บทที่2 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดและ ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง โดย อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น http://web.nkc.kku.ac.th/manit หัวข้ อ • หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง – กรอบแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง – คุณลักษณะ และเงือ่ นไขของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง – ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ – ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดทฤษฎีทาง เศรษฐศาสตร์ –

Download Report

Transcript บทที่2 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดและ ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง โดย อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น http://web.nkc.kku.ac.th/manit หัวข้ อ • หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง – กรอบแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง – คุณลักษณะ และเงือ่ นไขของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง – ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ – ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดทฤษฎีทาง เศรษฐศาสตร์ –

บทที่2
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดและ
ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง
โดย อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
http://web.nkc.kku.ac.th/manit
1
หัวข้ อ
• หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
– กรอบแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
– คุณลักษณะ และเงือ่ นไขของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง
– ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่
– ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดทฤษฎีทาง
เศรษฐศาสตร์
– ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดทฤษฎีทางการพัฒนา
2
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3
พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ
พระราชทานเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม
2540
“...การจะเป็ นเสื อนั้นมันไม่สาคัญ
สาคัญอยูท่ ี่เราพออยูพ่ อกิน
และมีเศรษฐกิจการเป็ นอยูแ่ บบพอมีพอกิน
แบบพอมีพอกินหมายความว่า
อุม้ ชูตวั เองได้ให้มีพอเพียงกับตัวเอง...”
4
คุณคิดอะไรออกบ้ างเกีย่ วกับกรอบแนวคิดนี?้
5
ประเด็น/หัวข้อต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงอะไร
•
•
•
•
•
•
•
•
•
หลักธรรมาภิบาล
คนในชุมชนมีความรู ้เรื่ องจุดแข็งจุดอ่อนของชุมชนอย่างดี
ประชาชนในชุมชนมีความเอื้ออาทรแก่กนั และกัน
คนชุมชนชนบทปั จจุบนั มีเฉพาะคนแก่และเด็ก
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการตรวจสอบการดาเนินงานของภาครัฐทาให้มกี าร
บริ หารงานที่โปร่ งใส
กลุ่มธุรกิจชุมชน/วิสาหกิจชุมชนมีการรวมกันในการผลิตสิ นค้าชุมชนและมีการ
จัดการสวัสดิการชุมชนแก่สมาชิกร่ วมกัน
ธุรกิจมีการกูเ้ งินมาลงทุนก่อสร้างในโครงการที่สาคัญ
เกษตรกรมีการเปลี่ยนการผลิตจากเกษตรเชิงเดี่ยวมาเป็ นจัดทาเกษตรที่หลากหลาย
เกษตรกรมีการจัดทาระบบบัญชีครัวเรื อน
6
7
8
9
ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง
• “เศรษฐกิจพอเพียง” ไม่ได้แปลว่าไม่เกี่ยวข้องกับใคร ไม่คา้ ขาย ไม่ส่งออก
ไม่ผลิตเพื่อคนอื่น ไม่ทาเศรษฐกิจมหภาค สิ่ งเหล่านี้หลายคนอาจคิดเอาเอง
พูดเอาเอง และกลัวไปเองทั้งนั้น
• เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงเศรษฐกิจสมดุล เป็ นการกลับสู่ สมดุลของสั งคม
เศรษฐกิจ จิตใจ สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม ซึ่งจะนาไปสู่ ความพอเพียง 7
ด้ านคือ
1. ครอบครัวพอเพียง
5. ปัญญาพอเพียง
2. จิตใจ (เอื้ออาทร) พอเพียง
6. ฐานวัฒนธรรมพอเพียง
3. สิ่ งแวดล้อมพอเพียง
7. มีความมัน่ คงพอเพียง
10
4. ชุมชนเข้มแข็งพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่ วน
• 1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตน
ในทางที่ ควรจะเป็ น โดยมีพ้นื ฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย
สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่
มีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต
เพื่อ ความมั่นคง และ ความยัง่ ยืน ของการพัฒนา
• 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ิ
ตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพัฒนา
อย่างเป็ นขั้นตอน
11
• 3. นิยาม ความพอเพียงจะต้ องประกอบด้ วย 3 คุณลักษณะ พร้ อม ๆ กัน ดังนี้
– ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป
โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น เช่นการผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ น
ระดับพอประมาณ
– ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น
จะต้องเป็ นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจน
คานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
– การมีภูมิค้ มุ กันทีด่ ีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ
การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของ
สถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
12
• 4. เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรมต่ าง ๆ ให้ อยู่ในระดับพอเพียง
นั้น ต้ องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็ นพืน้ ฐาน กล่าวคือ
– เงื่อนไขความร้ ู ประกอบด้วย ความรอบรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
อย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณาให้
เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบตั ิ
– เงื่อนไขคณ
ุ ธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักใน
คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริ ตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้
สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
• 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาประยุกต์ ใช้ คือ การพัฒนาทีส่ มดุลและยัง่ ยืน พร้ อมรับต่ อการ
เปลีย่ นแปลงในทุกด้ าน ทั้งด้ านเศรษฐกิจ สั งคม สิ่ งแวดล้อม ความรู้และ
13
เทคโนโลยี
14
15
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวฯกับเศรษฐกิจพอเพียง
16
5
2493
17
23
2542
18
19
5
4
3
2
1
20
21
22
18 กันยายน 2517
23
9
2549
24
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิด
และทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ อง
25
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่
26
การดาเนินการตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงผ่ านทฤษฎีใหม่
ทั้งสามขั้นตอน
ทฤษฎีใหม่ ข้นั ที่ 1 :
ผลิตอาหารบริ โภคเอง เหลือขาย ทาให้มีกินอิ่ม ไม่ติดหนี้ มีเงินออม
• หลักสาคัญ: ให้เกษตรกรมีความพอเพียง โดยเลี้ยงตัวได้ (Self
sufficiency) ในระดับชีวิตที่ประหยัดก่อน ทั้งนี้ตอ้ งมีความสามัคคีใน
ท้องถิ่น
• มีการผลิตข้าวบริ โภคพอเพียงประจาปี
• จะต้องใช้หลักว่า ต้องมีน้ า 1,000 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
• อุปสรรคสาคัญที่สุดคือ: อ่างเก็บน้ าหรื อสระ ที่ได้รับน้ าให้เต็มเพียงปี ละ
หนึ่งครั้ง จะมีการระเหยวันละ 1 เซนติเมตร
27
ทฤษฎีใหม่ ข้นั ที่ 2 :
รวมตัวกันเป็ นองค์กรชุมชน ทาเศรษฐกิจชุมชนในรู ปแบบต่างๆ
• เช่น เกษตร หัตถกรรม อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหาร ทาธุรกิจปั๊มน้ ามัน
ขายอาหาร ขายสมุนไพร ตั้งศูนย์การแพทย์แผนไทย จัดการท่องเทีย่ ว
ชุมชน มีกองทุนชุมชนหรื อธนาคารหมู่บา้ น
• ให้เกษตรกรรวมพลังกันในรู ปกลุ่มหรื อสหกรณ์ ร่ วมแรงใน
– (1) การผลิต (พันธุ์พืช เตรี ยมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
– (2) การตลาด (ลานตากข้าว ยุง้ เครื่ องสี ขา้ ว การจาหน่ายผลผลิต)
– (3) การเป็ นอยู่ (กะปิ น้ าปลา อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ฯลฯ)
– (4) สวัสดิการ (สาธารณสุ ข เงินกู)้
– (5) การศึกษา (โรงเรี ยน ทุนการศึกษา)
– (6) สังคมและศาสนา
• ด้วยความรวมมือของหน่วยราชการ มูลนิธิและเอกชน
28
ทฤษฎีใหม่ ข้นั ที่ 3 :
เชื่อมโยงกับบริ ษทั ทาธุรกิจขนาดใหญ่ รวมทั้งการส่ งออก
• ติดต่อร่ วมมือกับแหล่งเงิน (ธนาคาร) และกับแหล่งพลังงาน (บริ ษทั
น้ ามัน) ตั้งและบริ หารโรงสี ตั้งและบริ หารร้านสหกรณ์ ช่วยการ
ลงทุน ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต
29
ทฤษฎีใหม่ ท้งั สามขั้นตอนมีความสั มพันธ์ เกีย่ วโยงกันอย่ างไร
• ในทฤษฎีใหม่ ข้นั ที่ 1 คือ “ให้เกษตรกรมีความพอเพียง โดยเลี้ยงตัวได้”
สามารถสรุ ปได้ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ 1 นาไปสู่ ตัวเองหรือครอบครัวพอเพียง
• ในทฤษฎีข้นั ทีส่ อง แสดงถึงกรอบคิดระดับการจัดการกลุ่มหรื อชุมชน ให้
เกิดการช่วยเหลือกันจนสามารถจัดการคุณภาพชีวิตของกลุ่มหรื อชุมชน
และความมัน่ คงทางเศรษฐกิจของกลุ่มหรือชุ มชนได้อย่างพอเพียง
• ในทฤษฎีข้นั ทีส่ าม กล่าวถึง “ความร่ วมมือ” จากภายนอกกลุ่มหรื อชุมชน
ทั้งจากภาคธุรกิจ ภาคการเงิน ภาคราชการ ในลักษณะที่ได้ประโยชน์
ด้วยกันทุกฝ่ าย หรื อ การเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงให้ เป็ นรู ปธรรมระดับ
สากล หรื อระดับภาพรวมในประเทศ
• ครอบครัวพอเพียง (ขั้นที่ 1) ชุ มชนพอเพียง (ขั้นที่ 2) และเศรษฐกิจของ
30
ชาติพอเพียง (ขั้นที่ 3)
1
2
3
31
การประยุกต์ใช้ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จากแนว
ปฏิบตั ิเกษตรทฤษฎีใหม่ 3 ขั้นตอน
• ขั้นที่ 1 การบริหารพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมและแหล่งน้ า เพื่อสร้างความสามารถใน
การพึ่งพาตนเอง และความมัน่ คงด้านอาหาร ในระดับครัวเรื อน
• ขั้นที่ 2 การรวมกลุ่มในรูปแบบต่ างๆ เพื่อสร้างรายได้เพิม่ เติมจากการนา
ผลผลิตมาแปรรู ป และส่ งเสริ มการจัดทาแผนชุมชนในด้านต่างๆ โดยเปิ ด
โอกาสให้ประชาชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทาแผนเพื่อพัฒนา
ศักยภาพของประชาชน ในการเรี ยนรู ้ วิเคราะห์ปัญหา และสังเคราะห์แนว
ทางแก้ไข
• ขั้นที่ 3 การสร้ างเครือข่ ายความสั มพันธ์ กบั องค์กรภายนอก เพื่อรวมตัวกับ
แหล่งเงินและแหล่งตลาด ซึ่งจะมาสนับสนุนการเป็ น “ชุมชนเข้มแข็ง” อัน
เป็ นปัจจัยสาคัญในการแก้ไขปัญหาต่อๆ ไป
32
การทาเกษตรทฤษฎีใหม่
• การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็ นทฤษฎีแห่งการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
การบริ หารงานในการทาการเกษตรที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิ
พลอดุลยเดช มหาราช ทรงพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อแก้ไข
ปัญหาการเกษตร โดยการแบ่งพื้นที่การเกษตรออกเป็ น 4 ส่ วน คือ
–
–
–
–
ส่ วนที่หนึ่งขุดสระกักเก็บน้ า จานวน 30% ของพื้นที่
ส่ วนทีส่ อง ปลูกข้าว จานวน 30% ของพื้นที่
ส่ วนทีส่ าม ปลูกไม้ผลไม้ยนื ต้นจานวน 30% ของพื้นที่
ส่ วนทีส่ ี่ เป็ นพื้นที่ที่ใช้สร้างสิ่ งปลูกสร้างเช่น ที่อยูอ่ าศัย โรงเรื อนเลี้ยงสัตว์
ฉาง จานวน 10% ของพื้นที่
• จานวนสัดส่ วนของพื้นที่น้ ีท้ งั หมดสามารถปรับเพิ่มหรื อลด ขึ้นอยูก่ บั
ความเหมาะสมของสภาพพื้นที่แต่ละแห่ง
33
ส่ วนที่หนึ่งขุดสระกักเก็บน้ า จานวน 30% ของพื้นที่
ส่ วนที่สอง ปลูกข้าว จานวน 30% ของพื้นที่
ส่ วนที่สาม ปลูกไม้ผลไม้ยนื ต้นจานวน 30% ของพื้นที่
ส่ วนที่สี่ เป็ นพื้นที่ที่ใช้สร้างสิ่ งปลูกสร้าง จานวน 10%
ของพื้นที่ เช่น ที่อยูอ่ าศัย โรงเรื อนเลี้ยงสัตว์ ฉาง 34
กิจกรรม/คาถาม
• จากวีดโี อทีด่ ู ให้ อภิปรายว่ า
– ลักษณะของชุมชน สังคม วิถชี ีวติ และอื่น ๆ ใดบ้ าง ที่
ปรากฏ ที่สอดคล้ องและไม่ สอดคล้ องกับหลักปรั ชญา
เศรษฐกิจพอเพียง?
– การดาเนินการใดบ้ างทีน่ าไปสู่ ความสมดลุ /มั่นคง/ยัง่ ยืน ทาง
เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้ อม/วัฒนธรรม ของบุคคลและ
สังคม?
35
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดทฤษฎี
ทางเศรษฐศาสตร์
36
แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
• แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค
• แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มหภาค
37
คาถาม/กิจกรรม
• อภิปรายว่ า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความเกีย่ วข้ องกับ
แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ อย่ างไรบ้ าง?
38
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
39
ยุทธศาสตร์ การปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจ
ให้ สมดุลและยัง่ ยืน
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
40
วัตถุประสงค์
• (1) เพือ่ ปรับโครงสร้ างการผลิตสู่ การเพิม่ คุณค่ า (Value Creation)
ของสิ นค้ าและบริการบนฐานความรู้ และนวัตกรรม รวมทั้ง
สนับสนุนให้ เกิดความเชื่อมโยงระหว่ างสาขาการผลิต เพือ่ ทาให้
มูลค่ าการผลิตสู งขึน้
• (2) เพือ่ สร้ างภูมคิ ุ้มกัน (Safety Net) และระบบบริหารความเสี่ ยง
ให้ กบั ภาคการเงิน การคลัง พลังงาน ตลาดปัจจัยการผลิต
ตลาดแรงงาน และการลงทุน
• (3) เพือ่ สร้ างระบบการแข่ งขันด้ านการค้ าและการลงทุนให้ เป็ น
ธรรม และคานึงถึงผลประโยชน์ ของประเทศ รวมทั้งการสร้ างกลไก
ในการกระจายผลประโยชน์ จากการพัฒนาสู่ ประชาชนในทุกภาค
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
41
ส่ วนอย่ างเป็ นธรรม
เป้ าหมายการพัฒนา
• (1) ด้ านการผลิตกาหนดเป้าหมายผลิตภาพการผลิตรวมสู งขึน้
เฉลีย่ ไม่ ต่ากว่ าร้ อยละ 3 ต่ อปี และประเทศไทยมีขดี
ความสามารถในการแข่ งขันสู งขึน้
• (2) การพัฒนาให้ ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพมากขึน้
• (3) การสร้ างความเข้ มแข็งของวิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่ อมและพัฒนาให้ เป็ นฐานทีใ่ หญ่ ขนึ้ ของ
ระบบเศรษฐกิจ มีผู้ประกอบการใหม่ เพิม่ ขึน้
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
42
(1) ด้ านการผลิตกาหนดเป้ าหมายผลิตภาพการผลิต
รวมสู งขึน้ เฉลีย่ ไม่ ตา่ กว่ าร้ อยละ 3 ต่ อปี และประเทศ
ไทยมีขดี ความสามารถในการแข่ งขันสู งขึน้
• สั ดส่ วนการส่ งออกในตลาดโลกเพิม่ ขึน้
• การลงทุนเพือ่ การวิจยั และพัฒนาเป็ นร้ อยละ 0.5 ของผลิตภัณฑ์
มวลรวมในประเทศ
• ลดต้ นทุนด้ านโลจิสติกส์ จากร้ อยละ 16 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวม
ในประเทศ เป็ นร้ อยละ 13
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
43
• สั ดส่ วนอุปสงค์ ในประเทศต่ อภาคเศรษฐกิจระหว่ างประเทศที่
วัดด้ วยผลรวมของมูลค่ าการส่ งออกและการนาเข้ าสิ นค้ าและ
บริการเพิม่ ขึน้ อย่ างต่ อเนื่องจากร้ อยละ 71 เป็ นร้ อยละ 75
• สาขาการผลิตของประเทศ ฐานการผลิตจากภาคเกษตร เกษตร
แปรรู ปและภาคบริการทั้งบริการท่ องเทีย่ ว บริการการศึกษา
บริการสาธารณสุ ข และบริการทางการเงินจะมีขนาดใหญ่ ขนึ้
และผลิตภัณฑ์ มีความหลากหลายมากขึน้
• สั ดส่ วนภาคการผลิตเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรเพิม่ ขึน้ จาก
ร้ อยละ 12.4 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ เป็ นร้ อยละ 15
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
44
(2) การพัฒนาให้ ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพมากขึน้
• อัตราเงินเฟ้ อทัว่ ไปเฉลีย่ ร้ อยละ 3.0 -3.5 ต่ อปี
• อัตราการว่ างงานตา่ ไม่ เกินร้ อยละ 2 ของกาลังแรงงาน
• การบริหารการคลังมีประสิ ทธิภาพทาให้ หนีส้ าธารณะมีสัดส่ วน
ไม่ เกินร้ อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ
• สั ดส่ วนการออมรวมของประเทศอยู่ทรี่ ะดับร้ อยละ 35 ของ
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศภายในปี 2554
• การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเฉลีย่ ต่ อปี ไม่ เกินร้ อยละ 2 ของ
ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
45
• การใช้ พลังงานมีประสิ ทธิภาพมากขึน้ โดยกาหนดเป้ า
หมายความยืดหยุ่นของการใช้ พลังงานไม่ เกิน 1 : 1
• สั ดส่ วนการใช้ พลังงานหมุนเวียนเป็ นร้ อยละ 8.0
• ลดสั ดส่ วนการใช้ พลังงานต่ อผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ
โดยเฉพาะอย่ างยิง่ ลดการใช้ นา้ มันในภาคการขนส่ งให้ เหลือร้ อย
ละ 30 ของการใช้ พลังงานทั้งหมดจากระดับร้ อยละ 38
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
46
(3) การสร้ างความเข้ มแข็งของวิสาหกิจชุมชน และ
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อมและพัฒนาให้ เป็ นฐานที่
ใหญ่ ขนึ้ ของระบบเศรษฐกิจ มีผู้ประกอบการใหม่ เพิม่ ขึน้
• ผลิตภัณฑ์ และบริการทีผ่ ลิตและให้ บริการโดยวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่ อมมีสัดส่ วนไม่ ต่ากว่ าร้ อยละ 40 ของผลิตภัณฑ์
มวลรวมในประเทศ
• กลไกตลาดทีม่ ีประสิ ทธิภาพมากขึน้ รวมทั้งการดาเนินงานของ
ตลาดล่ วงหน้ าสิ นค้ าเกษตร การจัดระบบพืน้ ทีท่ างการเกษตรที่
จะช่ วยสร้ างเสถียรภาพราคาสิ นค้ าเกษตร
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
47
• การลงทุนด้ านสั งคมของรัฐ และการเพิม่ ประสิ ทธิภาพแรงงาน
และการคุ้มครองแรงงานทีเ่ หมาะสม จะทาให้ มีการกระจาย
รายได้ ทดี่ ขี นึ้
• รายได้ ของกลุ่มทีร่ ายได้ สูงสุ ดร้ อยละ 20 แรกมีสัดส่ วนไม่ เกิน 10
เท่ าของรายได้ ของกลุ่มทีม่ ีรายได้ ตา่ สุ ดร้ อยละ 20 ภายในปี 2554
07/11/58
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
48
คาถาม/กิจกรรม
• อภิปรายชี้ให้ เห็นว่ า แนวทางการพัฒนาและปรับโครงสร้ างทาง
เศรษฐกิจจะทาให้ เกิดความสมดุลและยัง่ ยืนทางเศรษฐกิจได้
อย่ างไร ทั้งนีโ้ ดยใช้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง?
49
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดทฤษฎี
ทางการพัฒนา
50
เศรษฐกิจพอเพียง ตามทัศนะ นพ.ประเวศ วะสี
51
เศรษฐกิจพอเพียง ตามทัศนะ นพ.ประเวศ วะสี
•
เศรษฐกิจพอเพียงก็คอื “เศรษฐกิจพืน้ ฐาน” ซึ่งก็คอื “ชุ มชน” โดย
เศรษฐกิจพื้นฐานประกอบด้วย 5 ลักษณะสาคัญดังนี้
1) เป็ นเศรษฐกิจของคนทั้งมวล
2) มีชุมชนที่เข้มแข็งเป็ นพื้นฐานของเศรษฐกิจ
3) มีความเป็ นบูรณาการเข้มแข็งไปพร้อมๆ กันหมด ทั้งเรื่ องเศรษฐกิจ
สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม
4) เติบโตบนพื้นฐานที่เข้มแข็งของเราเอง เช่น ด้านการเกษตร
หัถตกรรม อุตสาหกรรมเกษตร สมุนไพร อาหาร การท่องเที่ยว เป็ นต้น
5) มีการจัดการที่ดีเป็ นพื้นฐาน ส่ งเสริ มการเกิดนวัตกรรมต่างๆ ให้
52
สามารถนามาใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง
ขั้นตอนของเศรษฐกิจพอเพียงในมุมมองของหมอประเวศ
• ก็ประกอบด้วย 3 ประการ โดยให้น้ าหนักไปที่เรื่ อง “กลุ่ม” หรือ
“ชุ มชน” ดังนี้
– มีชุมชนเข้มแข็งเป็ นพื้นฐาน
– มีการรวมตัวบนพื้นฐานทางอาชีพที่เข้มแข็ง เป็ นกองทุนชุมชน กลุ่ม
อาชีพเกษตรผสมผสาน กลุ่มแปรรู ปอาหาร กลุ่มหัตถกรรม กลุ่ม
ธุรกิจชุมชน (เช่น ปั๊มน้ ามัน การท่องเที่ยวชุมชน ศูนย์สมุนไพร
ชุมชน ธุรกิจการเกษตร เป็ นต้น)
– ผลที่ได้จะเป็ นการบูรณาการให้เข้มแข็งไปพร้อมๆ กันในทุกด้าน ทั้ง
ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสิ่ งแวดล้อม ทุนทาง
เศรษฐกิจ
53
แนวยุทธศาสตร์ ไปสู่ เศรษฐกิจพอเพียง ตามทัศนะของหมอ
ประเวศ
• มี 2 ยุทธศาสตร์ หลักๆ คือ
1. การสนับสนุนโดยรัฐ 9 ขั้นตอน
2. ยุทธศาสตร์ ประชาคมตาบล
54
แทรก
• รู ป ประชาคม
• อบต.
55
การสนับสนุนโดยรัฐ 9 ขั้นตอน
1. การผลักดันให้เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นนโยบายของรัฐ
2. การสารวจศักยภาพชุมชนด้วยการเขียนผังชุมชน/เครื อข่ายประชาชน
3. ขยายองค์ความรู้จากศักยภาพชุมชนที่ปรากฏในผังศักยภาพชุมชน/เครื อข่ายประชาชน
4. พัฒนาศูนย์บริ การวิชาการเบ็ดเสร็ จ (One-Stop-Service) ประจาอาเภอ
5. เชื่อมต่อตลาดค้าขาย ให้มีลานค้าให้เกษตรกรหรื อธุรกิจชุมชน
6. สนับสนุนสื่ อเพื่อสังคม
7. ปรับวิธีงบประมาณจากเดิมที่ใช้กรมเป็ นตัวตั้ง มาเป็ นให้พ้นื ที่และชุมชนเป็ นตัวตั้ง
8. สนับสนุนเศรษฐกิจพอเพียงด้วยมาตรการทางกฎหมาย เพื่อลดอุปสรรคและเพิ่ม
ความสะดวกในการส่ งเสริ มเศรษฐกิจพอเพียง
56
9. การวิจยั และประเมินผล
ยุทธศาสตร์ ประชาคมตาบล
ประชาคมตาบล ควรมีองค์ ประกอบทีค่ รบถ้ วนดังต่ อไปนี้
57
ลักษณะสาคัญของประชาคมตาบล
• ใน 1 ตาบล หน่วยการปกครองระดับตาบลต้องเป็ นหน่วยพัฒนาเศรษฐกิจ
พึ่งตนเองแบบบูรณาการ
• กิจกรรมความร่ วมมือทางเศรษฐกิจจะนาไปสู่การพัฒนาในมิติอนื่ ๆ พร้อม
กันไป เช่น พัฒนาการเรี ยนรู ้ พัฒนาครอบครัว พัฒนาชุมชน พัฒนา
วัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม เป็ นต้น
• กิจกรรมความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ ควรประกอบด้วยกลุ่มต่างๆ
ดังต่อไปนี้คือ กลุ่มที่ทาเกษตรผสมผสาน, กลุ่มผลิตสิ นค้าหัตถกรรม, กลุ่ม
อุตสาหกรรมชุมชน เช่น การแปรรู ปอาหาร, โรงสี ขา้ วชุมชน เป็ นต้น
58
• ควรมีการพัฒนาองค์กรอื่นๆ ที่สนับสนุนเศรษฐกิจชุมชนในระดับตาบล
ขึ้นมาเพื่อส่ งเสริ มความสามารถในการพึ่งตนเองในระดับตาบล เช่น
กองทุนออมทรัพย์ตาบล ศูนย์การเรี ยนรู ้ ศูนย์การแพทย์แผนไทย
บริ ษทั ชุมชนตาบลสาหรับขายอาหาร ขายอาหารปลอดสารพิษ จาหน่าย
สมุนไพร จัดการท่องเที่ยวในตาบล เป็ นต้น
• อบต. ควรดูแลผลประโยชน์ของชุมชนทั้งหมด
• การสนับสนุนขององค์กรภายนอกตาบล ประกอบด้วย ศูนย์วิชาการ
การเกษตรเพื่อสนับสนุนทางวิชาการ บริ ษทั ธุรกิจเพื่อชุมชนขนาดใหญ่
เพื่อเชื่อมโยงกับผูบ้ ริ โภคในเมืองและในต่างประเทศ
59
ยุทธวิธีการสร้ างวงจรทุนของชุมชน
•
การสร้ างวงจรทุนของชุ มชน เป็ นธนาคารทุนประเภทต่างๆ ของ
หมู่บา้ นนั้น ซึ่งสามารถสรุ ปออกมาได้ 7 ประเภทคือ
1) ทุนเงินตรา เช่น กลุ่มออมทรัพย์หรื อสหกรณ์ออมทรัพย์
2) ทุนธุรกิจการค้ า เช่น สหกรณ์ร้านค้า ศูนย์สาธิตการตลาด
3) ทุนแห่ งชีวติ เช่น สหกรณ์การเกษตร ธนาคารโคกระบือ
4) ทุนแรงงานฝี มือ เช่น กลุ่มทอผ้า
5) ทุนสวัสดิการชีวติ เช่น กลุ่มฌาปนกิจ
6) ทุนรวมแรงงาน หรื อธนาคารแรงงาน เช่น กลุ่มลงแขก
7) ทุนอุตสาหกรรมชุ มชน เช่น กลุ่มที่ร่วมกันแปรรู ปผลิตผลทาง
การเกษตร
60
แทรก
• รู ป ศูนย์สาธิตบ้านจอมแจ้ง
• การลงแขกดานา วนค.
61
“อุตสาหกรรมชุมชน”
•
•
•
•
ประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอนคือ
1. การแปรรูป หรือผลิตสิ นค้ าของสมาชิก เน้นการผลิตเพื่อบริ โภค
หรื ออุปโภคของตนเองในครัวเรื อนเป็ นหลัก เพื่อการพึ่งตนเอง ลด
รายจ่ายที่เสี ยไปจากการซื้อ
2. ขยับขยายการผลิตออกไปสู่ เพือ่ นบ้ าน เพื่อช่วยลดรายจ่ายให้เพื่อน
บ้าน และแทนที่การนาเข้าสิ นค้าจากภายนอกชุมชน
3. การประยุกต์ ใช้ ฐานการผลิตจากอุปกรณ์ ง่ายๆ ทีส่ ามารถทาได้ ใน
พืน้ ที่ และใช้ ฐานคนจานวนมาก (ระบบการจัดการในชุ มชน) แทน
เครื่องจักรขนาดใหญ่ เพื่อให้สามารถทาการผลิตในธุรกิจชุมชนที่
เหมือนกับการผลิตจากบริ ษทั ขนาดใหญ่ แต่มีการลงทุนที่ต่ากว่ามาก62
เปรียบเทียบ“อุตสาหกรรมชุมชน” กับ ทฤษฎีใหม่ และ
เศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นที่ 1
การแปรรูป หรือผลิตสิ นค้ าของสมาชิก
ทฤษฎีใหม่ ข้นั ที่ 1
ครอบครัวพอเพียง
ขั้นที่ 2
ขยับขยายการผลิตออกไปสู่ เพือ่ นบ้ าน
ทฤษฎีใหม่ ข้นั ที่ 2
ชุ มชนพอเพียง
ขั้นที่ 3
ระบบการจัดการ/การผลิตในชุมชน
ทฤษฎีใหม่ ข้นั ที่ 3
เชื่อมโยงสู่ ระบบตลาด
63
การสร้ างกระบวนทัศน์ ใหม่ ของชุมชน
เน้ นกระบวนการเรียนรู้ของชุ มชน
เน้ นกระบวนการสร้ างทุนชุ มชน/ทุนสั งคม
กระบวนการศึกษาวิจัย
กระบวนการผสานความหลากหลายจาก
ปัจจัยทีเ่ ป็ นคุณต่ อการพัฒนา
กระบวนการสร้ างเครือข่ ายชุ มชน
64
•
•
•
•
•
เน้ นกระบวนการเรียนรู้ของชุ มชน : เพื่อสร้างฐานความรู ้ และองค์ความรู ้ที่
เป็ นของตนเอง รวมไปถึงการวางแผนพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่ วมของ
สมาชิก
เน้ นกระบวนการสร้ างทุนชุ มชน/ทุนสั งคม : ครอบคลุมทั้งเรื่ องการสร้าง
กลุ่มโดยอาศัยเงินตราเป็ นสื่ อ และทุนทางสังคม
กระบวนการศึกษาวิจัย : เพื่อพัฒนา แสวงหาความร่ วมมือจากนักวิชาการ
หรื อสถาบันการศึกษา หรื อหน่วยงานภายนอกชุมชน กับส่ งเสริ มให้ชุมชน
กระบวนการผสานความหลากหลายจากปัจจัยทีเ่ ป็ นคุณต่ อการพัฒนา :
ชุมชนเปิ ดรับเอาความรู ้ และความช่วยเหลือจากภายนอก โดยการเปิ ดเวที
แลกเปลี่ยนทัศนะระหว่างชุมชน
กระบวนการสร้ างเครือข่ ายชุ มชน : ต่อยอดความรู ้ในการพัฒนาตนเองและ
เครื อข่ายตลอดเวลา นาไปสู่การยกระดับทุนจากการร่ วมทุนระหว่างองค์กร
และการพัฒนาระบบตลาดของเครื อข่าย รวมไปถึงการพัฒนาสถาบันการเงิน
65
ของเครื อข่าย
เป้ าหมายทางยุทธศาสตร์ การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ สู่ การ
พัฒนาชุมชนแบบ “องค์รวม”
•
•
•
•
•
โครงสร้างเศรษฐกิจชุมชนที่ยงั่ ยืน พึ่งตนเองได้ พัฒนาไปสู่ ธุรกิจชุมชน
อุตสาหกรรมชุมชน และความร่ วมมือเป็ นเครื อข่าย
ชุมชนจะเป็ นฐานสังคมใหม่ที่มีระบบการศึกษา สาธารณสุ ข ระบบ
สวัสดิการ และกฎหมายที่มาจากชุมชนเป็ นของชุมชน
สิ่ งแวดล้อมหรื อระบบนิเวศน์ที่ดี ใช้ร่วมกันอย่างเหมาะสมและยัง่ ยืน
โครงสร้างทางการเมืองที่เป็ นของประชาชนอย่างแท้จริ ง ในทุกระบบ
การพัฒนา
ระบบความร่ วมมือแบบพหุภาคี ที่มีประสิ ทธิภาพ และเอื้อประโยชน์ต่อ
การพัฒนาเศรษฐกิจสังคม
66
แผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่ งชาติฉบับที่ 10
พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554
67
ผลการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9
• ประสบความสาเร็จทีน่ ่ าพอใจ เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวได้ อย่ าง
ต่ อเนื่องในอัตราเฉลีย่ ร้ อยละ 5.7 ต่ อปี
• ความยากจนลดลง ขณะเดียวกันระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนดีขนึ้ มาก
อันเนื่องมาจากการดาเนินการเสริมสร้ างสุ ขภาพอนามัย การมีหลักประกัน
สุ ขภาพทีม่ ีการปรับปรุงทั้งด้ านปริมาณและคุณภาพ โดยครอบคลุมคนส่ วน
ใหญ่ ของประเทศ และการลดลงของปัญหายาเสพติด แต่ เศรษฐกิจไทยยังไม่
เข้ มแข็งและอ่อนไหวต่ อความผันผวนของปัจจัยภายนอก
• ขณะทีย่ งั มีปัญหาด้ านคุณภาพการศึกษา ความยากจนและความเหลือ่ มลา้
ทางรายได้ ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์ สิน และความโปร่ งใสในการ
บริหารจัดการของภาครัฐ
68
วิสัยทัศน์ ประเทศไทย
• มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมอย่ เู ย็นเป็ นสุขร่ วมกัน (Green and
Happiness Society) คนไทยมีคณ
ุ ธรรมนาความรอบร้ ู ร้ ูเท่ าทัน
โลก ครอบครั วอบอ่ นุ ชุมชนเข้ มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจ
มีคณ
ุ ภาพ เสถียรภาพ และเป็ นธรรม สิ่งแวดล้ อมมีคณ
ุ ภาพ
และทรั พยากรธรรมชาติยงั่ ยืน อย่ ภู ายใต้ ระบบบริ หารจัดการ
ประเทศทีม่ ีธรรมาภิบาล ดารงไว้ ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข และอย่ ใู นประชาคมโลกได้
อย่ างมีศักดิศ์ รี ”
69
วัตถุประสงค์ การพัฒนา
• เพือ่ สร้ างโอกาสการเรียนรู้ คู่คุณธรรม จริยธรรมอย่างต่ อเนื่องที่
ขับเคลือ่ นด้ วยการเชื่อมโยงบทบาทครอบครัว สถาบันศาสนา
และสถาบันการศึกษา เสริมสร้ างบริการสุ ขภาพอย่ างสมดุล และ
สร้ างความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์ สิน
• เพือ่ เพิม่ ศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเป็ นเครือข่ าย เป็ นรากฐาน
การพัฒนาเศรษฐกิจ คุณภาพชีวติ และอนุรักษ์ ฟื้ นฟู
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
• เพือ่ ปรับโครงสร้ างการผลิตสู่ การเพิม่ คุณค่ า ของสินค้ าและ
บริการบนฐานความรู้ และนวัตกรรม
70
วัตถุประสงค์ การพัฒนา
• เพือ่ สร้ างภูมิค้ ุมกัน และระบบบริหารความเสี่ ยงให้ กบั ภาคการเงิน
การคลัง พลังงาน ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดแรงงาน และการลงทุน
• เพือ่ สร้ างระบบการแข่ งขันด้ านการค้ าและการลงทุนให้ เป็ นธรรม
• เพือ่ เสริมสร้ างความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรธรรมชาติและคุณค่า
ความหลากหลายทางชีวภาพ ควบคู่กบั การรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม
• เพือ่ เสริมสร้ างธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศสู่ ภาครัฐ
ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน
71
แนวทางการพัฒนาการสร้ างความเข้ มแข็งของชุมชน
• การบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเข้ มแข็ง
– เสริมสร้ างครอบครัวให้ มีความมัน่ คง มีสัมพันธภาพที่ดี มีความ
เข้ มแข็งทางคุณธรรมจริยธรรมในครอบครัว
– เสริมสร้ างโอกาสและสภาพแวดล้อมในชุ มชนให้ เอือ้ ต่ อการศึกษา
และการเรียนรู้ตลอดชีวติ
– เสริมสร้ างความมั่นคงในการดารงชีวติ ของคนในชุ มชน ทั้งการสร้ าง
หลักประกันชีวติ สวัสดิการสั งคม ความมั่นคงด้ านอาหาร ความ
มั่นคงด้ านสุ ขภาพและทีอ่ ยู่อาศัย
72
แนวทางการพัฒนาการสร้ างความเข้ มแข็งของชุมชน
• การสร้ างความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชน
– สนับสนุนให้ ชุมชนมีการรวมกลุ่มรูปแบบต่ างๆ เช่ น สหกรณ์ กลุ่ม
ย้ อมสี ธรรมชาติ กลุ่มปุ๋ ยอินทรีย์ ฯลฯ
– รณรงค์ และส่ งเสริมภาคการผลิตและบริการในการเคลือ่ นย้ าย
เครื่องจักรหรือ กิจกรรมบางส่ วนไปสร้ างอาชีพและการจ้ างงานใน
ท้ องถิ่นและพืน้ ทีห่ ่ างไกล
– ส่ งเสริมการร่ วมลงทุนระหว่ างเครือข่ ายองค์ กรชุมชนกับองค์กร
ปกครองส่ วนท้ องถิ่นหรือภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจบนหลักของความ
โปร่ งใส ใช้ ฐานทรัพยากรในพืน้ ที่ อาทิ การสร้ างโรงงาน
ไบโอดีเซล เกษตรอินทรีย์ หัตถกรรม บริการสุ ขภาพและสปา
ท่ องเที่ยวเชิงนิเวศและลองสเตย์ เป็ นต้ น
73
แนวทางการพัฒนาการสร้ างความเข้ มแข็งของชุมชน
• การเสริมสร้ างศักยภาพชุมชนในการอยู่ร่วมกันกับ
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อมอย่ างสั นติและเกือ้ กูลกัน
– สร้ างความตระหนักรู้ของชุมชนในคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมที่มีต่อวิถีชีวติ รวมทั้งกระจายอานาจการจัดการ
ทรัพยากรของท้ องถิ่นให้ ชุมชนทีม่ ีศักยภาพเข้ ามามีส่วนร่ วมกับรัฐ
ในการอนุรักษ์ ฟื้ นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
– สนับสนุนกลไกชุ มชนและเครือข่ ายในการจัดการและปกป้อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
– เสริมสร้ างขีดความสามารถและองค์ ความรู้ขององค์กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่น ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
74
เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาชนบท
75
การพัฒนาชนบทเชิงบูรณาการตามพระราชดาริเศรษฐกิจ
พอเพียง
รศ.อานวย คาตื้อ
76
เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเสมือนรากฐานของชีวิต
• เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความ
มั่นคงของแผ่ นดิน เปรี ยบเสมือนเสาเข็มทีถ่ ูกตอกรองรั บ
บ้ านเรื อนตัวอาคารไว้ นั่นเอง สิ่งก่ อสร้ างจะมั่นคงได้ กอ็ ย่ ทู ี่
เสาเข็มแต่ คนส่ วนมากมองไม่ เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสี ยด้ วย
ซ้าไป
77
ความพอเพียงจะต้ องประกอบด้ วย3 คุณลักษณะ
• ก. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่ น้อยเกินไปและไม่ มาก
เกินไปโดยไม่ ต้องเบียดเบียนตนเองและผู้อนื่ เช่ นการผลิตและการบริโภคที่
อยู่ในระดับพอประมาณ
• ข. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกีย่ วกับระดับความพอเพียงนั้น
จะต้ องเป็ นอย่ างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ องตลอดจน
คานึงผลที่คาดว่ าจะเกิดขึน้ จากการกระทานั้น ๆ อย่ างรอบคอบ
• ค. การมีภูมิค้ มุ กันทีด่ ีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้ พร้ อมรับผลกระทบ
และการแลกเปลีย่ นด้ านต่ าง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ ของ
สถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่ าจะเกิดขึน้ ในอนาคตทั้งใกล้และไกล
78
เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรม
• ก. เงื่อนไขความร้ ู ประกอบด้ วย ความรอบรู้ เกีย่ วกับวิชาการต่ าง
ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องอย่ างรอบคอบ ความรอบคอบทีจ่ ะนาความรู้
เหล่ านั้นมาพิจารณาให้ เชื่อมโยงกันเพือ่ ประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
• ข. เงื่อนไขคณ
ุ ธรรม ที่จะต้ องเสริมสร้ างประกอบด้ วยมีความ
ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสั ตย์ สุจริตและมีความอดทนมี
ความเพียร ใช้ สติปัญญาในการดาเนินชีวติ
79
การใช้ ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงตามขั้นตอนของบันได 3 ขั้น
• 1. การพึง่ ตนเอง
• 2. การพึง่ พากันเอง
• 3. การเติบโตอย่ างสมบูรณ์ และยัง่ ยืน
80
การใช้ ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงตามขั้นตอนของบันได 3 ขั้น
• 1. การพึง่ ตนเอง หมายความว่ าให้ ประชาชนในชนบทแต่ ละคน แต่
ละครอบครัวพึง่ ตนเองได้ ก่อน โดยการที่จะให้ พงึ่ ตนเองได้ น้ัน
ประชาชนต้ องรู้ จักตนเองก่ อนโดยการวิเคราะห์ ตนเองตามหลัก
อริยสั จ 4 คือ รู้ ว่าทุกข์ คอื อะไร อะไรคือสาเหตุของทุกข์ รู้ ทางที่จะ
ดับทุกข์ และหาแนวทางที่จะก้ าวสู่ การดับทุกข์ น้ัน หรือการใช้ การ
วิเคราะห์ จุดอ่ อนจุดแข็ง ( SWOT analysis ) ผสมผสานกับ
ประสบการณ์ และภูมปิ ัญญาและแรงกระตุ้นจากภายนอกจากนั้น
นามาทดลองปฏิบัติ หากปฏิบัตไิ ด้ กจ็ ะเกิดการรู้ จริงทาเป็ นและเกิด
องค์ ความรู้ ขนึ้
81
การใช้ ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงตามขั้นตอนของบันได 3 ขั้น
• 2. การพึง่ พากันเอง หมายความว่าให้ประชาชนแต่ละคนที่พ่ ึงพา
กันเองได้ มารวมกลุ่มกันเป็ นกลุ่มอาชีพภายใต้ปรัชญาของโครงการ
คือ เราจะทาในสิ่งที่ชาวบ้ านเขาอยากทา ไม่ ทาในสิ่งที่เราอยากเห็น
เขาทา ให้ เกิดพลังจากชุมชนเกิดความเข้ มแข็ง และให้ประชาชนแต่
ละคนเกิดความคิดกันเอง แล้วร่ วมแรงร่ วมใจ ภายใต้คาขวัญ
“ฮวมคึด ฮวมส่ าง ฮวมทาง ฮวงแฮง เฮ็ดชุมชนเข้ มแข็งหมั่น
ยืน (ร่ วมคิด ร่ วมสร้ าง ร่ วมทาง ร่ วมแรง สร้ างชุมชนเข้ มแข็ง
ยัง่ ยืน)”
82
การใช้ ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงตามขั้นตอนของบันได 3 ขั้น
• 3. การเติบโตอย่ างสมบูรณ์ และยัง่ ยืน โดยให้ กลุ่มที่ประชาชนจัดตั้ง
ขึน้ มีการพัมนาและสร้ างความเข้ มแข็ง โดย
– ก. การแลกเปลีย่ นเรี ยนร้ ูภายใน ประกอบด้ วยทดลองปฏิบัติ การ
ประชุมและการสรุปบทเรียน เป็ นต้ น
– ข. การถ่ ายทอดความร้ ูสู่ ภายนอก ประกอบด้ วยการสรุปบทเรียน
ร่ วมกับภายนอก การถ่ ายทอดองค์ ความรู้ หรือภูมปิ ัญญา
– ค. การเรี ยนร้ ูจากภายนอก ประกอบด้ วยการศึกษาดูงาน การ
ฝึ กอบรม สั มมนา
83
หลักการในการพัฒนาชนบท
•
•
•
•
- มีความเรียบง่ าย
- มีหลักคิด
- มีหลักวิชา
- มีหลักปฏิบัติ
84
แนวทางในการพัฒนาชนบท
•
•
•
•
- ลดขั้นตอนในการทางาน
- ทางานด้ วยความรวดเร็ว
- ทางานด้ วยวิธีการช่ วยเขาช่ วยตนเอง
- ทางานแบบปิ ดทองหลังพระ
85
ขบวนการบริหารในการพัฒนาชนบท
•
•
•
•
•
•
•
•
•
1. วางแผนรอบคอบรัดกุม
2. ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์
3. ใช้เทคโนโลยีเหมาะสมกับสถานการณ์
4. มอบหมายงานที่จะนาไปสู่ความร่ วมมืออย่างดี ทั้งราชการ เอกชน ประชาชน
5. ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของราษฎร ผูร้ ู ้ผเู ้ ชี่ยวชาญ นักวิชาการ ข้าราชการ
6. ใช้หลักการประสานงานแบบบูรณาการ
7. การริ เริ่ มองค์กรเพื่อประสานให้เกิดอาชีพเพื่อการพัฒนา และแก้ปัญหาสังคม
8. ส่ งเสริ มให้เกิดความร่ วมมือ เพื่อพัฒนาชุมชนระหว่างองค์กรหลัก
9. มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง
86
วิธีในการพัฒนาชนบท
•
•
•
•
•
1. การพัฒนากลุ่มอาชีพ/กลุ่มเยาวชน
2. การพัฒนาการศึกษา
3. การพัฒนาองค์ การบริหารส่ วนท้ องถิ่น
4. การท่ องเทีย่ วเชิงอนุรักษ์
5. การพัฒนาป่ าชุมชน
87
คาถาม/กิจกรรม
• อภิปรายว่ า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถช่ วยแก้ ไขปัญหา
ความยากจนของชนบทได้ หรือไม่ ? อย่ างไร?
• หากต้ องการส่ งเสริมให้ ชุมชนในท้ องถิน่ มีการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ควรมีการดาเนินการทีเ่ ป็ นรูปธรรม
อย่ างไรบ้ าง? (ทั้งนีบ้ อกหลักการและวิธีการดาเนินการด้ วย)
88