ้ ู ฝึกอบรม
และด ูงาน
- ให้การสนับสน ุนด้าน
โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร
- ปรับเปลี่ยนอาชีพ
25
องค์กรที่รบั ผิดชอบ
คณะกรรมการบริหารกองท ุนปรับ
- พิจารณาอน ุมัติโครงการที่เกษตรกร
โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ อานาจหน้าที่
หน่วยงานของรัฐหรือภาคเอกชนเสนอขอรับ
เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน
การสนับสน ุน
ของประเทศ
- กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีใช้เงินกองท ุน ติดตาม
ผลการดาเนินงานของโครงการที่ได้รบั อน ุมัติ
- ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
คณะอน ุกรรมการกลัน่ กรองโครง
- กาหนดมาตรการหรือกรอบโครงการ พิจารณา
การเสนอขอรับเงินสนับสน ุนกองท ุน อานาจหน้าที่
กลัน่ กรองความเหมาะสมของโครงการ
ปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
- ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริหาร
กองท ุนฯมอบหมาย
คณะอน ุกรรมการประชาสัมพันธ์
โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ อานาจหน้าที่
เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน
ของประเทศ
- กาหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์กองท ุนปรับ
โครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
- ให้ความเห็นชอบการจัดทาแผนประชาสัมพันธ์
โครงการต่างๆ
- เสนอแนะการเลือกใช้สื่อต่างๆอย่างครบวงจร
เพื่อกระจายข่าวสาร
26
ขัน้ ตอนการกากับดูแลการใช้ เงินกองทุนปรั บโครงสร้ างการผลิตภาคเกษตร
1
แก้ ไข
ปรั บปรุ ง
2
เกษตรกร
หน่ ว ยงานของ
รัฐ ภาคเอกชน
ไม่ เห็นชอบ
จัดทาโครงการ
ตามหัวข้อเค้า
โครงข้อเสนอ
โครงการ
7
เสนอ
ผ่ าน
ไม่ ผ่าน แก้ ไข
เสนอคณะกรรมการ
บริ ห า ร ก อง ทุ น ปรั บ เห็นชอบ
โครงสร้ างฯ เพื่ออนุมัติ
โครงการ
เห็นชอบ
ส า นั ก ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
การเกษตร จัด สรรเงิ น เป็ น
รายปี ตามแผนปฏิบตั ิงาน/
แผนการใช้ เงิน
เสนอ
หน่ วยงานที่รับผิดชอบ
ผ่ าน
ต า ม ส า ย ง า น เ ป็ น
หน่ วยงานผูร้ ั บผิดชอบ
โครงการ
6
ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร
กลั่ น กร องฯ พิ จ า ร ณา
ค ว า ม เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ข อ ง
โครงการ
8
3
ไม่ ผ่าน แก้ ไข
ส านั ก งานเศรษฐกิ จ
การเกษตร รวบรวม
ตรวจสอบวิ เ คราะห์
ความเป็ นไปได้ ของ
โครงการ
5
ส า นั ก ง า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร เ ก ษ ต ร เ ชิ ญ
ผ่ าน หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ องภายในส านั ก งาน
เศรษฐกิ จ การเกษตรและกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ รวมทัง้ ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่
เกี่ ย วข้ อง พิ จ ารณาความเป็ นไปได้ ของ
โครงการ
9
อนุมตั ิ
4
สานักงานเศรษฐกิ จการเกษตร
ติดตามการดาเนินงาน
การ
ใ ช้ จ่ า ย เ งิ น แ ล ะ ร า ย ง า น
คณะกรรมการบริ หารกองทุน
หลักเกณฑ์ การพิจารณาโครงการ
 เป็ นโครงการที่เสนอ โดยเกษตรกร สถาบันเกษตรกร หรือ
องค์ กรเกษตรกรและภาคเอกชน ซึ่งต้ องได้ รับผลกระทบ
โดยตรงหรือโดย อ้ อมจากการเปิ ดเสรีทางการค้ า
 หากเป็ นเกษตรกรต้ องเสนอในนามของสถาบันเกษตรกรหรือ
องค์ ก รเกษตรกรที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จากส่ วนราชการ สถาบั น
เกษตรกระและภาคเอกชนต้ องเสนอโครงการผ่ านส่ วนราชการหรื อ
หน่ วยงานของรัฐที่รับผิดชอบตามสายงาน
 กรณีโครงการ งาน หรือกิจกรรมที่เสนอโดยหน่ วยงานของรัฐ
ต้ องเป็ นโครงการ งานหรือกิจกรรมที่ดาเนินการปรับโครงสร้ าง
การผลิตเพือ่ ลดผลกระทบจากการเปิ ดเสรีทางการค้ าและเป็ น
โครงการที่เกิดจากความต้ องการหรือการมีส่วนร่ วมของเกษตรกร
 เป็ นโครงการที่มีศักยภาพทั้งในด้ านการผลิตและการตลาด
 หากเป็ นโครงการวิจัยต้ องเป็ นการวิจัยประยุกต์ หรือวิจัยด้ าน
การตลาด ที่ให้ ผลการวิจัยไม่ เกิน 1 ปี
 กรณีเป็ นโครงการ หรือกิจกรรม ที่จะไปทดแทนกิจกรรมเดิม
จะต้ องให้ ผลตอบแทนไม่ น้อยกว่ ากิจกรรมเดิม
 เป็ นโครงการที่มีแนวทางปรับปรุงประสิ ทธิภาพการผลิต ที่จะ
ช่ วยลดต้ นทุนการผลิตให้ สามารถแข่ งขันได้
28
กรอบและเงื่อนไขการสนับสน ุนเงิน
เงินจ่ายขาด ให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้
ค่าปัจจัยการผลิตในกรณีทดลอง/สาธิต/นาร่อง
ค่าใช้จ่ายต่างๆ สาหรับงานวิจยั ต้องเป็นการวิจยั ประยุกต์ (Applied Research)
หรือการวิจยั ด้านการตลาด โดยมีผลวิจยั ในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี และต้องไม่เป็นโครงการ
วิจยั ขัน้ พื้นฐาน (Basic Research)
ค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี อาทิ การฝึกอบรม การสัมมนา การศึกษา
ด ูงาน
ค่าใช้จ่ายดาเนินงานหรือค่าบริหารโครงการของหน่ายง
ที่คณะกรรมการบริหารกองท ุนกาหนด หรือตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ร้อยละ 3 ของงบประมาณ
โครงการ
ค่าใช้จ่ายต่างๆ นอกเหนือจากที่ระบ ุข้างต้น ให้อยูใ่ นด ุลยพินิจของคณะกรรมการ
บริหารกองท ุน
29
กรอบและเงื่อนไขการสนับสน ุนเงิน (ต่อ)
เงินหมุนเวียนให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้
●การช่วยเหลือสาหรับโครงการ ซึ่งได้รบั ผลกระทบจากการเปิ ดเสรีทางการค้า
อันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ
●การช่วยเหลือสาหรับโครงการที่รเิ ริม่ ใหม่ รวมทัง้ กรณีจงู ใจให้เกิดการผลิต
หรือเปลีย่ นแปลงการผลิต
●ค่าใช้จ่ายที่สนับสน ุนได้แก่
-ค่าลงท ุนต่างๆ อาทิ ค่าก่อสร้างโรงเรือน/โรงงาน ค่าเครือ่ งมือ อ ุปกรณ์
-ค่าใช้จ่ายหมุนเวียนในการผลิต
●กรณีกย้ ู ืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองท ุนจะชดเชย
ดอกเบี้ยให้ทงั้ หมด
●วงเงินให้ยืมและกาหนดการชาระคืนให้เป็ นไปตามลักษณะการดาเนินงาน/
ความจาเป็ นของแต่ละโครงการ
เงินยืมคิดดอกเบี้ย ให้เฉพาะโครงการหรือกิจกรรมที่ได้รบั ผลตอบแทนคม้ ุ ค่าการลงท ุน
โดยวงเงินให้ยืม กาหนดการชาระคืน และอัตราดอกเบี้ยให้เป็ นไปตามมติคณะกรรมการ
บริหารกองท ุนฯ
30
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสน ุนจากกองท ุนฯ
ชื่อโครงการ
ชื่อเรือ่ งของโครงการที่เสนอขอรับเงินสนับสนนุ จากกองท ุนฯ
เจ้าของโครงการ หน่วยงานของรัฐ (กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีฐานะ
เป็ นกรมและรัฐวิสาหกิจ) ภาคเอกชน (สถาบัน องค์กรนิติบ ุคคลที่
ดาเนินการด้านเกษตร)
หลักการและเหต ุผล แสดงถึงเหต ุผลและความจาเป็นที่ตอ้ งจัดทาโครงการเพื่อลด
ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (FTA AFTA WTO ฯลฯ) ซึ่งต้อง
ชี้แจงให้ชดั เจนว่าเมื่อเปิดเสรีทางการค้าแล้วมีผลทาให้มีการนาเข้า
สินค้านัน้ จากประเทศที่ทาข้อตกลงทางการค้านับตัง้ แต่วนั ลงนาม
เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงไร หากไม่ดาเนินการช่วยเหลือจะมีผลกระทบ
ต่อเกษตรกรอย่างไร
วัตถ ุประสงค์
แสดงถึงจดุ มุง่ หมายของการดาเนินโครงการว่าทาเพื่ออะไร
สามารถแก้ไขปัญหาอะไร
วิธีดาเนินการ
แสดงถึงรายละเอียดของขัน้ ตอนการดาเนินงานในแต่ละกิจกรรม
ของโครงการ (กรณีระยะเวลาดาเนินโครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยก
กิจกรรมเป็นรายปี)
31
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับการสนับสน ุนมาจากกองท ุนฯ (ต่อ)
เป้าหมาย/ขอบเขต
การดาเนินงาน
ระยะเวลาโครงการ
ระยะเวลาดาเนินการ
งบประมาณ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
ระบ ุถึงจานวน/ปริมาณ/กลมุ่ พื้นที่ที่ตอ้ งการดาเนินการ
ในโครงการ
แสดงถึงระยะเวลาที่กองท ุนฯ สนับสน ุนงบประมาณ
แสดงถึงจานวนระยะเวลาในการดาเนินการ เริม่ ต้นตัง้ แต่ปีไหน
สิ้นส ุดปี ไหน (รวมระยะเวลาชาระคืนเงินหมุนเวียน หากมีการ
ขอสนับสน ุนเป็ นเงินหมุนเวียนด้วย)
แสดงถึงรายละเอียดของงบประมาณแต่ละหมวดในแต่ละ
กิจกรรมตามวิธีการดาเนินงาน (กรณีระยะเวลาดาเนิน
โครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยกงบประมาณเป็นรายปี ) และ
แจกแจงงบประมาณเป็นงบเงินจ่ายขาดและงบเงินหมุนเวียน/
เงินยืมและต้องระบ ุเงื่อนไขและแผนการคืนเงินให้ชดั เจน
แสดงถึงผลของการดาเนินโครงการเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ช่วย
ลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าอย่างไรบ้าง ใคร
เป็ นผูไ้ ด้รบั และลดผลกระทบได้ในปริมาณมากน้อยเพียงใด
สมควรแสดงเป็ นตัวเลขเชิงปริมาณ
32
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
ดาเนินการช่ วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิตสิ นค้ าที่ได้ รับผลกระทบจาการเปิ ดเสรีการค้ า จานวน 7 สิ นค้ า 14 โครงการ งบประมาณ
รวม 637.33 ล้ านบาท (จ่ ายขาด 430.62 ล้ านบาท หมุนเวียน 206.71 ล้ านบาท ) ได้ แก่ โคเนือ้ โคนม สุ กร ชา ปาล์ มนา้ มัน
กาแฟ และข้ าว รายละเอียด ดังนี้
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
1. โครงการคัดเลือกพ่อพันธุ์
กาแพงแสนเพื่อใช้ผลิตน้ าเชื้อ
(ธันวาคม 2550- ธันวาคม 2554)
46.26
1. ดาเนินการคัดเลือกแม่พนั ธุ์ลูกผสมบราห์มนั จากเกษตรกรจานวน
8,103 ตัว คิดเป็ นร้อยละ 81.03 ของเป้ าหมาย 10,000 ตัว
2. ดาเนินการผลิตน้ าเชื้อแช่แข็งจากโคพ่อพันธุ์กาแพงแสน ได้ แล้ว
13,415 โด๊ส จากเป้ าหมาย 20,000 โด๊ส หรื อคิดเป็ นร้อยละ 67.08
3. เกษตรกรมีค่าใช้จ่ายในการผสมเทียมลดลง 400 บาท/ครั้ง หรื อร้อย
ละ50 (เดิม 800 บาท เหลือ 400 บาท)
4. เกษตรกรขายโคกาแพงแสน อายุ 2 ปี ได้รายได้สูงกว่าโคพันธุ์
ลูกผสมบราห์มนั เฉลี่ย 12,500 บาท/ตัว (กาแพงแสน 30,000 บาท
ลูกผสมบราห์มนั 17,500 บาท)
5. หลังจากเสร็ จสิ้ นโครงการมีมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิม่ ขึ้น 1,395 ล้านบาท
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
2. โครงการจัดตั้งตลาด
กลางโคเนื้อพันธุ์
กาแพงแสน
(ธันวาคม 2550ธันวาคม 2553)
14.77
-ดาเนินการก่อสร้างเสร็ จแล้วเมื่อเดือน ต.ค.52
-จดทะเบียนเพื่อรับรองโคพันธุ์กาแพงแสนแล้ว 122 ตัว
-คัดโคเข้าสู่ ตลาดเพื่อจาหน่ายแล้ว 110 ตัว
-หลังจากเสร็ จสิ้ นโครงการคาดว่าทาให้มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนโคไม่ต่ากว่า
ปี ละ 2,400 ตัว คิดเป็ นมูลค่าไม่นอ้ ยกว่า 72 ล้านบาท
3. โครงการฝึ กอบรมเชิง
ปฏิบตั ิการด้านโคเนื้อ
(ธันวาคม 2550 ธันวาคม 2554)
20.24
-ดาเนินการอบรม 4 หลักสู ตรคือ 1.การเลี้ยงโคเนื้อ 2. การผสมเทียม
โค 3. ความปลอดภัยของเนื้อโคและระบบการตรวจสอบย้อนกลับ
และ 4.การเลี้ยงโคเนื้อระยะสั้น
-มีเกษตรกรเข้ารับการฝึ กอบรมแล้ว จานวน 2,517 คน จากเป้ าหมาย 2,456
คน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 102.48
-เกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมร้อยละ 86.43 ได้นาความรู ้ไปถ่ายทอดต่อ
-เกษตรกรร้อยละ 58.67 นาความรู ้ที่ได้รับจากการอบรมไปปฏิบตั ิใช้
งานจริ ง โดยมีการนาโคไปฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 และมีอตั ราการ
ผสมเทียมติดเฉลี่ย 1 ครั้ง/ตัว (จากเดิม 2 ครั้ง/ตัว)
34
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
4. โครงการลดต้นทุนและ
ปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการเลี้ยง
โคนมด้วยวิธีปฏิบตั ิได้และเห็น
ผลจริ ง
(มกราคม 2552-มกราคม 2557)
43.76
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
-ได้ดาเนินการจัดจ้างที่ปรึ กษามาทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษาสมาชิก
สหกรณ์ผเู้ ลี้ยงโคนมนาร่ อง 20 สหกรณ์ เรื่ องการพัฒนา
ประสิ ทธิภาพ และลดต้นทุนการผลิต การบริ หารจัดการฟาร์ม พบว่า
1. เกษตรกรร้อยละ 98 ได้รับการตรวจเยีย่ มฟาร์มและดูแลสุขภาพ
สัตว์จากทีมที่ปรึ กษา
2. เกษตรกรร้อยละ 74 ได้รับการอบรมจากทีมที่ปรึ กษาและเกษตรกร
ร้อยละ 68 มีการจัดทาบัญชีฟาร์ม จากเดิมซึ่งไม่เคยจัดทา
2. เกษตรกรทั้งหมดมีการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในฟาร์ม
3. คาดว่าเมื่อสิ้นสุดโครงการ
3.1 เกษตรกรขายน้ านมดิบได้ราคาสูงกว่าท้องตลาดเพราะมีคุณภาพ
น้ านมดิบสูงกว่า เนื่องจากจานวนเซลล์เม็ดเลือดขาวลดลง เหลือไม่
เกิน 300,000 เซลล์/มล. ปริ มาณของแข็งรวมไม่นอ้ ยกว่า 12.5%
และจานวนจุลินทรี ยล์ ดลงเหลือไม่เกิน 300,000 โคโลนี/มล.
3.2 ระยะเวลาการผสมติดลดลงจาก 180 วัน เหลือ 140 วัน
3.3 ช่วงห่างการให้ลูกเหลือไม่เกิน 420 วัน
3.4 สัดส่วนแม่โครี ดนมต่อแม่โคแห้งนม 75:25
3.5 สัดส่วนแม่โคนมต่อฝูงโคนมเท่ากับ 60:40
35
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
5. โครงการเพิ่มประสิ ทธิภาพ
การผลิต ลดต้นทุนการผลิต
เพิ่มมูลค่าโคนม และผลิตภัณฑ์
นมของสหกรณ์โคนมบ้านบึง
จากัด
(พฤศจิกายน 2551- พฤศจิกายน
2557)
8.27
1. สหกรณ์สามารถรวบรวมน้ านมดิบจากสมาชิกที่เข้าร่ วมโครงการได้
7.36 ตัน/วัน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 80 ของเป้ าหมาย 9.2 ตัน/วัน
2. สหกรณ์มีกาไรจากการแปรรู ปน้ านมดิบเป็ นไอศกรี มเฉลี่ย 203,740 บาท
และมีกาไรจากการแปรรู ปเนื้อโคนมเพิ่มขึ้น 1.33 ล้านบาท/ปี
3. เกษตรกรได้รับปันผลจากกาไรในอัตราร้อยละ 5
6. โครงการเพิ่มประสิ ทธิภาพ
การผลิตและเพิ่มมูลค่าสุ กรของ
ชุมนุมสหกรณ์การปศุสัตว์ภาค
ตะวันออก จากัด
(มิถุนายน 2552-มิถุนายน 2555)
29.88
-ดาเนินการก่อสร้างศูนย์ผลิตอาหารสัตว์และจาหน่ายเนื้อสุ กร เสร็ จแล้ว
เมื่อเดือน ก.พ.53
-ดาเนินการฝึ กอบรมการแปรรู ปเนื้อสุ กร และการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการ
เลี้ยงสุ กรแก่เกษตรกรแล้ว จานวน 640 ราย
-กิจกรรมอื่นๆ อยูร่ ะหว่างดาเนินการ เนื่องจากโครงการเพิ่งเริ่ มดาเนินการ
ช่วงปลายปี 2552
36
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2553)
โครงการ
7. โครงการปรับโครงสร้าง
สิ นค้าชา
( กุมภาพันธ์ 2551 กุมภาพันธ์ 2557)
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
6.82
1. เกษตรกรได้รับการอบรม GAP 178 ราย และได้รับการรับรองแปลง GAP
แล้ว 171 ราย
2. จัดทาศูนย์เรี ยนรู ้การผลิตชาอินทรี ยใ์ นพื้นที่ 20 ไร่
3. หลังมีโครงการ ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ เพิ่มขึ้น
- ชาอัสสัมมีผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 376.84 กก./ไร่ เป็ น 409.61 กก./ไร่
เพิ่มขึ้น 32.77 กก./ไร่
-ชาจีนมีผลผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 466.15 กก./ไร่ เป็ น 492.25 กก./ไร่
เพิ่มขึ้น 26.10 กก./ไร่
4. เกษตรกรมีรายได้จากชาอัสสัมเพิ่มขึ้น 268 บาท/ไร่ และจากชาจีน 634
บาท/ไร่
5. เกษตรกรขายชาอัสสัมได้ราคาเพิม่ ขึ้นจาก 80 บาท/กก. เป็ น 120 บาท/กก.
และชาจีนอู่หลงจาก 400 บ./กก. เป็ น 800 บ./กก.
37
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
8. โครงการเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพการผลิต
ปาล์มน้ ามัน
(ธันวาคม 2550 –
ธันวาคม 2554)
19.85
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
1. จัดอบรมเกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มน้ ามันแล้วจานวน 23,172 ราย ร้อยละ 116 จาก
เป้ าหมาย 20,000 ราย
2. เกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรม
2.1 เกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมที่มีสวนปาล์มอยูแ่ ล้ว ร้อยละ 96 มีการ
นาความรู ้ไปปฏิบตั ิ
2.2 เกษตรกรรายใหม่ที่เข้ารับการอบรม ร้อยละ 63 มีการนาความรู ้ไป
ใช้ในการทาสวนปาล์ม
3. ทาให้ผลผลิตเฉลี่ยปาล์มน้ ามันของเกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมเพิ่มขึ้น
จาก 2,430 เป็ น 3,240 กก./ไร่ เพิ่มขึ้น 810 กก./ไร่
4. ต้นทุนการผลิตปาล์มน้ ามันของเกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมลดลงจาก
1,715 บาท/ตัน เป็ น 1,340 บาท/ตัน ลดลง 375 บาท/ตัน
5. รายได้สุทธิของเกษตรกรผูเ้ ข้ารับการอบรมเพิ่มขึ้น 3,064 บาท/ไร่ (ราคา
ปาล์มน้ ามันก่อนเริ่ มโครงการ อยูท่ ี่ 3.57 บ./กก. ช่วงที่ทาการสารวจราคา
ปาล์มน้ ามันอยูท่ ี่ 3.65 บ./กก. สารวจ ณ ปี 2552)
38
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
9. โครงการปรับโครงสร้าง
สิ นค้ากาแฟแบบครบวงจร
( ธันวาคม 2552 –
ธันวาคม 2558)
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
54.44
1. อยูร่ ะหว่างดาเนินการฝึ กอบรมถ่ายทอดความรู ้การเพิ่มประสิ ทธิภาพการ
ผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟ โดยการฟื้ นต้นทาสาว
2. คาดว่าเมื่อสิ้ นสุ ดโครงการ
2.1 ผลผลิตของผูป้ ลูกกาแฟแปลงเดี่ยวเพิม่ จาก 200 กก./ไร่ เป็ นมากกว่า
250 กก./ไร่
2.2 ผลผลิตของผูป้ ลูกกาแฟร่ วมกับพืชชนิดอื่นเพิ่มจาก 143 กก./ไร่ เป็ น
180 กก./ไร่
2.3 ปริ มาณธุรกิจกาแฟของสถาบันเกษตรกรที่เข้าร่ วมโครงการต้อง
เพิ่มขึ้นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของปริ มาณธุรกิจก่อนมีโครงการ
39
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
10. โครงการเพิ่ม
ศักยภาพการผลิตข้าว
และสร้างความเข้มแข็ง
ให้ชาวนาเพื่อรองรับ
ผลกระทบจากการเปิ ด
เสรี การค้าอาเซียน
(AFTA)
( ตุลาคม 2553 ตุลาคม2556)
128.90
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
-คณะกรรมการบริ หารกองทุนฯ อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2553
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ตน้ แบบของการสร้างเครื อข่ายของศูนย์ขา้ วชุมชนหลักและศูนย์ขา้ วชุม
ชมเครื อข่ายเพื่อเตรี ยมความพร้อมรองรับการเปิ ดเสรี การค้าอาเซียน
2. ได้ตน้ แบบการสร้างชาวนาชั้นนา ชาวนารุ่ นใหม่ ยุวชาวนา ฯลฯ
3. มีเมล็ดพันธุ์ขา้ วคุณภาพดีในชุมชนเพิ่มขึ้น ปี ละ 2,750 ตัน กระจายใน
ชุมชนปี ละ 180,000 ไร่
4. เกษตรกร จานวน 1,100 ครัวเรื อน มีรายได้จากการจาหน่ายเมล็ดพันธุ์
เพิ่มขึ้นครัวเรื อนละ 5,000 บาท คิดเป็ นเงิน 5.5 ล้านบาท/ปี และผลผลิต
เพิ่มขึ้นปี ละ 14,400 ตัน (ไร่ ละ 80 กิโลกรัม) คิดเป็ นมูลค่า 140 ล้านบาท
และต้นทุนการผลิตข้าวที่ลดลงประมาณ 20% ทาให้ขา้ วไทยสามารถ
แข่งขันด้านราคากับ ข้าวที่นาเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านได้
40
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
11. โครงการเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพการผลิต
และเพิ่มมูลค่าสุ กรของ
สหกรณ์ผเู ้ ลี้ยงสุ กร
อุตรดิตถ์ จากัด
(กุมภาพันธ์ 2554 กุมภาพันธ์ 2561)
งบประมาณ
(ล้านบาท)
7.48
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
-คณะกรรมการบริ หารกองทุนฯ อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 4 ส.ค. 2553
-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. สมาชิกสหกรณ์ และเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงสุ กรได้รับการพัฒนาเพื่อปรับปรุ ง
ประสิ ทธิภาพการผลิตสุ กรให้สูงขึ้น ต้นทุนการผลิตลดลง
มีคุณภาพซากตามความต้องการของตลาด
2. สมาชิกสหกรณ์ผเู ้ ลี้ยงสุ กรมีการเชื่อมโยงการดาเนินธุรกิจระหว่างกัน
3. ผูบ้ ริ โภคมีความเชื่อมัน่ คุณภาพสุ กรของสมาชิกสหกรณ์ และ
เกษตรกรผูเ้ ลี้ยงสุ กร
41
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
12. โครงการผลิตเมล็ด
พันธุ์ขา้ วคุณภาพดี
ของสหกรณ์เพื่อเพิ่ม
ขีดความสามารถการ
แข่งขันข้าวไทยสู่
สากล
55.88
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
-คณะกรรมการบริ หารกองทุนฯ อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2554
-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิต ผลผลิตเพิ่มขึ้น ส่ งผลให้รายได้เพิ่มขึ้น
2. ต้นทุนการผลิตลดต่าลงทาให้เกษตรกรมีความสามารถการแข่งขันเพิ่มขึ้น
3. สหกรณ์เป็ นศูนย์กลางการผลิตและการจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ขา้ วที่มีคุณภาพ
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
13. โครงการส่ งเสริ มการ
ปลูกปาล์มน้ ามัน
พันธุ์ดีทดแทนสวน
เก่าเพื่อรองรับ
ผลกระทบจากการ
เปิ ดเสรี การค้า AFTA
100.90
-คณะกรรมการบริ หารกองทุนฯ อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2554
-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เกษตรกร 3,000 คน พื้นที่การเกษตรไม่นอ้ ยกว่า 30,000 ไร่ สามารถนาความรู ้
ไปเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ ามันได้ไม่นอ้ ยกว่า 3 ตันต่อไร่ ต่อปี
2. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อถึงปี ที่ 4 ไม่นอ้ ยกว่า 10,000 บาทต่อไร่ ต่อปี
ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา (ปี 2549-2554)
โครงการ
งบประมาณ
(ล้านบาท)
14. โครงการนาร่ องการ
เลี้ยงโคนมทดแทน
ในระบบชีวภาพ
(วัวหลุม)
6.86
ผลการดาเนินงานในระดับผลลัพธ์
-คณะกรรมการบริ หารกองทุนฯ อนุมตั ิโครงการเมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2554
-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ลดต้นทุนการผลิตการเลี้ยงโคนมได้เฉลี่ยตัวละ 2,880 บาท จากเดิมตัวละ
18,800 บาท เหลือตัวละ 16,000 บาท
2. โคนมสาวท้องอายุ 6 เดือน มีน้ าหนักตัวเพิ่มขึ้น 50 กิโลกรัม/ตัว จากเดิม
น้ าหนักตัวเฉลี่ย 430 กิโลกรัม เป็ นน้ าหนักตัวเฉลี่ย 480 กิโลกรัม
3. เกษตรกรไม่ตอ้ งรับภาระการสู ญเสี ยจากการเลี้ยงโคนมทดแทน
4. ลดอายุการคลอดลูกท้องแรกเหลือ 26 เดือน จาก 30 เดือน
5. อัตราการเจริ ญเติบโตของโคนมเพิม่ ขึ้นจากเฉลี่ยวันละ 0.49 กก. เป็ นวันละ
0.75 กก.
45